1 / 18

โครงการวิจัย ทดสอบ ระบบผลิตไฮโดรเจนจากน้ำใช้ในรถยนต์และ

ความเป็นมาและแนวทางการดำเนินงานเครือข่ายพัฒนาพลังงานไฮโดรเจน. โครงการวิจัย ทดสอบ ระบบผลิตไฮโดรเจนจากน้ำใช้ในรถยนต์และ กำหนดแนวทางพัฒนาเทคโนโลยีพลังงานไฮโดรเจนรองรับ แผนพัฒนาพลังงานทดแทน 15 ปี. โดย นายผดุงศักดิ์ อู่นนทกานต์. สิงหาคม 2554.

Download Presentation

โครงการวิจัย ทดสอบ ระบบผลิตไฮโดรเจนจากน้ำใช้ในรถยนต์และ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ความเป็นมาและแนวทางการดำเนินงานเครือข่ายพัฒนาพลังงานไฮโดรเจนความเป็นมาและแนวทางการดำเนินงานเครือข่ายพัฒนาพลังงานไฮโดรเจน โครงการวิจัย ทดสอบ ระบบผลิตไฮโดรเจนจากน้ำใช้ในรถยนต์และ กำหนดแนวทางพัฒนาเทคโนโลยีพลังงานไฮโดรเจนรองรับ แผนพัฒนาพลังงานทดแทน 15 ปี โดย นายผดุงศักดิ์ อู่นนทกานต์ สิงหาคม 2554

  2. วาระที่ 2.3 ความเป็นมาและแนวทางการดำเนินงานเครือข่ายพัฒนาพลังงานไฮโดรเจน • นโยบายส่งเสริมการใช้พลังงานทดแทนของประเทศให้ได้ร้อยละ 20.3 ของการใช้พลังงานขั้นสุดท้ายในปี พ.ศ. 2565 • เพื่อให้ทราบสถานภาพของการดำเนินงานด้านพลังงานไฮโดรเจนของหน่วยงานต่างๆ ที่มีอยู่ • เพื่อรวบรวมข้อมูลผลการศึกษาเช่นงานวิจัยและพัฒนาในอดีตที่ผ่านมา • เพื่อให้รับทราบถึงกิจกรรมของเครือข่ายพลังงานไฮโดรเจนและร่วมแสดงความคิดเห็น 2

  3. วาระที่ 2.3 ความเป็นมาและแนวทางการดำเนินงานเครือข่ายพัฒนาพลังงานไฮโดรเจน จัดทำเว็บไซด์ของเครือข่าย ประชุมจัดตั้งเครือข่าย #1 ดำเนินการโดยที่ปรึกษาในโครงการ • เผยแพร่ข้อมูล ข่าวสารที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีพลังงานไฮโดรเจน • แนวทางการดำเนินกิจกรรมของเครือข่าย • รับฟังข้อคิดเห็น/ข้อเสนอแนะ นำเสนอแนวทางการตั้งคณะกรรมการฯ • แนวทางจัดตั้งคณะกรรมการเครือข่าย จากหน่วยงานต่างๆ • บทบาท/หน้าที่ จัดตั้งคณะกรรมการฯ หาความร่วมมือจากหน่วยงานในประเทศ รับฟัง/เสนอแนะข้อคิดเห็น บทบาท/หน้าที่ของเครือข่าย • งานวิจัยและพัฒนา • ผู้ประกอบการเอกชน • เชื่อมโยงกับกลุ่มพลังงานทดแทนประเภทอื่น • เสนอแนะข้อคิดเห็นที่เหมาะสมให้ภาครัฐทั้งทางด้านนโยบายและการประยุกต์ใช้งาน แหล่งข้อมูลที่สำคัญ เผยแพร่/ประชาสัมพันธ์ หาความร่วมมือจากต่างประเทศ

  4. วาระที่ 2.3 ความเป็นมาและแนวทางการดำเนินงานเครือข่ายพัฒนาพลังงานไฮโดรเจน เครือข่าย กิจกรรมเครือข่าย เครือข่าย เงินสนับสนุนกิจกรรม ข้อเสนอแนะ กิจกรรมรองรับแผน15 ปี H2 100,000 กก. งานวิจัยและพัฒนา โครงสร้างพื้นฐาน มาตรฐาน ส่งเสริมการใช้ ผลิตไฮโดรเจน ระบบส่งจ่ายไฮโดรเจน สถานีเติม การผลิต/จัดเก็บ/การใช้ ปี2560-2565 ผลิตไฟฟ้า คมนาคมขนส่ง ระบบท่อ กระบวนการทางความร้อน เครื่องยนต์สันดาปภายใน รถบรรทุก อิเลคโตรไลซิส Transition Demo Bus เซลล์เชื้อเพลิง เซลล์เชื้อเพลิง แผนระยะยาว แผนขับเคลื่อน ส่งเสริมเทคโนโลยีพลังงานทดแทนใหม่ๆที่มีความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์รวมถึงการขยายผล Green City และพลังงานชุมชนและสนับสนุนให้ประเทศไทยเป็นศูนย์ส่งออกเชื้อเพลิงชีวภาพและการส่งออกเทคโนโลยีพลังงานทดแทนในภูมิภาคอาเซียน จัดตั้งเครือข่ายพลังงานทดแทนเพื่อเป็นกลไกในการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้

  5. วาระที่ 2.3 ความเป็นมาและแนวทางการดำเนินงานเครือข่ายพัฒนาพลังงานไฮโดรเจน แนวทางการจัดตั้งคณะกรรมการฯ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัย กลุ่มผู้ผลิตไฮโดรเจน กลุ่มผู้ผลิตรถยนต์ กลุ่มผู้ผลิตชิ้นส่วนและอุปกรณ์ต่อเนื่อง หน่วยงานมาตรฐานและความปลอดภัย ผู้ผลิต/นำเข้ารถยนต์ โรงงานผลิตชิ้นส่วน/อุปกรณ์ หน่วยงานสนับสนุน ผลิตก๊าซอุตสาหกรรม/ก๊าซที่ได้จากกระบวนการ สถาบันมาตรฐานและการทดสอบ สนับสนุนการผลิต การจัดเก็บ การขนส่งและการใช้ไฮโดรเจน สนับสนุนการผลิต ชิ้นส่วนรถยนต์ หน่วยงานวิจัย

  6. วาระที่ 2 กิจกรรมของเครือข่าย วาระที่ 2.3 ความเป็นมาและแนวทางการดำเนินงานเครือข่ายพัฒนาพลังงานไฮโดรเจน แนวทางการจัดตั้งคณะกรรมการฯ พิจารณาผู้ทรงคุณวุฒิจากหน่วยงานในกลุ่มที่เกี่ยวข้องต่างๆ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัย กลุ่มผู้ผลิตไฮโดรเจน กลุ่มผู้ผลิตรถยนต์ กลุ่มผู้ผลิตชิ้นส่วนและอุปกรณ์ต่อเนื่อง หน่วยงานมาตรฐานและความปลอดภัย จำนวน 205 15 >100 8 หน่วยงาน จำนวน 41 2 2 3 คน เป้าหมาย รวม 12 คน

  7. วาระที่ 2 กิจกรรมของเครือข่าย วาระที่ 2.3 ความเป็นมาและแนวทางการดำเนินงานเครือข่ายพัฒนาพลังงานไฮโดรเจน รายชื่อกลุ่มงานส่งเสริมงานวิจัย • กลุ่มส่งเสริมและสนับสนุน • สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) • สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) • ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ (เอ็มเทค) • สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) • สถาบันวิจัยและเทคโนโลยี การปิโตเลียมแห่งประเทศไทย (ปตท.) • การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) • กรมขนส่งทางบก • กรมธุรกิจพลังงาน • สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) • กองพลังงานทดแทน กรมการพลังงานทหาร ศูนย์การอุตสาหกรรมป้องกันประเทศและพลังงานทหาร • กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน • อื่นๆ

  8. วาระที่ 2.3 ความเป็นมาและแนวทางการดำเนินงานเครือข่ายพัฒนาพลังงานไฮโดรเจน • กลุ่มผู้วิจัยและพัฒนา • สถาบันวิจัยพลังงาน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี • มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ • บัณฑิตวิทยาลัยร่วมด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม (JGSEE) • มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ • มหาวิทยาลัยมหิดล • มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ • มหาวิทยาลัยพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง • มหาวิทยาลัยพระจอมเกล้าธนบุรี • มหาวิทยาลัยนเรศวร • มหาวิทยาลัยขอนแก่น • มหาวิทยาลัยบูรพา • บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) • สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร • มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ศูนย์รังสิต • อื่นๆ • บริษัทเอกชน • บริษัท คลีนฟูเอล เอ็นเนอร์ยี เอ็นเตอร์ไพร้ส์ จำกัด สถาบันการศึกษา

  9. วาระที่ 2.3 ความเป็นมาและแนวทางการดำเนินงานเครือข่ายพัฒนาพลังงานไฮโดรเจน ตัวอย่างงานวิจัยและพัฒนาที่ผ่านมาของประเทศไทย 9

  10. วาระที่ 2.3 ความเป็นมาและแนวทางการดำเนินงานเครือข่ายพัฒนาพลังงานไฮโดรเจน ตัวอย่างงานวิจัยและพัฒนาที่ผ่านมาของประเทศไทย 10

  11. วาระที่ 2.3 ความเป็นมาและแนวทางการดำเนินงานเครือข่ายพัฒนาพลังงานไฮโดรเจน ตัวอย่างงานวิจัยและพัฒนาที่ผ่านมาของประเทศไทย 11

  12. วาระที่ 2.3 ความเป็นมาและแนวทางการดำเนินงานเครือข่ายพัฒนาพลังงานไฮโดรเจน รายชื่อกลุ่มผู้ผลิตไฮโดรเจน • บริษัท ไทยอินดัสเตรียล แก๊ส จำกัด (มหาชน) • บริษัท บางกอกอินดัสเทรียลแก๊ส จำกัด • บริษัท แอร์ ลิควิด (ประเทศไทย) จำกัด • บริษัท แอร์โปรดัคส์ อินดัสตรีย์ จำกัด • บริษัท แพรกซ์แอร์ ( ประเทศไทย ) จำกัด

  13. วาระที่ 2.3 ความเป็นมาและแนวทางการดำเนินงานเครือข่ายพัฒนาพลังงานไฮโดรเจน รายชื่อกลุ่มผู้ผลิตรถยนต์ • บริษัท เจนเนอรัล มอเตอร์ส (ประเทศไทย) จำกัด • บริษัท โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย จำกัด • บริษัท ทาทา มอเตอร์ส (ประเทศไทย) จำกัด • บริษัท ฮอนด้า ออโตโมบิล (ประเทศไทย) จำกัด • บริษัท สยามนิสสัน ออโตโมบิล จำกัด • บริษัท มิตซูบิชิ มอเตอร์ส (ประเทศไทย) จำกัด • บริษัท ออโต้อัลลายแอนซ์ (ประเทศไทย) จำกัด • บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จำกัด (มหาชน) • บริษัท วอลโว คาร์ ประเทศไทย จำกัด • บริษัท ธนบุรีประกอบรถยนต์ จำกัด • บริษัท บีเอ็มดับเบิลยู แมนูแฟคเจอริ่ง (ประเทศไทย) จำกัด • บริษัท อีซูซุมอเตอร์ (ประเทศไทย) จำกัด • บริษัท เดมเลอร์ไครสเลอร์ (ประเทศไทย) จำกัด • บริษัท มาสด้า เซลส์ (ประเทศไทย) จำกัด • อื่นๆ

  14. วาระที่ 2.3 ความเป็นมาและแนวทางการดำเนินงานเครือข่ายพัฒนาพลังงานไฮโดรเจน รายชื่อกลุ่มหน่วยงานมาตรฐานและความปลอดภัย • สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม • สมาคมอุตสาหกรรมยานยนต์ไทย • สมาคมผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ไทย • สมาคมวิศวกรรมยานยนต์ไทย • สถาบันไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ • กรมธุรกิจพลังงาน • กรมขนส่งทางบก • กรมควบคุมมลพิษ • อื่นๆ

  15. วาระที่ 2.3 ความเป็นมาและแนวทางการดำเนินงานเครือข่ายพัฒนาพลังงานไฮโดรเจน องค์ประกอบของคณะกรรมการฯ • ประธานคณะกรรมการ 1 ท่าน • คณะกรรมการ 10 ท่าน • เลขานุการ 1 ท่าน • วาระของคณะกรรมการ 3 ปี

  16. วาระที่ 2.3 ความเป็นมาและแนวทางการดำเนินงานเครือข่ายพัฒนาพลังงานไฮโดรเจน บทบาท/หน้าที่คณะกรรมการฯ • กำหนดวิสัยทัศน์ และพันธกิจของเครือข่าย • เรียกประชุมเพื่อติดตามความคืบหน้าของเครือข่าย • ข้อคิดเห็น/เสนอแนะ

  17. วาระที่ 2.3 ความเป็นมาและแนวทางการดำเนินงานเครือข่ายพัฒนาพลังงานไฮโดรเจน การจัดทำ Website • แหล่งข้อมูลงานวิจัยและพัฒนา • ปรับปรุงข้อมูลให้ทันสมัยจากสมาชิกของกลุ่มต่างๆ • เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารหรือกิจกรรมของกลุ่ม • รับฟังข้อคิดเห็น/ข้อเสนอแนะ • เชื่อมโยงกับหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง

  18. วาระที่ 2.3 ความเป็นมาและแนวทางการดำเนินงานเครือข่ายพัฒนาพลังงานไฮโดรเจน การจัดทำ Website ตัวอย่าง

More Related