1 / 68

กฎหมายว่าด้วย ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่

กฎหมายว่าด้วย ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่. พระราชบัญญัติ ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ . ศ . 2539. ระเบียบว่าด้วยความรับผิดชอบ ของข้าราชการในทางแพ่ง พ.ศ.2503. พระราชบัญญัติ ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ . ศ . 2539. - หน่วยงานของรัฐ ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่

Download Presentation

กฎหมายว่าด้วย ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กฎหมายว่าด้วย ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่

  2. พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่พ.ศ. 2539 ระเบียบว่าด้วยความรับผิดชอบ ของข้าราชการในทางแพ่ง พ.ศ.2503

  3. พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่พ.ศ. 2539 - หน่วยงานของรัฐ • ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ - การทำละเมิดต่อเอกชน (บุคคลภายนอก) - การทำละเมิดต่อหน่วยงานของรัฐ • คำนิยามที่สำคัญ - เจ้าหน้าที่

  4. การทำละเมิดต่อเอกชน / บุคคลภายนอก • ความรับผิดทางละเมิดของหน่วยงานของรัฐ - กรณีเจ้าหน้าที่กระทำในการปฏิบัติหน้าที่ - หน่วยงานของรัฐรับผิด/ถูกฟ้องแทนเจ้าหน้าที่- ฟ้องกระทรวงการคลัง (ม.5) -กรณีเจ้าหน้าที่กระทำนอกเหนือการปฏิบัติหน้าที่ - หน่วยงานของรัฐไม่ต้องรับผิด/ถูกฟ้อง (ม.6)

  5. การทำละเมิดต่อเอกชน / บุคคลภายนอก (ต่อ) • สิทธิการดำเนินคดีของผู้เสียหาย - ฟ้องเจ้าหน้าที่ / หน่วยงานของรัฐ - ฟ้องผิดฟ้องใหม่ได้ภายใน 6 เดือน - อายุความการใช้สิทธิ 1 ปี / 10 ปี (ป.พ.พ. ม.448)

  6. การทำละเมิดต่อเอกชน / บุคคลภายนอก (ต่อ) • การร้องขอให้ชดใช้ค่าสินไหมทดแทน - ผู้เสียหายตามม.5 - หน่วยงานของรัฐ - ออกใบรับคำขอเป็นหลักฐาน - พิจารณาภายใน 180 วัน - ขยายไม่เกิน 180 วัน(รายงานร.ม.ต.)

  7. การทำละเมิดต่อเอกชน / บุคคลภายนอก (ต่อ) • สิทธิไล่เบี้ยของหน่วยงานของรัฐ - เจ้าหน้าที่กระทำโดยจงใจ / ประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง (ม.8 ว 1)ดูภาพนิ่ง 33 - คำนึงถึงความร้ายแรงแห่งการกระทำและความเป็นธรรม (ม.8 ว 2) - หักส่วนความเสียหาย (ม.8 ว 3) - ไม่นำหลักเรื่องลูกหนี้ร่วมมาใช้บังคับ(ม.8 ว 4) ดูภาพนิ่ง 34

  8. การทำละเมิดต่อเอกชน / บุคคลภายนอก (ต่อ) หน่วยงานของรัฐ/ เจ้าหน้าที่ ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนให้แก่ ผู้เสียหาย อายุความการใช้สิทธิไล่เบี้ย (ม.9) - 1 ปีนับแต่วันชดใช้ค่าสินไหมทดแทน

  9. การกระทำละเมิดต่อหน่วยงานของรัฐการกระทำละเมิดต่อหน่วยงานของรัฐ • กรณีเจ้าหน้าที่กระทำในการปฏิบัติหน้าที่ - บังคับตามม.8 โดยอนุโลม • กรณีเจ้าหน้าที่กระทำมิใช่การปฏิบัติหน้าที่ - บังคับตามป.พ.พ - กระทำประมาทเลินเล่อ - รับผิดลักษณะลูกหนี้ร่วมได้

  10. การกระทำละเมิดต่อหน่วยงานของรัฐ (ต่อ) • อายุความการเรียกชดใช้ค่าเสียหาย - 2 ปีนับแต่วันที่หน่วยงานของรัฐ รู้ถึง การละเมิดและรู้ตัวเจ้าหน้าที่ผู้จะพึงต้อง ชดใช้ค่าสินไหมทดแทน (ปฏิบัติหน้าที่+ไม่ได้ปฏิบัติหน้าที่) - 1 ปีนับแต่วันที่หน่วยงานของรัฐมีคำสั่งตามความเห็นกระทรวงการคลัง

  11. การเรียกให้เจ้าหน้าที่ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนการเรียกให้เจ้าหน้าที่ชดใช้ค่าสินไหมทดแทน • ออกคำสั่งเรียกให้ชดใช้ (คำสั่งทางปกครอง) - กรณีเจ้าหน้าที่ปฏิบัติหน้าที่ - ละเมิดต่อเอกชน/บุคคลภายนอก (ม.8) - ละเมิดต่อหน่วยงานของรัฐ (ม.10 + ม.8) • อุทธรณ์คำสั่งทางปกครอง • ใช้มาตรการทางปกครอง (พ.ร.บ.วิปกครองม.57-ยึด/อายัดทรัพย์สิน)

  12. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยหลักเกณฑ์การปฏิบัติเกี่ยวกับความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่พ.ศ. 2539

  13. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยหลักเกณฑ์การปฏิบัติเกี่ยวกับความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่พ.ศ. 2539 - ที่มา - คำนิยามที่สำคัญ • เจ้าหน้าที่ • ความเสียหาย • ผู้แต่งตั้ง

  14. หมวด 1 กรณีเจ้าหน้าที่กระทำละเมิด ต่อหน่วยงานของรัฐ 1.กระทรวงฯ (ส่วนกลาง+ภูมิภาค) 2.ท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ หน่วยงานอื่นฯ

  15. การดำเนินการเมื่อหน่วยงานของรัฐเกิดความเสียหายการดำเนินการเมื่อหน่วยงานของรัฐเกิดความเสียหาย - รายงานผู้บังคับบัญชาตามลำดับ - สอบข้อเท็จจริงเบื้องต้น - แต่งตั้งคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริง ความรับผิดทางละเมิด

  16. การแต่งตั้งคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดการแต่งตั้งคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด • มีเหตุอันควรเชื่อว่าความเสียหายเกิดจาก การกระทำของเจ้าหน้าที่ • กำหนดวันแล้วเสร็จ • กค. ประกาศกำหนดจำนวนความเสียหาย / ผู้แทนหน่วยงานร่วมเป็นกรรมการ • กรรมการจำนวนไม่เกิน 5 คน

  17. การแต่งตั้งคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด(ต่อ)การแต่งตั้งคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด(ต่อ) • ข้อยกเว้น • ไม่มีเหตุอันควรเชื่อว่าเกิดจากการกระทำของเจ้าหน้าที่ • รายงานผู้บังคับบัญชา • เห็นด้วย : ยุติเรื่อง • ไม่เห็นด้วย : แต่งตั้งคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด • ชดใช้ค่าเสียหายครบถ้วน

  18. การแต่งตั้งคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด(ต่อ)การแต่งตั้งคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด(ต่อ) • กรณีร่วมกันแต่งตั้งคณะกรรมการ • เจ้าหน้าที่หน่วยงานของรัฐทำความเสียหาย แก่หน่วยงานของรัฐอีกแห่งหนึ่ง (ข้อ 10) • หน่วยงานของรัฐมากกว่าหนึ่งแห่งได้รับ ความเสียหาย (ข้อ 11) • เกิดการทำละเมิดของเจ้าหน้าที่หลายหน่วยงาน(ข้อ 11)

  19. การแต่งตั้งคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด(ต่อ)การแต่งตั้งคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด(ต่อ) • ผู้มีอำนาจแต่งตั้ง • ไม่ดำเนินการภายในเวลาสมควร • แต่งตั้งไม่เหมาะสม • ให้ปลัดกระทรวงปลัดทบวง รัฐมนตรี • แต่งตั้ง/เปลี่ยนแปลง (แทนผู้มีอำนาจ)ตามที่เห็นสมควร

  20. หน้าที่คณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดหน้าที่คณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด • กรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของกรรมการทั้งหมด (ข้อ 13) • ประธานไม่อยู่ให้เลือกกรรมการคนใดคนหนึ่ง ทำหน้าที่แทน • มติที่ประชุมถือเสียงข้างมาก ไม่เห็นด้วยให้ทำความเห็นแย้งไว้ (ข้อ 14) • ตรวจสอบข้อเท็จจริงรวมรวมพยานหลักฐานพยานบุคคล/ผู้เชี่ยวชาญ • ตรวจสอบเอกสารวัตถุ / สถานที่

  21. หน้าที่คณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด (ต่อ) • ต้องให้โอกาสแก่ผู้เสียหายได้ชี้แจง (ข้อ 15) • เสนอความเห็นให้ผู้แต่งตั้งพิจารณา โดยมีข้อเท็จจริง/กฎหมาย/พยานหลักฐาน(ข้อ 16) • สอบสวนให้แล้วเสร็จภายในกำหนดเวลา

  22. การดำเนินการของผู้มีอำนาจแต่งตั้งการดำเนินการของผู้มีอำนาจแต่งตั้ง • ไม่ผูกพันความเห็นของคณะกรรมการฯ(ข้อ 16) • ขอให้กรรมการสอบเพิ่มเติมหรือทบทวนได้ • ให้วินิจฉัยว่ามีผู้ใดต้องรับผิด/เป็นจำนวนเท่าใด /ยังไม่ต้องแจ้งให้ผู้รับผิดทราบ (ข้อ 17) • ให้ส่งผลให้กระทรวงการคลังตรวจสอบ ภายใน 7 วัน • ระหว่างรอผลกระทรวงการคลัง ให้ตระเตรียมออกคำสั่ง/ ฟ้องคดีมิให้ขาดอายุความ 2 ปี

  23. การดำเนินการของผู้มีอำนาจแต่งตั้ง (ต่อ) • หากกระทรวงการคลังมิได้แจ้งผลภายใน1 ปีหรือ 1 ปี 6 เดือน • ให้ดำเนินตามที่เห็นสมควร • เมื่อกระทรวงการคลังแจ้งผลแล้วให้ดำเนินการ • ตามความเห็นกระทรวงการคลัง • ตามที่เห็นว่าถูกต้อง (ข้อ 18) • กรณีแต่งตั้งคณะกรรมการร่วมกัน • ผู้แต่งตั้งร่วมเห็นต่างกัน ให้เสนอครม. • เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดตาย ให้รีบดำเนินการภายในอายุความมรดก

  24. การดำเนินการของผู้มีอำนาจแต่งตั้ง (ต่อ) • ข้อยกเว้น - สำนวนที่ไม่ต้องส่งให้กค. ตรวจสอบ(ประกาศกค.)ภาพนิ่ง87 • การวินิจฉัยสั่งการที่แตกต่างจากความเห็นของ กค. - ราชการส่วนท้องถิ่น/รัฐวิสาหกิจ /หน่วยงานอื่นของรัฐตามพระราชกฤษฎีกาฯ • ให้ปฏิบัติตามที่เห็นว่าถูกต้อง

  25. การพิจารณาของกระทรวงการคลังการพิจารณาของกระทรวงการคลัง • ให้มี “คณะกรรมการพิจารณาความรับผิดทางแพ่ง” เป็นผู้พิจารณาให้ความเห็นต่อกระทรวงการคลัง (ข้อ 21) • ตรวจสอบพยานหลักฐานที่เกี่ยวข้อง • ให้บุคคลมาชี้แจงเพิ่มเติม • ให้รับฟังพยานหลักฐานเพิ่มเติม

  26. การชดใช้ค่าเสียหาย • ถ้าเป็นเงินชดใช้เป็นเงิน • ถ้าเป็นสิ่งของต้องชดใช้เป็นสิ่งของ ที่มีสภาพอย่างเดียวกัน • ถ้าซ่อมต้องทำสัญญาตกลง และซ่อมให้แล้วเสร็จโดยเร็ว(6 ด.) • ถ้าชดใช้ต่างจากทรัพย์สินที่เสียหายหรือสูญหาย ต้องทำความตกลงกับกระทรวงการคลัง

  27. การผ่อนชำระเงิน • เจ้าหน้าที่สามารถผ่อนชำระได้ตามหลักเกณฑ์ของกระทรวงการคลัง ภาพนิ่ง88 • หากไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ ดังกล่าวให้ทำความตกลงกับ กระทรวงการคลังเป็นกรณีไป • ห้ามฟ้องล้มละลายในกรณีที่ไม่มีเงินผ่อนชำระเว้นแต่เข้าเงื่อนไขข้อ 27 แห่งระเบียบฯ

  28. หมวด 2 กรณีเจ้าหน้าที่กระทำละเมิด ต่อบุคคลภายนอก กระทรวงฯ (ส่วนกลาง+ภูมิภาค)

  29. การดำเนินการเมื่อเจ้าหน้าที่ทำให้บุคคลภายนอกได้รับเสียหายการดำเนินการเมื่อเจ้าหน้าที่ทำให้บุคคลภายนอกได้รับเสียหาย - รายงานผู้บังคับบัญชาตามลำดับ เจ้าหน้าที่ได้กระทำในการปฏิบัติหน้าที่ - ดำเนินการตามหมวด 1 โดยอนุโลม

  30. การดำเนินการกรณีผู้เสียหาย (บุคคลภายนอก)ยื่นคำขอให้ชดใช้ค่าสินไหมทดแทน -ผู้รับคำขอ • หน่วยงานต้นสังกัดของเจ้าหน้าที่ • กระทรวงการคลัง(กรณีมิได้สังกัดหน่วยงานใด) - แต่งตั้งคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด • กรณีต้องชดใช้ ให้ปฏิบัติตามที่ กค. กำหนด • กรณีไม่ต้องชดใช้ = ยังไม่ได้รับความเสียหาย

  31. การดำเนินการกรณีผู้เสียหาย (บุคคลภายนอก)ฟ้องคดีต่อศาล กรณีไม่ได้ปฏิบัติหน้าที่ -เรียก จนท.เข้ามาเป็นคู่ความ กรณีปฏิบัติหน้าที่ -อัยการแถลงศาลให้กัน จนท.ออกมา • ถ้าผลคดีทางราชการแพ้ -ไล่เบี้ย จนท. ตามเกณฑ์หมวด 1 (จงใจ-ร้ายแรง)

  32. ตารางแสดงขั้นตอนดำเนินการตามพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่พ.ศ. ๒๕๓๙และระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยหลักเกณฑ์การปฏิบัติเกี่ยวกับความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่พ.ศ. ๒๕๓๙ กรณีเห็นว่าความเสียหายมิได้เกิดจากการกระทำของเจ้าหน้าที่ต้องรายงานผู้บังคับบัญชาเพื่อ พิจารณาว่าสมควรตั้งคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดหรือไม่(ข้อ๑๒) รายงาน หัวหน้าหน่วยงานของรัฐ(แต่งตั้งคณะ กรรมการสอบข้อเท็จจริงเบื้องต้น) เกิดความเสียหาย ๑. กรณีเห็นว่าความเสียหายเกิดจากการกระทำของเจ้าหน้าที่ก็ให้ตั้ง คณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด ไม่ได้ปฏิบัติหน้าที่ รับผิดตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ๒. คณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด รับผิดตามพ.ร.บ.ความรับผิดทางละเมิดฯ จงใจหรือประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง ปฏิบัติหน้าที่ ประมาทเลินเล่อ ไม่ต้องรับผิด มีผู้รับผิดหรือไม่ ๓. ผู้แต่งตั้งวินิจฉัยสั่งการ ส่งสำนวนการสอบสวนให้กระทรวงการคลังภายใน๗วันนับแต่วันวินิจฉัยสั่งการ จำนวนเท่าใด ส่วนราชการต้องพิจารณาให้แล้วเสร็จก่อนอายุความ๒ปีสิ้นสุดลงไม่น้อยกว่า๖เดือน ๔. กระทรวงการคลัง คณะกรรมการพิจารณาความรับผิดทางแพ่ง ส่วนท้องถิ่นและรัฐวิสาหกิจต้องพิจารณาให้แล้วเสร็จก่อนอายุความ๒ปีสิ้นสุดลงไม่น้อยกว่า๑ปี หน่วยงานของรัฐมีคำสั่งตามความเห็นของกระทรวงการคลัง ๕. กระทรวงการคลัง คณะกรรมการพิจารณาความรับผิดทางแพ่ง หน่วยงานของรัฐประเภทราชการส่วนท้องถิ่นรัฐวิสาหกิจมีคำสั่งตามที่เห็นว่าถูกต้อง กรณีปฏิบัติหน้าที่ออกคำสั่งทางปกครอง ๖. หน่วยงานของรัฐ ผู้ต้องรับผิด ผู้ต้องรับผิดไม่พอใจคำสั่ง ให้ฟ้องศาลปกครอง กรณีไม่ใช่ปฏิบัติหน้าที่ฟ้องคดีต่อศาล ภายในอายุความ๒ปี

  33. การทำสำนวนการสอบสวน สำนักความรับผิดทางแพ่ง กรมบัญชีกลาง

  34. ประเภทสำนวนการสอบสวน 1.ทุจริตเงินหรือทรัพย์สิน 2. ไม่ปฏิบัติตามกฎหมายหรือระเบียบ 3. คนร้ายกระทำโจรกรรม หรือทรัพย์สิน สูญหาย 4. อาคารสถานที่ถูกเพลิงไหม้ 5. ยานพาหนะเกิดอุบัติเหตุ

  35. 1. ทุจริตเงินหรือทรัพย์สิน 1)วันเวลา เกิดการทุจริต 2)ชื่อ ตำแหน่งและอำนาจหน้าที่ของ ผู้กระทำทุจริต ในการปฏิบัติราชการโดยปกติ 3)การกระทำและพฤติการณ์ในการกระทำทุจริต

  36. ทุจริตเงินหรือทรัพย์สิน (ต่อ) 4) ชื่อ ตำแหน่ง และอำนาจหน้าที่ ของเจ้าหน้าที่ที่ร่วมงานหรือที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนผู้บังคับบัญชาตามสายงาน 5)รายละเอียดการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ผู้เกี่ยวข้องทั้งหมด รวมทั้งผู้บังคับบัญชา ให้ระบุชื่อและตำแหน่งว่าตามกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องหรือทางปฏิบัติที่ถูกต้องควรเป็นอย่างไร เปรียบเทียบกับการกระทำที่เกิดขึ้นจริง พร้อมแผนภูมิประกอบ เปรียบเทียบระหว่างกรณีทางปฏิบัติ ที่ถูกต้องกับการกระทำที่เกิดขึ้นจริง

  37. ทุจริตเงินหรือทรัพย์สิน (ต่อ) 6)กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับและคำสั่ง เกี่ยวกับงานในหน้าที่นั้น ๆ หรืองานที่ได้รับมอบหมายมีอย่างไร 7)หลักและวิธีปฏิบัติโดยปกติของงานหรือ กิจการนั้นเป็นอย่างไร 8)หลักฐานและเอกสารที่ผู้ทุจริตได้กระทำหรือหลักฐานที่ผู้ทุจริตจะต้องกระทำแต่ได้ละเว้นไม่กระทำ (ข้อนี้อาจจะต้องตรวจ รายละเอียดจากเอกสารที่มีอยู่เป็นจำนวนมากก็ได้ ซึ่งแล้วแต่กรณีเป็นเรื่อง ๆ ไป)

  38. ทุจริตเงินหรือทรัพย์สิน (ต่อ) 10)เอกสารแจ้งความร้องทุกข์ สำเนาสำนวนการสอบสวนของเจ้าหน้าที่ตำรวจ พนักงานอัยการ และความเห็น (ถ้ามี) ตลอดจนผลการฟ้องคดี 9)รายการและจำนวนเงินที่ทุจริต หรือขาดหายไป 11)กรณีมีการระบุว่า ลายมือชื่อปลอม ได้มีการส่งหลักฐานให้ผู้ชำนาญของกองพิสูจน์หลักฐานตรวจสอบหรือไม่ ถ้ามีขอรายงานผลการพิสูจน์ดังกล่าว

  39. ทุจริตเงินหรือทรัพย์สิน (ต่อ) 12)การเรียกร้องหรือฟ้องคดีกับธนาคารผู้จ่ายเงิน (ถ้ามี) 13)ในกรณีเป็นเรื่องเกี่ยวกับเช็ค ขอสำเนาเช็ค สำเนาใบเสร็จรับเงิน เอกสารประกอบการสั่งจ่าย ผู้มีอำนาจสั่งจ่าย หลักฐานการได้รับชำระหนี้ และอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 14)พฤติการณ์และกรณีแวดล้อมอื่น ๆ เช่น ผู้ทุจริตเป็นคนชอบเล่นการพนัน ภาวะแห่งจิตใจ ฯลฯ

  40. ทุจริตเงินหรือทรัพย์สิน (ต่อ) 15)ความเห็นและผลการดำเนินการของ ปปช. ปปง. และผลการดำเนินคดีอาญา (ถ้ามี) 16)กรณีมีการกระทำทุจริตเกิดขึ้นหลายกรณี ให้แยกการสอบสวนเป็นรายกรณี พร้อมความเห็นว่า ผู้กระทำการทุจริตและ ผู้บังคับบัญชาจะต้องรับผิดหรือไม่ อย่างไร และเป็นจำนวนเงินเท่าใด

  41. ทุจริตเงินหรือทรัพย์สิน (ต่อ) 17)บันทึกการให้ปากคำของผู้เกี่ยวข้อง และโดยเฉพาะผู้ที่จะต้องรับผิดหรืออาจจะต้องรับผิด ทั้งนี้ -ต้องให้บุคคลดังกล่าวได้มีโอกาสที่จะทราบข้อเท็จจริงอย่างเพียงพอและเป็นธรรม -ให้มีโอกาสโต้แย้งและแสดงพยาน หลักฐานของตนด้วย -โดยต้องมิได้กระทำการใดอันเป็นการล่อลวง ขู่เข็ญ ให้สัญญา หรือกระทำโดยมิชอบด้วยประการอื่น

  42. ทุจริตเงินหรือทรัพย์สิน (ต่อ) 18)กรณีช่วงระยะเวลาที่เกิดความเสียหายมีผู้รับผิดชอบและเกี่ยวข้อง หลายคนซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงตำแหน่งผู้รับผิดชอบหรือที่เกี่ยวข้อง และหรือมีการโยกย้าย -ให้ระบุรายละเอียดช่วงเวลาที่แต่ละคนต้องรับผิดชอบ และจำนวนความเสียหายซึ่งเกิดในช่วงระยะเวลาดังกล่าว -พร้อมแผนภูมิประกอบ

  43. 2. ไม่ปฏิบัติตามกฎหมายหรือระเบียบ 1)กฎหมาย ระเบียบ มติคณะรัฐมนตรี ข้อบังคับและคำสั่ง ที่เกี่ยวข้อง 2)สำเนารายงานความเห็นของ สตง. หรือเหตุที่ทำให้ทราบว่ามีการไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ และความเห็นหรือ ผลการดำเนินการของ ปปช. ปปง. และผลการดำเนินคดีอาญา (ถ้ามี) 3)จำนวนเงินที่ถือว่าทำให้ทางราชการได้รับความเสียหาย

  44. ไม่ปฏิบัติตาม กม.หรือระเบียบ (ต่อ) 4) กรณีกำหนดราคากลางสูงกว่าราคา ค่าก่อสร้าง ก.รายละเอียดแสดงวิธีคำนวณ หาค่าแฟคเตอร์เอฟ (ถ้ามี) ข.แหล่งที่มาของราคาวัสดุที่ใช้กำหนดเป็นราคากลาง ค.ราคาวัสดุแยกเป็นประเภท ชนิด พร้อมราคา

  45. ไม่ปฏิบัติตาม กม.หรือระเบียบ (ต่อ) ก.ขั้นตอนดำเนินการก่อนมีการประกาศสอบราคา ประกวดราคา จัดซื้อจัดจ้างโดยวิธีพิเศษ หรือก่อนมีการตกลงราคา แล้วแต่กรณี ข.ประกาศสอบราคา ประกวดราคา ฯลฯ ค.รายชื่อคณะกรรมการที่แต่งตั้งตามระเบียบทุกคน 5) กรณีไม่ปฏิบัติตามระเบียบพัสดุ

  46. ไม่ปฏิบัติตาม กม.หรือระเบียบ (ต่อ) ง.รายละเอียดการปฏิบัติงาน -ของเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้องทั้งหมด -รวมทั้งผู้บังคับบัญชา -ระบุชื่อและตำแหน่งว่า ตามกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง และหรือทางปฏิบัติที่ถูกต้องควรเป็นอย่างไร -พร้อมแผนภูมิประกอบ -เปรียบเทียบระหว่างกรณีทางปฏิบัติ ที่ถูกต้องกับการกระทำที่เกิดขึ้นจริง

  47. ไม่ปฏิบัติตาม กม.หรือระเบียบ (ต่อ) จ. รายงานผลการปฏิบัติงานและ ความเห็นของเจ้าหน้าที่ และคณะกรรมการที่เกี่ยวข้องทุกคณะ ฉ. หากมีการยกเลิกการสอบราคา ประกวดราคา ฯลฯ ขอเหตุผลพร้อม หลักฐานที่เกี่ยวข้อง ช. ความเห็นของผู้สั่งซื้อ สั่งจ้าง

  48. 3. คนร้ายกระทำโจรกรรมหรือทรัพย์สินสูญหาย 1)ข้อเท็จจริงทั่วไป และรายละเอียดของทรัพย์สินที่สูญหาย ก.วันเวลาที่เกิดเหตุ ข.เป็นทรัพย์ชนิดใด ตั้งหรือเก็บรักษา ณ ที่ใด บริเวณที่ตั้งทรัพย์หรือสถานที่เก็บรักษาทรัพย์นั้น มีทรัพย์สินอื่นที่ไม่ได้หายไปอยู่ด้วยหรือไม่ ถ้ามี อะไรบ้าง(อธิบายโดยละเอียดหรือแยกเป็นรายการ) ค.รายการและมูลค่าของทรัพย์สินที่หายทั้งก่อนและหลังคำนวณค่าเสื่อมราคา

  49. คนร้ายกระทำโจรกรรมหรือทรัพย์สินสูญหาย (ต่อ) 2)อาคารและสถานที่ที่เก็บทรัพย์ ก.ลักษณะของอาคาร ทางเข้า ทางออก ร่องรอยที่คนร้ายเข้าและออกมีรั้วรอบ ขอบชิดหรือไม่ อย่างไร แผนผังบริเวณอาคารหรือสถานที่เก็บรักษาทรัพย์ที่ สูญหายดูภาพนิ่ง 68 ข.พฤติการณ์ที่คนร้ายเข้าไปในอาคาร และทำการลักทรัพย์อย่างไร (ถ้าไม่มีหลักฐานแน่นอน ก็ควรสันนิษฐาน

  50. คนร้ายกระทำโจรกรรมหรือทรัพย์สินสูญหาย (ต่อ) ค.สถานที่เก็บทรัพย์เป็นอะไร เช่น ตู้เหล็ก ตู้ไม้ ฯลฯ และมีลักษณะอย่างไร มีลิ้นชักหรือมีของอื่นเก็บรวมอยู่ด้วยหรือไม่ ถ้ามี มีอะไรบ้าง ความมั่นคงแข็งแรงของที่เก็บทรัพย์นั้น เช่น เป็นตู้เหล็กมีกุญแจ ฯลฯ และตั้งอยู่ในตอนใดของอาคาร ง.มีของอื่นที่ไม่หายเก็บรวมอยู่ในที่เก็บทรัพย์นั้นหรือไม่ จ.กุญแจอาคาร กุญแจสถานที่เก็บทรัพย์ เก็บรักษาไว้ที่ใด ผู้ใด เป็นผู้รับผิดชอบหรือเก็บรักษา และสูญหายหรือเสียหายไปในขณะเกิดเหตุหรือไม่

More Related