1 / 74

Nutritional Management in COPD ( อาหารสำหรับโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง )

Nutritional Management in COPD ( อาหารสำหรับโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ). ผศ . พญ . รพีพร โรจน์แสงเรือง ภาควิชาเวชศาสตร์ฉุกเฉิน คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. COPD. แบ่งเป็น 2 ชนิด หลอดลมอักเสบเรื้อรัง (Chronic Bronchitis) ถุงลมปอดโป่งพอง (Emphysema). Emphysema หรือ Pink Puffers.

vonda
Download Presentation

Nutritional Management in COPD ( อาหารสำหรับโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง )

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Nutritional Management in COPD(อาหารสำหรับโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ) ผศ.พญ.รพีพร โรจน์แสงเรือง ภาควิชาเวชศาสตร์ฉุกเฉิน คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี

  2. COPD แบ่งเป็น2ชนิด • หลอดลมอักเสบเรื้อรัง (Chronic Bronchitis) • ถุงลมปอดโป่งพอง (Emphysema)

  3. Emphysema หรือ Pink Puffers • หอบเหนื่อยเนื่องจากถุงลมถูกทำลายจนทำให้หายใจออกได้ไม่ดี • ผอม เนื่องจากต้องใช้พลังงานไปในการหายใจค่อนข้างมาก

  4. Chronic Bronchitisหรือ Blue Bloaters • มักมาด้วยอาการไอมีเสมหะมากและหอบเหนื่อยเนื่องจากหลอดลมเกิดการอักเสบจนทำให้หลอดลมตีบแคบ • มีน้ำหนักปกติหรืออ้วน • อาจมีบวมน้ำ(edema) • ในระยะท้ายมักมีน้ำหนักตัวลดลง

  5. พลังงานที่ใช้ไป

  6. ผู้ป่วยสามารถเพิ่มการใช้พลังงานในขณะพัก ( Resting Energy Expenditure ,REE)ขึ้นไปอีก10-15% เมื่อมีอาการหอบเหนื่อย • พลังงานทั้งหมดที่ต้องการต่อวัน (แคลอรี) TEE = REE + AEE • แต่ถ้าผู้ป่วยไม่ชดเชยพลังงานทดแทนให้เพียงพอโดยการกินอาหารเพิ่มขึ้น ก็จะทำให้น้ำหนักลด

  7. Body Composition • fat mass + fat free mass (lean body mass) • BW(kg) = Fat (kg) + FFM (kg) • FFM = Protein + H2O + Bone mineral + Glycogen

  8. COPD & ร่างกาย

  9. COPD & ร่างกาย • COPD & น้ำหนักตัว • COPD & Body Composition • COPD & Ventilation • COPD & Bone • COPD & Appetite

  10. COPD & น้ำหนักตัว • COPD ที่มีน้ำหนักลดลงพบได้ถึง40-70% ทั้งนี้เพราะผู้ป่วยต้องการพลังงานมากขึ้นเพื่อช่วยหายใจ • ได้รับพลังงานไม่เพียงพอกับที่ใช้ไปก็ทำให้ร่างกายต้องสลายไขมันและกล้ามเนื้อของร่างกายออกมาเป็นพลังงาน จึงทำให้กล้ามเนื้ออ่อนแรงและน้ำหนักตัวลดลง

  11. การมีกล้ามเนื้อหายใจอ่อนแรงก็ย่อมทำให้หายใจหอบเหนื่อยขึ้น • เมื่อหอบเหนื่อยก็ยิ่งทำให้เบื่ออาหาร • จนในที่สุดวงจรนี้ก็ทำให้น้ำหนักตัวลดลงไปเรื่อยๆ

  12. Emphysema มักผอมและน้ำหนักลดลงเรื่อยๆ • Chronic Bronchitis มักอ้วนหรือน้ำหนักปกติแต่เมื่อเข้าสู่ระยะท้ายของโรคก็มักมีน้ำหนักลดลง • ถ้าผู้ป่วยอ้วนก็ยิ่งต้องใช้พลังงานมากขึ้นในการหายใจ

  13. COPD &Body composition • FFM ลดลง ทำให้ออกแรงลำบาก • FFMที่ลดลง คือ ผู้ชาย - BMI< 16 กก/มม 2 ผู้หญิง - BMI < 15 กก/มม 2

  14. Chronic Bronchitis • มี FFMลดลง + fat mass เพิ่มขึ้น • ทำให้น้ำหนักลดลงไม่มากหรือไม่มีน้ำหนักลดลงเลย • เพราะมีไขมันเพิ่มนั่นเอง

  15. Emphysema • มี BMI ,FFM และ fat mass ต่ำกว่าchronic bronchitis

  16. COPD &Ventilation • ระบบการหายใจในทารก พบว่าเมื่อให้อดอาหารนาน10วันจะไม่มีการตอบสนองต่อhypoxic drive • หลังจากกลับมาให้อาหาร5วันก็พบว่าการตอบสนองต่อhypoxic driveกลับมาเป็นปกติ • ดังนั้นภาวะขาดอาหารทำให้emphysemaมีการตอบสนองต่อhypoxic driveแย่ลงจนอาจเกิดการหายใจล้มเหลวได้

  17. COPD & Bone • ผู้ป่วยมักได้รับสเตียรอยด์รักษาซึ่งทำให้เกิดกระดูกพรุนได้ และกระดูกหักง่าย • จากการศึกษาที่ตีพิมพ์ในวารสารCHESTในเดือนกุมภาพันธ์ คศ.2002พบว่า 36-60%ของผู้ป่วยโรคCOPDจะมีภาวะกระดูกพรุน

  18. สาเหตุกระดูกพรุน • สูบบุหรี่ • ขาดวิตามินดี • ขาดสารอาหาร • BMIต่ำ • การไม่ออกแรง

  19. COPD & Appetite • มีอาการเบื่ออาหาร-เสี่ยงต่อการเกิดน้ำหนักลดและทุพโภชนาการ • ภาวะทุพโภชนาการ คือได้รับอาหารที่ให้พลังงาน โปรตีนและสารอาหารมากหรือน้อยเกินไปจนมีผลกระทบต่อร่างกาย

  20. ภาวะทุพโภชนาการ • ทำให้ปอดทำงานไม่ดี • ร่างกายง่ายต่อการติดเชื้อ • ออกแรงแล้วเหนื่อยง่าย • ทำให้มีอัตราตายและพิการสูง

  21. สาเหตุที่COPD มักขาดอาหาร • เหนื่อยมากจนกลืนหรือเคี้ยวไม่ไหว • การหายใจทางปากบ่อยๆก็ทำให้ • มีเสมหะมากในลำคอ • ไอบ่อย • อ่อนแรง อ่อนเพลีย • ปวดศีรษะตอนเช้าหรือสับสนเนื่องจากมี คาร์บอนไดออกไซด์คั่งในเลือด( hypercapnia ) • เบื่ออาหาร ลิ้นรู้รสไม่ดี • ซึมเศร้า • ผลข้างเคียงของยา

  22. การรักษาด้วยอาหารก็เพื่อให้พลังงานชดเชยการรักษาด้วยอาหารก็เพื่อให้พลังงานชดเชย • จะไม่มีน้ำหนักลดลง • ไม่สูญเสีย fat free mass • ป้องกันภาวะขาดสารอาหาร • ปอดทำงานดีขึ้น

  23. ผู้ป่วยโรคCOPDมักมีโรคอื่นร่วมด้วยผู้ป่วยโรคCOPDมักมีโรคอื่นร่วมด้วย • โรคหัวใจขาดเลือด • หัวใจวาย • กระดูกพรุน • ซีด • มะเร็งปอด • ซึมเศร้า • เบาหวาน • ต้อกระจก ซึ่งต้องตัดสินใจมากขึ้นในการปรับอาหารให้เหมาะสม

  24. ผู้ป่วยโรคCOPDควรกินอาหารเพื่อผู้ป่วยโรคCOPDควรกินอาหารเพื่อ • ให้มีน้ำหนักคงที่ • ให้กล้ามเนื้อหายใจทำงานได้ดี • เสริมภูมิคุ้มกันเพื่อต่อต้านกับเชื้อโรค

  25. Respiratory Quotient (RQ) • การให้อาหารได้เหมาะสมจะช่วยลดระดับแกสคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือดและการหายใจดีขึ้น ซึ่งrespiratory quotient (RQ) = ปริมาณแกสคาร์บอนไดออกไซด์ที่ผลิตขึ้น/ปริมาณออกซิเจนที่ใช้ไป • คาร์โบไฮเดรต ไขมัน และโปรตีน จะถูกเผาผลาญเพื่อให้เกิดพลังงาน พร้อมทั้งได้เป็นคาร์บอนไดออกไซด์และน้ำออกมา

  26. Respiratory Quotient (RQ) RQแตกต่างกันไปในอาหารแต่ละประเภท • RQของคาร์โบไฮเดรต =1 • RQของโปรตีน=0.8 • RQของไขมัน=0.7

  27. การกินอาหารที่มีไขมันสูงและคาร์โบไฮเดรตต่ำจะลดRQการกินอาหารที่มีไขมันสูงและคาร์โบไฮเดรตต่ำจะลดRQ • นั่นคือ ลดการผลิตแกสคาร์บอนไดออกไซด์ ในผู้ป่วย

  28. ผู้ป่วยที่มักหอบเหนื่อยหรือมีระดับคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือดสูงภายหลังจากทานอาหารที่มีสัดส่วนของคาร์โบไฮเดรตสูงก็ควรเปลี่ยนเป็นกินอาหารที่มีสัดส่วนของไขมันสูงแทนผู้ป่วยที่มักหอบเหนื่อยหรือมีระดับคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือดสูงภายหลังจากทานอาหารที่มีสัดส่วนของคาร์โบไฮเดรตสูงก็ควรเปลี่ยนเป็นกินอาหารที่มีสัดส่วนของไขมันสูงแทน

More Related