1 / 60

การติดตามผลการดำเนินงานตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ของกรมศิลปากรประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๐

การติดตามผลการดำเนินงานตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ของกรมศิลปากรประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๐ (รอบ ๖ เดือน) วันพุธที่ ๑๓ มิถุนายน ๒๕๕๐ ณ ห้องประชุม สำนักหอสมุดแห่งชาติ.

Download Presentation

การติดตามผลการดำเนินงานตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ของกรมศิลปากรประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๐

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การติดตามผลการดำเนินงานตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ของกรมศิลปากรประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๐ (รอบ ๖ เดือน) วันพุธที่ ๑๓ มิถุนายน ๒๕๕๐ ณ ห้องประชุม สำนักหอสมุดแห่งชาติ

  2. เป็นองค์กรหลักในการธำรงคุณค่าและเอกลักษณ์มรดกทางศิลปวัฒนธรรมของชาติและเผยแพร่ความรู้สู่ประชาชนเพื่อเป็นรากฐานในการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของชาติเป็นองค์กรหลักในการธำรงคุณค่าและเอกลักษณ์มรดกทางศิลปวัฒนธรรมของชาติและเผยแพร่ความรู้สู่ประชาชนเพื่อเป็นรากฐานในการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของชาติ วิสัยทัศน์ รายงานผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองฯ กรมศิลปากร

  3. รายงานผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองฯ กรมศิลปากร พันธกิจ • ธำรงคุณค่าและเอกลักษณ์มรดกทางศิลปวัฒนธรรม • สืบทอดมรดกศิลปวัฒนธรรมให้คงอยู่สืบไป • เพิ่มศักยภาพแหล่งศิลปวัฒนธรรมให้เป็นแหล่งเรียนรู้และแหล่งท่องเที่ยว • พัฒนาระบบและกลไกการบริหารจัดการมรดกทาง ศิลปวัฒนธรรมให้มีประสิทธิภาพ

  4. รายงานผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองฯ กรมศิลปากร ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๑ ปกป้อง คุ้มครอง อนุรักษ์ ฟื้นฟู ศิลปวัฒนธรรม ธำรงจารีตประเพณี พระราชพิธี และรัฐพิธี ให้คงความเป็นเอกลักษณ์ของชาติ เพื่อความมั่นคงของชาติและเป็นรากฐานในการพัฒนาประเทศ เป้าประสงค์ ๑. รักษามรดกศิลปวัฒนธรรมและเอกลักษณ์ของชาติและท้องถิ่น ๒. ธำรงรักษาจารีตประเพณี พระราชพิธี รัฐพิธี ๓. ส่งเสริม บูรณาการความร่วมมือขององค์กรภาครัฐ เอกชน และเครือข่ายด้านศิลปวัฒนธรรม

  5. รายงานผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองฯ กรมศิลปากร ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๒ สืบทอดสร้างสรรค์เผยแพร่ศิลปวัฒนธรรม เป้าประสงค์ ประชาชนรู้ เข้าใจ มีจิตสำนึกรักและหวงแหนมรดกวัฒนธรรมของชาติสามารถสืบทอดและสร้างสรรค์

  6. รายงานผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองฯ กรมศิลปากร เป้าประสงค์ ๑. รักษาและสืบทอดเอกลักษณ์มรดกทางศิลปวัฒนธรรมทั้งในด้านนาฏศิลป์ ดนตรี คีตศิลป์ และช่างศิลป์ ๒.พัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาด้านศิลปวัฒนธรรม ๓. เป็นศูนย์กลางในการรวบรวมข้อมูล ศึกษาวิเคราะห์ วิจัยศิลปวัฒนธรรมด้านนาฏศิลป์ดนตรี คีตศิลป์และช่างศิลป์และให้บริการเพื่อส่งเสริมการเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๓ จัดการศึกษาเฉพาะด้านศิลปวัฒนธรรม เพื่อการอนุรักษ์ สืบทอด และพัฒนาอย่างยั่งยืน

  7. รายงานผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองฯ กรมศิลปากร เป้าประสงค์ ๑. ประชาชนได้ความรู้และบริการที่ดีจากแหล่งท่องเที่ยวทางศิลปวัฒนธรรม องค์ความรู้มรดกศิลปวัฒนธรรมได้รับการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบ ๒. องค์ความรู้ด้านมรดกศิลปวัฒนธรรม ได้รับการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบสามารถนำไปใช้และเผยแพร่ถ่ายทอดสู่ประชาชน ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๔ บริหารจัดการองค์ความรู้และพัฒนามรดกศิลปวัฒนธรรมให้เป็นแหล่งเรียนรู้และแหล่งท่องเที่ยว

  8. รายงานผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองฯ กรมศิลปากร ประเด็นยุทธศาสตร์ที่๕ พัฒนาระบบและกลไกการบริหารงาน เป้าประสงค์ ๑. สร้างความพึงพอใจและความมั่นใจให้แก่ประชาชนผู้รับบริการ ๒. ปรับปรุงระบบ/กระบวนการทำงานและกฎระเบียบให้มีความทันสมัย ๓. พัฒนาศักยภาพและขีดความสมรรถนะของบุคลากรและองค์กรให้มีความพร้อมและอยู่ในระดับเกณฑ์มาตรฐานที่สามารถยอมรับได้

  9. รายงานผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรอง ฯ กรมศิลปากร กรมศิลปากร • กลุ่มตรวจสอบภายใน • กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร • งานเทคโนโลยีสารสนเทศ • ศูนย์ปฏิบัติการกรม สำนักงานเลขานุการกรม สำนัก พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สำนักการสังคีต สำนักโบราณคดี โรงละครแห่งชาติภูมิภาค ๒ แห่ง สำนักช่างสิบหมู่ สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ สำนักสถาปัตยกรรม สำนัก หอสมุดแห่งชาติ สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ สำนักศิลปากรที่ ๑-๑๕ สำนัก หอจดหมายเหตุแห่งชาติ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ,อุทยานประวัติศาสตร์ ,หอสมุดฯหอจดหมายเหตุฯ,ในเขตพื้นที่ วิทยาลัยช่างศิลป ๓ แห่ง วิทยาลัยนาฏศิลป๑๒ แห่ง

  10. ผลการดำเนินงานตามคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๐รอบ ๖ เดือน

  11. กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ มิติด้านคุณภาพการให้บริการ 5. ร้อยละระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ 6. ระดับความสำเร็จของการเปิดโอกาสให้ประชาชนมามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตามตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ 7.1 ระดับความสำเร็จในการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการ 7.2 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการป้องกันและปราบปรามการทุจริต (7.2.1-7.2.3) • มิติด้านประสิทธิผล • 1.+2 ตัวชี้วัดตามแผนปฏิบัติราชการของกระทรวง/กลุ่มภารกิจ • 3. ตัวชี้วัดตามแผนปฏิบัติราชการส่วนราชการ • 4. ตัวชี้วัดตามภารกิจหลักของหน่วยงานที่ไม่ปรากฏ • ในแผนปฏิบัติราชการ มิติที่ 2 (ร้อยละ 15) มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ 8. ร้อยละของอัตราการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน 9. ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ 10.1 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการลดรอบระยะเวลาของขั้นตอนการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ 10.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการดำเนินการตามข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงด้านขั้นตอนและวิธีการปฏิบัติงานของส่วนราชการ 11. ระดับความสำเร็จของการจัดทำต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต(ตัวชี้วัดเลือก) มิติที่ 1 (ร้อยละ 50) มิติที่ 3 (ร้อยละ 10) มิติที่ 4(ร้อยละ 25) มิติด้านการพัฒนาองค์กร 12.ระดับความสำเร็จของแผนการจัดการความรู้เพื่อสนับสนุนประเด็นยุทธศาสตร์ 13.1ระดับความสำเร็จในการพัฒนาระบบการบริหารทรัพยากรบุคคล 13.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการดำเนินการตามข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงด้านบุคลากร 13.3 ระดับความสำเร็จของการถ่ายทอดตัวชี้วัดตามเป้าหมายระดับองค์กรสู่ระดับบุคคล 14. ระดับความคุณภาพของการบริหารจัดการระบบฐานข้อมูลสารสนเทศของส่วนราชการ 15.1 ระดับความสำเร็จของการจัดทำแผนพัฒนากฎหมาย 15.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการดำเนินการตามแผนพัฒนากฎหมาย 16 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ 17. ระดับความสำเร็จของการจัดทำระบบบริหารความเสี่ยง (ตัวชี้วัดเลือก)

  12. รายงานผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองฯ กรมศิลปากร มิติที่ ๑ มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ

  13. รายงานผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองฯ กรมศิลปากร ประเด็นการประเมินผล : ผลสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการ

  14. ประเด็นการประเมินผล : ผลสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ ๓ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการส่วนราชการ (ร้อยละ ๒๐)

  15. ประเด็นการประเมินผล : ผลสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ ๓ ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการส่วนราชการ

  16. ประเด็นการประเมินผล : ผลสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ ๓ ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการส่วนราชการ

  17. ประเด็นการประเมินผล : ผลสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ ๓ ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการส่วนราชการ

  18. รายงานผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองฯ กรมศิลปากร ตัวชี้วัดที่ ๓.๑ร้อยละความสำเร็จของมรดกทางศิลปวัฒนธรรมที่ได้รับการอนุรักษ์อย่างมีมาตรฐานตามหลักวิชาการ(น้ำหนักร้อยละ ๔) • ผลการดำเนินงาน • จัดตั้งคณะทำงาน • ประชุมระดมความคิดเห็น เพื่อกำหนด • นิยาม เป้าหมาย และวิธีการดำเนินงาน • รวมทั้งแนวทางในการติดตามผล • จัดทำแผนปฏิบัติราชการ • อยู่ระหว่างดำเนินการตามแผน มรดกทางศิลปวัฒนธรรม ได้แก่ ๓.๑.๑ โบราณสถาน ๓.๑.๒ โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ ๓.๑.๓ งานช่างศิลปกรรม ๓.๑.๔ เอกสารจดหมายเหตุ ๓.๑.๕ เอกสารโบราณ ๓.๑.๖ นาฏดุริยางคศิลป์ ๓.๑.๗ วรรณกรรม ประวัติศาสตร์ จารีตประเพณี

  19. รายงานผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองฯ กรมศิลปากร ตัวชี้วัดที่ ๓.๒ จำนวนพื้นที่เป้าหมายที่มีกิจกรรมบูรณาการ ธำรงรักษาและอนุรักษ์มรดกทางศิลปวัฒนธรรมในพื้นที่และมีรายงานสรุปผลการดำเนินการ(น้ำหนักร้อยละ ๓) • ผลการดำเนินงาน • แต่งตั้งคณะทำงาน • ประชุมระดมความคิดเห็นเพื่อ • กำหนดพื้นที่เป้าหมายที่จะดำเนินการ • ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๐ • ๓. จัดทำแผนปฏิบัติการและแนวทาง • การติดตามประเมินผลการดำเนินงาน • ๔. อยู่ระหว่างการดำเนินการของ • หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ การดำเนินการตามตัวชี้วัดนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อให้สามารถตอบสนองประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๑ เป้าประสงค์ที่ ๓ “ส่งเสริมบูรณาการความร่วมมือขององค์กร ภาครัฐ เอกชนและเครือข่ายด้านศิลปวัฒนธรรม โดย ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๐ มีเป้าหมายทั้งสิ้น ๕๐ พื้นที่

  20. ตัวชี้วัดที่ ๓.๓ ระดับความสำเร็จในการอนุรักษ์สืบทอดมรดกทางศิลปวัฒนธรรมและธำรงรักษาจารีตประเพณี พระราชพิธี รัฐพิธี ให้ถูกต้องตามโบราณราชประเพณี (น้ำหนักร้อยละ ๔) เกณฑ์การให้คะแนน ขั้นตอนที่ ๑ : ทบทวนผลการดำเนินงานในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๙ แล้วจัดทำ Focus Group เพื่อระดมความคิดในการกำหนด แก่น หรือ Theme เรื่องที่จะดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๐ ซึ่งเป็นเรื่องที่แสดงถึง “วิวัฒนาการ”(Evolution) หรือ “ความสำคัญของประวัติศาสตร์” และ ความเป็นชาติไทย ที่จะสร้างให้เกิดความประทับใจ/คุณค่า และเกิดการเรียนรู้และจิตสำนึกรักแผ่นดินไทย ขั้นตอนที่ ๒: นำผลการวิเคราะห์จากขั้นตอนที่ ๑ มาจัดทำแนวทางการดำเนินงานในปี ๒๕๕๐ ขั้นตอนที่ ๓ :ดำเนินการตามแผน/แนวทางที่กำหนดได้แล้วเสร็จครบถ้วน ขั้นตอนที่ ๔:มีการประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อช่องทางต่างๆ เช่น โทรทัศน์ Internet ฯลฯ เป็นต้น ขั้นตอนที่ ๕ : ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานพร้อมทั้งสำรวจความคิดเห็นผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อกำหนดแนวทางการดำเนินงานในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ต่อไป ผลการดำเนินงาน ดำเนินการในขั้นตอนที่ ๑ และขั้นตอนที่ ๒ แล้วเสร็จ อยู่ระหว่างดำเนินการตามแผนและแนวทางที่กำหนด (ต่อ)

  21. ตัวชี้วัดที่ ๓.๓ ระดับความสำเร็จในการอนุรักษ์สืบทอดมรดกทางศิลปวัฒนธรรมและธำรงรักษาจารีตประเพณี พระราชพิธี รัฐพิธี ให้ถูกต้องตามโบราณราชประเพณี (น้ำหนักร้อยละ ๔) • การดำเนินการแบ่งเป็น ๒ โครงการ ได้แก่ • โครงการเพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องใน • วโรกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๘๐ พรรษา • “สุวรรณภูมิ อารยธรรมบนแผ่นดินไทย” • ๒. โครงการเนื่องในวันอนุรักษ์มรดกไทย • “คุณธรรม จริยธรรม ตามรอยพระโพธิสัตว์” • รูปแบบการนำเสนอ เป็นการบูรณาการงานของหน่วยงานตามภารกิจหลัก • ของกรมศิลปากร นำเสนอในรูปแบบการจัดนิทรรศการพิเศษ การจัดการ • แสดงนาฏศิลป์และดนตรี รวมทั้งจัดเสวนาทางวิชาการ ฯลฯ

  22. รายงานผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองฯ กรมศิลปากร ตัวชี้วัดที่ ๓.๔ความสำเร็จของการสร้างสรรค์ผลงานด้านศิลปวัฒนธรรมและเผย แพร่สู่ประชาชน (น้ำหนักร้อยละ ๓) ความสำเร็จของการสร้างสรรค์ผลงานด้านศิลปวัฒนธรรมและเผยแพร่สู่ประชาชน ได้แก่ผลงาน ดังนี้ ๓.๔.๑ การเผยแพร่ผลการด้านวรรณกรรมตามเป้าหมายที่กำหนด ๓.๔.๒ การเผยแพร่นาฏดุริยางคศิลป์ ๓.๔.๓ การเผยแพร่ถ่ายทอดความรู้ผลงานด้านศิลปกรรม ผลการดำเนินงาน : กรมศิลปากรได้จัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๐ โดยกำหนดเป้าหมายการดำเนินงาน ระยะเวลา และผู้รับผิดชอบ ขณะนี้อยู่ระหว่างการดำเนินการตามแผนปฏิบัติการ

  23. ตัวชี้วัดที่ ๓.๕ ระดับความสำเร็จของการจัดทำคุณภาพมาตรฐานของผู้สำเร็จการศึกษาด้านนาฏศิลป์ ดุริยางคศิลป์ และช่างศิลป์ (น้ำหนักร้อยละ ๒) เกณฑ์การให้คะแนน ขั้นตอนที่ ๑ :วิเคราะห์ข้อมูล และทบทวนแนวทางการจัดทำเกณฑ์มาตรฐานผู้สำเร็จการศึกษาในระดับอุดมศึกษาและพื้นฐานในปี พ.ศ. ๒๕๔๙ ขั้นตอนที่ ๒:นำผลการวิเคราะห์ ทบทวน ในขั้นตอนที่ ๑ มาใช้ประกอบการประชุมระดมความคิด เพื่อจัดทำการวิจัยคุณภาพของบัณฑิตและผู้สำเร็จการศึกษาระดับพื้นฐาน (หมายเหตุ : สำรวจจากบัณฑิตที่จบการศึกษา/ผู้ใช้บัณฑิต/สถานศึกษา,อาจารย์ที่รับนักเรียนเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรี) ขั้นตอนที่ ๓ : ดำเนินการตามแผน/แนวทางการวิจัยที่กำหนด ขั้นตอนที่ ๔ :นำผลการวิจัยมาวิเคราะห์และสรุปผล ร่วมกับร่างเกณฑ์มาตรฐานฯที่จัดทำในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๙ มายกร่างเกณฑ์มาตรฐานฯ ขั้นตอนที่ ๕ :ยกร่างเกณฑ์มาตรฐานแล้วเสร็จ พร้อมจัดทำแนวทางการดำเนินงานในปี พ.ศ. ๒๕๕๑ (ต่อ)

  24. ตัวชี้วัดที่ ๓.๕ ระดับความสำเร็จของการจัดทำคุณภาพมาตรฐานของผู้สำเร็จการศึกษาด้านนาฏศิลป์ ดุริยางคศิลป์ และช่างศิลป์ (น้ำหนักร้อยละ ๒) • แต่งตั้งคณะทำงานฯ • คณะทำงานฯ ได้วิเคราะห์ข้อมูล และทบทวนแนวทางการจัดทำ • เกณฑ์มาตรฐานผู้สำเร็จการศึกษา • นำผลการวิเคราะห์ ทบทวน มาใช้ประกอบในการประชุมระดม • ความคิด เพื่อจัดทำการวิจัยคุณภาพของบัณฑิต • ดำเนินการในขั้นตอนที่ ๑ แล้วเสร็จ อยู่ระหว่างดำเนินการในขั้นตอนที่ ๒ ผลการดำเนินงาน

  25. รายงานผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองฯ กรมศิลปากร ตัวชี้วัดที่ ๓.๖ระดับความสำเร็จของการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ทางวัฒนธรรม(น้ำหนักร้อยละ ๔) เกณฑ์การให้คะแนน ขั้นตอนที่ ๑ :คัดเลือกแหล่งเรียนรู้เป้าหมายและจัดระดมความคิดเห็นร่วมกับกลุ่มบุคคลที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ เช่น กลุ่มเครือข่ายองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สถานศึกษา ฯลฯ เพื่อกำหนดแนวทางการจัดการเรียนรู้ทางวัฒนธรรมในพื้นที่ ขั้นตอนที่ ๒ : - กำหนดรูปแบบการพัฒนาทางกายภาพ และจัดกิจกรรมที่จะดำเนินงานในแหล่งเรียนรู้ (กิจกรรมดังกล่าวเป็นการเรียนรู้รูปแบบต่างๆ เช่น การสาธิต การแสดง การประชุมเชิงปฏิบัติการ การเล่านิทาน การละเล่น ฯลฯ) - ดำเนินการพัฒนาทางกายภาพ เช่น การปรับปรุงการจัดแสดง การจัดสิ่งอำนวยความสะดวก การปรับปรุงภูมิทัศน์ ฯลฯ (ต่อ)

  26. รายงานผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองฯ กรมศิลปากร ตัวชี้วัดที่ ๓.๖ ระดับความสำเร็จของการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ทางวัฒนธรรม (น้ำหนักร้อยละ ๔) เกณฑ์การให้คะแนน ขั้นตอนที่ ๓ :จัดปฏิทินการเรียนรู้ เชื่อมโยงกับกิจกรรมของสถานศึกษาหรือชุมชนในพื้นที่ ขั้นตอนที่ ๔ :แหล่งเรียนรู้เป้าหมาย สามารถดำเนินการตามแผนได้แล้วเสร็จ ขั้นตอนที่ ๕ :สรุปผลการดำเนินงานและทำการสำรวจความเห็น ทัศนคติ ผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำมากำหนดแนวทางการขยายผลการพัฒนาในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ต่อไป • ผลการดำเนินงาน : • แต่งตั้งคณะทำงานฯ • ประชุมคณะทำงานฯ เพื่อกำหนดพื้นที่เป้าหมาย

  27. รายงานผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองฯ กรมศิลปากร มิติที่ ๒ มิติด้านคุณภาพการให้บริการ

  28. รายงานผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองฯ กรมศิลปากร

  29. ประเด็นการประเมินผล : การมีส่วนร่วมของประชาชน (ต่อ)

  30. (ต่อ)

  31. (ต่อ)

  32. ประเด็นการประเมินผล : การมีส่วนร่วมของประชาชน ดำเนินการในขั้นตอนที่ ๑

  33. ประเด็นการประเมินผล : ความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการ

  34. ประเด็นการประเมินผล : ความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการ

  35. ประเด็นการประเมินผล : ความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการ ผลการดำเนินงาน : ขั้นตอนที่ ๕

  36. ประเด็นการประเมินผล : ความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการ ผลการดำเนินงาน : ขั้นตอนที่ ๑

  37. ประเด็นการประเมินผล : ความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการ ผลการดำเนินงาน : จัดส่งรายงาน รอบ ๖ เดือน ให้ ป.ป.ช. ตามกำหนด

  38. ประเด็นการประเมินผล : ความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการ

  39. รายงานผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองฯ กรมศิลปากร มิติที่ ๓ มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ

  40. ประเด็นการประเมินผล : การบริหารงบประมาณ

  41. ประเด็นการประเมินผล : การประหยัดพลังงาน ตัวชี้วัดที่ ๙ ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของ ส่วนราชการ (น้ำหนัก : ร้อยละ ๒) การดำเนินการ ผลการดำเนินงาน : ระดับ ๕

  42. ประเด็นการประเมินผล : การลดระยะเวลาการให้บริการ (ต่อ)

  43. ประเด็นการประเมินผล : การลดระยะเวลาการให้บริการ (ต่อ)

  44. (ต่อ)

  45. (ต่อ)

  46. ผลการดำเนินงาน : ระดับ

  47. ประเด็นการประเมินผล : การจัดทำต้นทุนต่อหน่วย (ตัวชี้วัดเลือก) ผลการดำเนินงาน : ระดับ ๓

  48. รายงานผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองฯ กรมศิลปากร มิติที่ ๔ มิติด้านการพัฒนาองค์กร

  49. รายงานผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองฯ กรมศิลปากร ประเด็นการประเมินผล : การจัดการความรู้ ผลการดำเนินงาน : ระดับ ๓

More Related