1 / 39

การทำโครงงานวิจัยของเยาวชน ความคาดหวังของนักวิจัยอาวุโส

การทำโครงงานวิจัยของเยาวชน ความคาดหวังของนักวิจัยอาวุโส. ศาสตราจารย์ ดร.ถิรพัฒน์ วิลัยทอง ศูนย์วิจัยนิวตรอนพลังงานสูง มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และสมาคมฟิสิกส์ไทย ชุมนุมสมาชิก JSTP (สวทช) 4 พฤษภาคม 2549. ความฝันอันสูงสุด.

walter
Download Presentation

การทำโครงงานวิจัยของเยาวชน ความคาดหวังของนักวิจัยอาวุโส

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การทำโครงงานวิจัยของเยาวชน ความคาดหวังของนักวิจัยอาวุโส ศาสตราจารย์ ดร.ถิรพัฒน์ วิลัยทอง ศูนย์วิจัยนิวตรอนพลังงานสูง มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และสมาคมฟิสิกส์ไทย ชุมนุมสมาชิก JSTP (สวทช) 4 พฤษภาคม 2549

  2. ความฝันอันสูงสุด

  3. ตัวอย่างสิ่งประดิษฐ์และเทคโนโลยี ที่นักฟิสิกส์ได้คิดค้นขึ้นมา ซึ่งมีผลกระทบต่อสังคมปัจจุบันอย่างมหาศาล ได้แก่ • Transistor (~1950) • Laser (~1960) • World Wide Web (~1980)

  4. วิทยาศาสตร์ ความรู้ทั่วไป มัธยมปลาย ปริญญาตรี ปริญญาเอก วิทยาศาตร์กับประเทศไทย ฐาน เครื่องมือ(TOOL) เทคโนโลยี ความรู้เฉพาะเจาะจง เทคโนโลยีระดับต่ำ เทคโนโลยีระดับกลาง เทคโนโลยีระดับสูง วิทยาศาสตร์กายภาพวิทยาศาสตร์ชีวภาพ ฟิสิกส์ คณิตศาสตร์ ชีววิทยา

  5. Nature : consists of very large objects to very small ones and in time scale from very long to very short durations Galaxy Solar System Earth Human DNA Atom 1020 m 1011 m 106 m 1.8 m 2 nm0.1 nm Space scale years minutes sec msec (10-3) nsec (10-9) fsec(10-15) Time scale Modern Science :provides tools for a better understanding of nature

  6. Probes to observe nature in space and time domains Neutron Ion Electron Photon Electron Proton + Neutron Photon Ion Particle accelerators are used to generate these probes

  7. โครงสร้างพื้นฐานของเครื่องเร่งอนุภาค (accelerator)

  8. ภาคประชาชนพลังงานNanoscience, Electrochemistry การเกษตร การแพทย์Biology, Biochemistry, Biophysics ภาคเอกชนเส้นใยสิ่งทอ อัญมณีPolymer science, Physics ชิ้นส่วนเครื่องมือกลIon–plasma physics ยานยนต์Combustion science ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์Solid–state physics, Optoelectronics เปโตรเคมีOrganic chemistry ตลาดหุ้นStatistical physics ภาคองค์ความรู้ใหม่ การกำเนิดชีวิตatto science (10-18 sec) กลไกการเกิดปฏิกิริยาfemto science (10-15 sec) ทางเคมีและชีววิทยา Photon science วิทยาศาสตร์กับประเทศไทย คลัสเตอร์ที่สำคัญวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง

  9. Fuel Cell

  10. Mercedes-Benz Citaro city bus,Spain

  11. แหล่งพลังงานสำหรับอุปกรณ์อิเล็คโทรนิคส์และคอมพิวเตอร์แหล่งพลังงานสำหรับอุปกรณ์อิเล็คโทรนิคส์และคอมพิวเตอร์ Prototype DMFC NEC Notebook PC (Showing removeable cartridge for methanol fuel refilling)

  12. แหล่งพลังงานสำหรับอุปกรณ์อิเล็คโทรนิคส์และคอมพิวเตอร์แหล่งพลังงานสำหรับอุปกรณ์อิเล็คโทรนิคส์และคอมพิวเตอร์ Motorola cell phone prototype that uses a direct methanol fuel cell.

  13. What is Femtosecond Pulses? 1 femtosecond= 0.000000000000001 second(10-15 sec) or In 1 femtosecondlight will travel only 0.3 micrometer เวลาในเรือนเฟมโตวินาที เป็นสเกลเวลาของการเกิดปฏิกริยาเคมี และเป็นสเกลเวลาของการเคลื่อนที่สัมพัทธ์ของอิเล็กตรอนและนิวเคลียสในโมเลกุล : - เมื่อเกิดการฟอร์มหรือการแยกออกของพันธะทางเคมีในระหว่างการเกิดปฏิกริยา - เมื่อโมเลกุลเกิดการจัดเรียงตัวเป็นโมเลกุลใหม่ - เมื่อมีการส่งผ่านพลังงานจากโมเลกุลหนึ่งไปยังอีกโมเลกุลหนึ่ง

  14. Femtosecond electron pulses -ใช้ในการผลิต : - Intense far infrared radiation (Transition radiation) - Femtosecond X-ray pulses (Parametric x-ray) Transition Radiation (TR): Parametric X-rays (PXR) TR

  15. Intense Far Infrared (FIR) Radiation - ใช้ในการทำงานวิจัยทางด้าน วัสดุศาสตร์, วิทยาการเชิงพื้นผิว (Surface Science) , ชีวฟิสิกส์ ฯลฯ  ใช้ในการวัดค่าดัชนีหักเหเชิงซ้อนของวัสดุ - เข้าไปดูความเป็นไปของโมเลกุลในเซลล์ชีวภาพ - เหมาะสำหรับใช้ในการดูพลศาตร์เชิงกลระดับโมเลกุล  ศึกษาพลศาสตร์เชิงกลของDNA ที่ความถี่ต่ำ

  16. Femtosecond X-ray Pulses - ศึกษาพลศาสตร์เชิงกลระดับอะตอม เช่น การหลอมเหลวของของแข็งที่ใช้เวลาอยู่ในช่วงน้อยกว่า 10-12 วินาที แสดงขั้นตอนในการหลอมเหลวของอะตอมของแข็งอลูมิเนียมไปสู่ของเหลวในช่วงเวลา 3.5x 10-12 วินาที(Siwick at al. 2003)

  17. Femtosecond Electron Beam Facility (SURIYA Facility) โครงการสุริยาเพื่อพัฒนาลำอิเล็กตรอนสัมพัทธภาพที่มีห้วงความยาวอยู่ในเรือนเฟมโตวินาที

  18. SURIYA Beamline alpha magnet 30 MeV linac RF-gun quadrupole magnet

  19. An application of low energy ion beam in Biotechnology and Agriculture Chiang Mai University Lawrence Berkeley National Laboratory, USA

  20. Ion Implanter Ion source Mass analyzing magnet Target chamber

  21. การระดมยิงวัสดุด้วยลำไอออนมวลหนัก (heavy ion) เป้าลำไอออนมวลหนัก                               พิสัยของไอออนในเป้าขึ้นอยู่กับชนิดของเป้าและพลังงานไอออน

  22. การประยุกต์ - การถ่ายโอน DNA - การเหนี่ยวนำให้เกิดการกลายพันธ์ การระดมยิงเซลล์ด้วยลำไอออนมวลหนัก เซลล์พืชลำไอออนมวลหนัก   

  23. ภาพผนังเซลล์หลังจากถูกยิงด้วยลำไอออนโดยใช้กล้องแรงอะตอม(AFM)ภาพผนังเซลล์หลังจากถูกยิงด้วยลำไอออนโดยใช้กล้องแรงอะตอม(AFM) 1.0 mm

  24. การปรับปรุงพันธ์ข้าวหอมมะลิ : - ต้องการสายพันธ์ที่ไม่ไวแสงและต้นเตี้ย (KDML 105)

  25. พลาสมานาโนฟิสิกส์ : • การทำเซลล์แสงอาทิตย์ • การปรับปรุงสมบัติเชิงผิวของสิ่งทอ ( ไหม, โพลีเอสเตอร์, ฝ้าย ฯลฯ)

  26. การปรับปรุงสมบัติเชิงผิวของวัสดุโดยใช้กระบวนการพลาสมานาโนการปรับปรุงสมบัติเชิงผิวของวัสดุโดยใช้กระบวนการพลาสมานาโน • เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม • เปลี่ยนแปลงเฉพาะชั้นผิวของวัสดุในระดับนาโนเมตรโดยไม่เปลี่ยนสมบัติโดยรวม • สามารถเชื่อมต่อโมเลกุลแบบสายโซ่ยาวเข้าด้วยกัน

  27. กระบวนการเกิดพลาสมา Fast e- gas Ionized e, ion Excited Light Dissociated Radicals molecules Radiation activated etching Grafting Deposition material

  28. การปรับปรุงสมบัติเชิงผิวของผ้าไหมไทยโดยกระบวนการพลาสมานาโนการปรับปรุงสมบัติเชิงผิวของผ้าไหมไทยโดยกระบวนการพลาสมานาโน Plasma Plasmachamber Matching network

  29. การทดลองหยดน้ำ (Home textile) 30 วินาที หลังจากหยดน้ำ ไม่ได้ผ่านการอาบพลาสมา ผ่านการอาบพลาสมา

  30. การทดลองหยดน้ำ(Garment Textile) 30 วินาทีหลังจากหยดน้ำ ไม่ได้ผ่านการอาบพลาสมา ผ่านการอาบพลาสมา

  31. การอาบผิวกระดาษด้วยพลาสมานาโนการอาบผิวกระดาษด้วยพลาสมานาโน กล่องกระดาษลูกฟูก กระดาษซองจดหมาย

  32. Elbert Einstein (1879-1955) Stephen Hawking (1942) KNOWLEDGEABLE (รู้ฟิสิกส์) Max Planck (1858-1947) Niels Bore (1885-1962) Isaac Newton (1642-1727) Galileo Galilei (1564-1642)

  33. DOWN TO EARTH (ติดดิน)

  34. DIGITAL (มนุษย์ชอบบิท)

  35. OUT SOURCING (รู้จักใช้ของคนอื่น)

More Related