1 / 100

กรมอนามัย สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ

กรมอนามัย สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ พัฒนากลยุทธ์การปรับปรุงองค์กรเพื่อสนับสนุนการส่งเสริมสุขภาพประชาชน เอกสารประกอบสัมมนากลยุทธ์ กุมภาพันธ์ 2005. หัวข้อเอกสาร. เกี่ยวกับสัมมนา หน้าที่ 3 เกี่ยวกับการบริหารเชิงกลยุทธ์ 8

wayne-kim
Download Presentation

กรมอนามัย สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กรมอนามัย สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ พัฒนากลยุทธ์การปรับปรุงองค์กรเพื่อสนับสนุนการส่งเสริมสุขภาพประชาชน เอกสารประกอบสัมมนากลยุทธ์ กุมภาพันธ์ 2005

  2. หัวข้อเอกสาร • เกี่ยวกับสัมมนา หน้าที่ 3 • เกี่ยวกับการบริหารเชิงกลยุทธ์ 8 • เกี่ยวกับ Value Chain 50 • Value Chain ของการส่งเสริมสุขภาพ 70 • การพัฒนา Value Chain 76 • เกี่ยวกับที่ปรึกษา 94

  3. เกี่ยวกับสัมมนา 1 พัฒนากลยุทธ์การปรับปรุงองค์กรเพื่อสนับสนุนการส่งเสริมสุขภาพประชาชน

  4. ความคาดหวัง สภาพแวดล้อมของกรมฯ วัตถุประสงค์ เป้าหมาย • การตอบสนองความคาดหวังของผู้ที่มีผลประโยชน์ร่วม • ความสามารถในการดำเนินงาน • การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง • การกำหนดกลยุทธ์การปรับปรุงการดำเนินงาน • การจัดทำแผนการปรับปรุงการดำเนินงาน • การบริหารความเปลี่ยนแปลงของกรมฯ โดยรวม หน่วยงานทุกระดับมีส่วนร่วม

  5. ขั้นตอนของสัมมนา สัมมนากลยุทธ์ สัมมนา Value Chain วันที่ 1-2 วันที่ 3-4 วิเคราะห์กลยุทธ์ เลือกกลยุทธ์ ดำเนินกลยุทธ์ - ทบทวนสภาพแวดล้อมภายนอก/ใน - ทบทวนผลการดำเนินงาน/มองอนาคต - จัดตั้งกระบวนการ - กำหนดวัตถุประสงค์หลัก - กำหนดกลยุทธ์หลัก - วางแผนกลยุทธ์พัฒนา ความสามารถ แผนกลยุทธ์ Value Chain/กระบวนการ กรอบกลยุทธ์ - ความท้าทายเชิงกลยุทธ์ - แผนที่กลยุทธ์ - วัตถุประสงค์/หน่วยชี้วัด - วิสัยทัศน์/พันธกิจ - เป้าประสงค์/ยุทธศาสตร์ - กลยุทธ์/ประเด็นการปรับปรุง-Value Chain โดยรวม - ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและความคาดหวัง - เป้าหมายและหน่วยชี้วัดผลลัพธ์/กระบวนการ - การควบคุมกระบวนการ - แผนการปรับปรุงกระบวนการ/การบริหารการ เปลี่ยนแปลง

  6. กำหนดการณ์ของสัมมนา ช่วงบ่าย วันที่ ช่วงเช้า 1 13.00-14.30 ทบทวนผลงานในอดีต กิจกรรมกลุ่ม 14.30-14.45 พัก (3) 14.45-16.30 คาดการณ์อนาคตกิจกรรมกลุ่มสรุปผล 09.00-09.15 ผู้บริหารกล่าวเปิดสัมมนา09.15-09.30 ชี้แจงกำหนดการณ์09.30-10.15 ทบทวนสภาพภายนอก กิจกรรมกลุ่ม10.15-10.30 พัก (1) 10.30-12.00 ทบทวนสภาพภายใน กิจกรรมกลุ่ม 12.00-13.00 พัก (2) 2 13.00-15.00 กำหนดกลยุทธ์กิจกรรมกลุ่มพัก (3) 15.00-16.30 จัดทำ TQA Roadmap สรุปผล 09.00-09.15 ชี้แจงกำหนดการณ์09.15-09.45 ชี้แจงผลของวันที่ 109.45-12.00 จัดทำกรอบกลยุทธ์ พัก (1) 12.00-13.00 พัก (2)

  7. กำหนดการณ์(ต่อ) ช่วงบ่าย วันที่ ช่วงเช้า 3 13.30-14.45 กิจกรรมกลุ่ม: กำหนดความต้องการ 14.45-15.00 พัก (3) 15.00-16.30 กิจกรรมกลุ่ม: กำหนดกลุ่มงาน สรุปผล 09.00-09.15 ชี้แจงกำหนดการณ์09.15-09.30 ชี้แจงผลของวันที่ 209.30-09.45 อธิบาย ValueChain09.45-10.30 ชี้แจง Value Chain ของระบบการส่ง เสริมสุขภาพ พัก (1) 10.30-12.00 กิจกรรมกลุ่ม: กำหนดความต้องการ 12.00-13.00 พัก (2) 4 13.30-14.00 ชี้แจงการเชื่อมประสาน กระบวนการ 14.00-15.00 กิจกรรมกลุ่ม: การปรับปรุงกระบวนการ พัก (3) 15.00-16.30 กิจกรรมกลุ่ม: จัดทำ TQA Roadmap สรุปผลชี้แจงงานในขั้นต่อไป 09.00-09.15 ชี้แจงกำหนดการณ์09.15-09.45 ชี้แจงผลของวันที่ 309.45-11.00 กิจกรรมกลุ่ม: จัดลำดับงาน พัก (1) 11.00-12.30 กิจกรรมรวม: กำหนดกระบวนการ 12.30-13.30 พัก (2)

  8. เกี่ยวกับการบริหารเชิงกลยุทธ์เกี่ยวกับการบริหารเชิงกลยุทธ์ 2 พัฒนากลยุทธ์การปรับปรุงองค์กรเพื่อสนับสนุนการส่งเสริมสุขภาพประชาชน

  9. ภาพรวมของสัมมนากลยุทธ์ภาพรวมของสัมมนากลยุทธ์ เตรียมข้อมูล สัมมนากลยุทธ์ สรุปกลยุทธ์ - แผนยุทธศาสตร์กระทรวงฯ - การตรวจประเมินด้วย ตนเอง - ข้อมูลการดำเนินงานของ กรมฯ - ความท้าทายเชิงกลยุทธ์ - แผนที่กลยุทธ์ - วัตถุประสงค์/หน่วยชี้วัด - เป้าประสงค์/ยุทธศาสตร์ - กลยุทธ์/ประเด็นการ ปรับปรุง - วิสัยทัศน์/พันธกิจ - แผนกลยุทธ์/โครงการ - Value Chainโดยรวม - การกำหนดโครงสร้าง องค์กรรองรับ - การบริหารความ เปลี่ยนแปลง

  10. ขั้นตอนของสัมมนา สัมมนากลยุทธ์ วันที่1 วันที่ 2 เช้า บ่าย เย็น เช้า บ่าย เย็น ทบทวนสภาพ ภายนอก ทบทวนสภาพภายใน ทบทวนผล งานในอดีต กำหนดกลยุทธ์หลัก คาดการณ์อนาคต วิเคราะห์สภาพ ภายนอก วิเคราะห์ผลการดำเนินงาน ตรวจประเมินองค์กร กรอบกลยุทธ์ แผนกลยุทธ์ - Pest Analysis - Value Net Analysis - Impact Analysis - Self Assessment - TQA Roadmap - Gap Analysis - Strategy Map - Performance Projection - Roadmap - SWOT Analysis - Vision/Mission - Corporate Objectives - Balanced Scorecard

  11. ความหมายขององค์กรสมรรถนะสูงความหมายขององค์กรสมรรถนะสูง • เป็นองค์กรที่ถูกกำหนดให้ - มุ่งเน้นการใช้ประโยชน์จากศักยภาพของพนักงานสูงสุด - พัฒนาความสามารถขององค์กรที่ส่งผลต่อผลการดำเนินงาน ขององค์กร • เป็นองค์กรที่ให้ความสำคัญต่อบุคลากรก่อนสิ่งอื่นใด • มุ่งเน้นในสินทรัพย์ทางปัญญา โดยที่ถือว่าเป็นพื้นฐานขององค์กร และใช้กระบวนการเป็นเครื่องมือในการใช้ประโยชน์จากสินทรัพย์ทางปัญญานั้น

  12. ความหมาย (ต่อ) • เป็นองค์กรที่ออกแบบเพื่อสนับสนุกระบวนการธุรกิจโดยที่พนักงานมีส่วนร่วมอย่างเต็มที่ • มีโครงสร้างที่ยืดหยุ่นและปรับตัวได้ตามสถานการณ์ธุรกิจ • มีระดับชั้นในองค์กรน้อยเนื่องด้วยการใช้ทีมงานที่พนักงานบริหารกันเอง • มีหน่วยงานและทีมงานต่างๆ ที่เชื่อมโยงเป็นเครือข่ายทั่วทั้งองค์กร • พนักงานมีความเข้าใจในเป้าหมายขององค์กรในทุกมิติ

  13. องค์ประกอบสำคัญ • การมีส่วนร่วมของพนักงานในทุกระดับ • การจัดตั้งทีมงานที่สามารถวางแผน ดำเนินการ และประเมิน ผลงานได้ด้วยตนเอง • การพัฒนากระบวนการที่มีความยืดหยุ่นสูงโดยอาศัยเทคโนโลยีสารสนเทศ • การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ • การบริหารคุณภาพโดยรวม

  14. ความท้าทาย การเชื่อมประสานกระบวนการเปลี่ยนแปลงองค์กร ผลลัพธ์ ปัจจัยนำเข้า โอกาส/อุปสรรค วิสัยทัศน์ พันธกิจ กลยุทธ์ - การมีส่วนร่วมของพนักงานในทุกระดับ - การจัดตั้งทีมงานที่สามารถวางแผนดำเนิน การ และประเมินผลงานได้ด้วยตนเอง - การพัฒนากระบวนการที่มีความยืดหยุ่นสูง โดยอาศัยเทคโนโลยีสารสนเทศ - การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ - การบริหารคุณภาพโดยรวม - ประสิทธิผลและผลงาน - พนักงาน - กลุ่มงาน - องค์กร

  15. การบริหารการเปลี่ยนแปลงการบริหารการเปลี่ยนแปลง องค์กรที่มีสมรรถนะสูงมุ่งเน้นการเปลี่ยนแปลงตัวเอง จาก…สู่… การควบคุม การสร้างความเชื่อมั่น การผลิตสินค้า การผลิตความรู้ การตัดสินใจด้วยคนคนเดียว การตัดสินใจโดยทีมงาน รางวัลมุ่งเน้นพนักงานเป็นรายบุคคล รางวัลมุ่งเน้นทีมงาน โครงสร้างองค์กรมุ่งเน้นการสั่งการจากบน โครงสร้างองค์กรมุ่งเน้นการทำงานเป็นกระบวนการ โครงสร้างที่ตายตัว โครงสร้างที่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ องค์กรมีกำแพงระหว่างหน่วยงาน องค์กรไม่มีกำแพงระหว่างหน่วยงาน การเก็บข้อมูลธุรกิจเป็นความลับ การเปิดเผยข้อมูลธุรกิจให้พนักงานรับรู้ การตำหนิและการปรับปรุงมุ่งที่พนักงาน การหาข้อผิดพลาดและการปรับปรุงกระบวนการ

  16. กระบวนการพัฒนา 1 เตรียมการ 2วางแผน 3 ดำเนินการ 4 ทบทวน 1.1 ก่อตั้งโครงการ 1.2 กำหนดวิสัยทัศน์ 1.3 ประเมินสภาพองค์กร 2.1 แผนการกลยุทธ์การพัฒนา ความสามารถ 2.2 แผนการปรับปรุงกระบวนการ 2.3 แผนปฏิบัติการในด้านต่างๆ 3.1 กำหนดทีมงาน 3.2 ถ่ายทอดสู่หน่วยงานย่อย3.3 ปรับเปลี่ยนกระบวนการ 4.1 ประเมินสภาพองค์กรใหม่ 4.2 นำเสนอผู้บริหาร

  17. ขั้นตอนการเตรียมการ 1 เตรียมการ 1.1 ก่อตั้งโครงการ เสริมสร้างการตระหนักในเรื่องคุณภาพ กำหนดขอบเขตของโครงการ กำหนดคณะทำงาน 1.2 กำหนดวิสัยทัศน์ กำหนดวิสัยทัศน์ กำหนดค่านิยมพื้นฐาน 1.3 ประเมินสภาพองค์กร จัดทำคลังทักษะ การจัดการ สัมภาษณ์ผู้บริหาร/พนักงาน สำรวจบรรยากาศ องค์กร สำรวจ กระบวนการโดยรวม วิเคราะห์ กระบวนการหลัก สำรวจความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงาน วิเคราะห์วิธีการตัดสินใจ สำรวจสภาพธุรกิจ โดยรวม เปรียบเทียบกับองค์กรภายนอก วิเคราะห์ สภาพทางการเงิน จัดทำรายงานการประเมินธุรกิจ

  18. ขั้นตอนการวางแผน 2 วางแผน 2.1 แผนการกลยุทธ์การพัฒนาความสามารถขององค์กร ประเมิน สภาพแวดล้อม กำหนดหัวข้อ กลยุทธ์คุณภาพ ทบทวนการดำเนินงานที่ผ่านมา จัดทำแผนกลยุทธ์ 2.2 แผนการปรับปรุงกระบวนการ ระบุปัจจัยสู่ ความสำเร็จ กำหนดเงื่อนไขใน การจัดตั้งทีมงาน จัดทำแผนปฏิบัติการ จัดลำดับกระบวนการ

  19. ขั้นตอนการปฏิบัติการ 3ดำเนินการ 3.1 กำหนดทีมงาน กำหนดสมาชิกของทีมกระบวนการ กำหนดสิ่งที่จะ ปรับปรุง กำหนดเจ้าของกระบวนการ กำหนดหลักการของ ทีมกระบวนการ 3.2 ถ่ายทอดสู่หน่วยงานย่อย กำหนดสิ่งที่จะ ปรับปรุง กำหนดบทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ระดมการสนับสนุน 3.3 ปรับเปลี่ยนกระบวนการ วัดผลกระบวนการ ปรับปรุงกระบวนการ กำหนดกระบวนการ วิเคราะห์กระบวนการ ควบคุมกระบวนการ

  20. ขั้นตอนการทบทวน 4 ทบทวน 4.1 ประเมินสภาพองค์กรใหม่ สรุปประเด็นปัญหา ที่พบเห็น จัดลำดับความสำคัญของปัญหา ประเมินสาเหตุ ของปัญหา ปรับแผนกลยุทธ์

  21. กลยุทธ์และการตัดสินใจเชิงกลยุทธ์กลยุทธ์และการตัดสินใจเชิงกลยุทธ์ • มีผลต่อทิศทางธุรกิจขององค์กร • เกี่ยวข้องกับความพยายามในการบรรลุความได้เปรียบในการแข่งขันขององค์กร • เกี่ยวข้องกับขอบเขตของธุรกรรมขององค์กร • เป็นการหาความสัมพันธ์ระหว่างธุรกรรมขององค์กรเข้ากับสภาพแวดล้อมทางธุรกิจ (Strategic Fit) • เป็นการพัฒนาเติมต่อและ “ขยาย” ทรัพยากรภายในองค์กรและความเชี่ยวชาญเพื่อสร้างโอกาสในธุรกิจ

  22. กลยุทธ์ (ต่อ) • อาศัยการเปลี่ยนแปลงทรัพยากรขององค์กร • มีผลต่อการตัดสินใจในการดำเนินงานประจำวัน • ได้รับผลกระทบจากสภาพแวดล้อมและความพร้อมของทรัพยากร รวมทั้งค่านิยมและความคาดหวังของบุคคลต่างๆทั้งภายในและภายนอกองค์กร

  23. ระดับของกลยุทธ์ ระดับของกลยุทธ์ เกี่ยวข้องกับจุดมุ่งหมายโดยรวมและขอบเขตของธุรกรรมขององค์กรเพื่อให้บรรลุความคาดหวังของเจ้าของหรือผู้ที่มีผลประโยชน์ร่วมทุกฝ่าย รวมทั้งสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับส่วนต่างๆ ภายในองค์กร กลยุทธ์ระดับองค์กร เกี่ยวข้องกับการแข่งขันในธุรกรรมให้ประสบผลสำเร็จ การเสริมสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน การสร้างโอกาสใหม่ๆ ในธุรกิจ การพัฒนาสินค้า/บริการใหม่ๆ และการบรรลุความต้องการของลูกค้าเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กร กลยุทธ์ระดับหน่วยธุรกิจ เกี่ยวข้องกับวิธีการของหน่วยงานภายในองค์กรใช้ทรัพยากร กระบวนการ และบุคลากรเพื่อให้บรรลุเป้าหมายขององค์กรและหน่วยธุรกิจต่างๆ กลยุทธ์ระดับดำเนินการ

  24. คำอธิบายความหมาย คำอธิบายความหมาย คำศัพท์ ความหมาย ตัวอย่าง พันธกิจ (Mission) วิสัยทัศน์ (Vision) วัตถุประสงค์ เป้าหมาย จุดมุ่งหมายโดยรวมที่สอดคล้องกับความคาดหวังของผู้ที่มีผลประโยขน์ร่วม ลักษณะขององค์กรที่จะเป็นในอนาคต ความใฝ่ฝันขององค์กร คำอธิบายโดยรวมของจุดมุ่งหมาย คำอธิบายในเชิงปริมาณของวัตถุประสงค์ • To ensure that British Airways is the customer’s first choice through the delivery of an unbeatable travel experience • To be a good neighbor, concerned for the community and the environment • To provide overall superior service and good value for money in every market segment in which we operate • To excel in anticipating and quickly responding to customer needs and competitor activity • To be the best and most successful company in the airline business • To build profitably the world’s premier global alliance, with a presence in all major world markets

  25. คำอธิบาย (ต่อ) คำอธิบายความหมาย คำศัพท์ ความหมาย ตัวอย่าง ความเชี่ยวชาญทางธุรกิจ กลยุทธ์ การควบคุม ทรัพยากร กระบวนการ หรือทักษะที่สร้างความได้เปรียบในธุรกิจ ทิศทางในระยะยาวขององค์กร การติดตามการดำเนินกลยุทธ์เพื่อให้ทราบประสิทธิผลและการปรับกลยุทธ์และการดำเนินการ • Anyone can fly airplanes, but few organizations can excel in serving people. Because it’s a competence that’s hard to build. It’s also hard for competitors to copy or match • To maintain our position in the position of the globalization of the airline industry… By the turn of the century almost eighty per cent of the world air travel will be based on 6 major markets in the world…British Airways’ strategy is geared to securing a significant presence in these markets • Continuing emphasis on consistent quality of customer service and the delivery to the marketplace of value for money • The marketplace performance unit tracks some 350 measures of performance, including aircraft cleanliness, punctuality, technical defects on aircraft, etc.

  26. ลักษณะโดยรวมของการบริหารเชิงกลยุทธ์ • แนวคิดความเหมาะสมเชิงกลยุทธ์ถือว่าการกำหนดกลยุทธ์เป็นการระบุโอกาสทางธุรกิจ และใช้ทรัพยากรเพื่อฉวยโอกาสนั้นๆ เพื่อให้ได้ซึ่งจุดตำแหน่งในธุรกิจ • แนวคิดการขยายความเชี่ยวชาญทางธุรกิจถือว่า ความสำเร็จของธุรกิจคือการเลือกกลยุทธ์เพื่อความเติบโตของธุรกิจบนพื้นฐานของความเชี่ยวชาญขององค์กรเพื่อสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันหรือการสร้างโอกาสใหม่ๆ ให้เกิดขึ้น โดยความเชี่ยวชาญนั้นได้รับการกำหนดและปรับใช้อย่างเหมาะสม

  27. ลักษณะโดยรวม (ต่อ) ลักษณะของการบริหารเชิงกลยุทธ์ มุมมองของกลยุทธ์ ความเหมาะสมต่อสภาพแวดล้อมการขยายความเชี่ยวชาญทางธุรกิจ พื้นฐานของกลยุทธ์ การพัฒนาความสามารถในการแข่งขัน กฎเกณฑ์ของการแข่งชัน การบริหารความเสี่ยง บทบาทของบริษัทแม่ ความเหมาะสมระหว่างโอกาสในธุรกิจและทรัพยากรขององค์กร การกำหนดจุดตำแหน่งทางธุรกิจที่เหมาะสม การสร้างความแตกต่างตามความต้องการของตลาด การค้นหาและรักษา Niche การมุ่งเน้นการบริหารสินค้า/ธุรกิจต่างๆ การส่งเสริมการกำหนดกลยุทธ์ของหน่วยงานต่างๆ การปรับใช้ทรัพยากรขององค์กรเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม การสร้างความแตกต่างบนพื้นฐานของความเชี่ยวชาญที่เหมาะสมกับตลาด การเปลี่ยนแปลงกฎเกณฑ์การแข่งขัน การมุ่งเน้นการบริหารความเชี่ยวชาญต่างๆ การมุ่งเน้นการพัฒนาความเชี่ยวชาญทางธุรกิจ

  28. ลักษณะโดยรวม (ต่อ) ลักษณะของการบริหารเชิงกลยุทธ์ การบริหารเชิงกลยุทธ์ การบริหารงานประจำวัน คลุมเครือ ซับซ้อน ครอบคลุมทั่งทั้งองค์กร เน้นหลักการ มุ่งเน้นสัมฤทธิผลในระยะยาว ชัดเจน มุ่งเน้นงานในระดับปฏิบัติการ มุ่งเน้นผลสำเร็จในระยะสั้น

  29. ประเด็นสำคัญ • เป็นวิธีวิเคราะห์และประเมินสภาพแวดล้อมทางธุรกิจ • เป็นวิธีการมองอนาคตขององค์กร • เป็นระบบการจัดตั้งและปรับปรุงแผนงาน • เป็นวิธีการที่ก่อให้เกิดการปรับปรุงแบบก้าวกระโดด • เป็นวิธีการกระจายหน้าที่งานทั่วทั้งองค์กร (Catchball) • เป็นวิธีการทำงานเป็นทีม • เป็นวิธีการปรับปรุงกระบวนการวางแผน

  30. ประเด็นสำคัญ (ต่อ) กระบวนการวางแผนทั่วไป กระบวนการวางแผนกลยุทธ์ • ไม่พิจารณาข้อเท็จจริง • ฉาบฉวยไม่เจาะจง • ไม่ทลายอุปสรรค • สับสนวกวน • เน้นหนักเปลี่ยนแปลงแต่ขาดการสนับสนุน • ใช้ข้อมูลจริง • มุ่งเน้นสิ่งสำคัญๆ • ตอบสนองต่อความเปลี่ยนแปลง • จัดลำดับอย่างเหมาะสม • เน้นการทำงานร่วมกัน • เน้นหนักในความน่าเชื่อถือ

  31. การปรับปรุง 2 แนวทาง การปรับปรุงอย่างก้าวกระโดด การปรับปรุง การปรับปรุงทั่วไป การปรับปรุงทีละน้อยการบริหารงานประจำวัน เวลา

  32. การปรับปรุง 2 แนวทาง (ต่อ) การปรับปรุงทั่วไป การปรับปรุงอย่างก้าวกระโดด • เน้นผลการดำเนินงานและการทบทวนการบริหารงานประจำวันที่จำเป็น • เป็นรากฐานของธุรกิจและการปรับปรุงอย่างก้าวกระโดด • การทบทวนกระบวนการใช้ Action Limit (ขอบเขตความแปรปรวนของผลลัพธ์) เพื่อช่วยในการจัดการความผิดปกติ โดยมีการวิเคราะห์หาสาเหตุและกำหนดวิธีการแก้ไข • อาศัยความร่วมมือของพนักงานทั่วทั้งองค์กร • เป็นเป้าหมายที่ตั้งไว้สูงที่การปรับปรุงทีละน้อยไม่สามารถบรรลุได้ แต่ไม่เกินการมองเห็นของผู้บริหาร • มุ่งเน้นวัตถุประสงค์สำคัญๆ 1-5 ข้อโดยทุกระดับในองค์กรต้องมีวิธีการรองรับ

  33. กระบวนการบริหารเชิงกลยุทธ์กระบวนการบริหารเชิงกลยุทธ์ การวิเคราะห์ กลยุทธ์ การเลือก กลยุทธ์ การดำเนิน กลยุทธ์ - การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม - ทรัพยากร ความเชี่ยวชาญ ทางธุรกิจ - ความคาดหวังของผู้ที่มีผล ประโยชน์ร่วมและ จุดมุ่งหมายขององค์กร - พื้นฐานของการเลือกกลยุทธ์ - ทางเลือกของกลยุทธ์ - การประเมินและการเลือก กลยุทธ์ - การออกแบบโครงสร้างองค์กร - การจัดสรรทรัพยากรและ การควบคุม - การบริหารความเปลี่ยนแปลง

  34. กระบวนการบริหารกลยุทธ์ (ต่อ) ระบบการ รายงานผล การวิเคราะห์กลยุทธ์ ทบทวนสภาพภายนอก ทบทวนสภาพภายใน การดำเนินกลยุทธ์ วางแผน ระยะยาว/กลาง ทบทวนผลงานในอดีต วางแผน ระยะสั้น ดำเนินการ ตามแผน ติดตามและ ควบคุม เตรียมการ คาดการณ์อนาคต กำหนดกลยุทธ์ การเลือกกลยุทธ์ การตัดสินใจ ของผู้บริหาร

  35. การวิเคราะห์กลยุทธ์ • เกี่ยวข้องกับการทำความเข้าใจในจุดตำแหน่งทางธุรกิจที่สัมพันธ์กับสภาพแวดล้อมภายนอก ทรัพยากรและความเชี่ยวชาญภายในองค์กร รวมทั้งความคาดหวังของผู้ที่มีผลประโยชน์ร่วมต่างๆ - มีความเปลี่ยนแปลงใดกำลังเกิดขึ้นในสภาพแวดล้อมภายนอก และผลกระทบต่อองค์กรเป็นอย่างไร - มีทรัพยากรและความเชี่ยวชาญภายในองค์กรใดบ้าง และสิ่ง เหล่านี้ช่วยเสริมสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันและเพิ่มโอกาส ทางธุรกิจอย่างไร? - ผู้ที่ผลประโยชน์ร่วมมีความเกี่ยวพันกับองค์กร และมีผลกระทบ ต่อทิศทางธุรกิจในอนาคตอย่างไร?

  36. การวิเคราะห์กลยุทธ์ (ต่อ) • มีจุดมุ่งหมายในการสร้างความเข้าใจในของแรงผลักดันต่างๆ ที่อาจจะมีผลต่อสภาพขององค์กรทั้งในปัจจุบันและอนาคต รวมทั้งมีโอกาสทางธุรกิจใดบ้างที่องค์กรจะสามารถได้ประโยชน์โดยการใช้ความเชี่ยวชาญขององค์กร

  37. การทบทวนสภาพภายนอก PEST Analysis การเมือง - กฎหมายป้องกันการผูกขาด - กฎหมายรักษาสิ่งแวดล้อม - ภาษี - กฎเกณฑ์การค้าระหว่างประเทศ - พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน - เสถียรภาพของรัฐบาล สังคม - โครงสร้างประชากร - การกระจายรายได้ - การเคลื่อนย้ายทางสังคม - รูปแบบการดำเนินชีวิต - ท่าทีต่อการการทำงานและการพักผ่อน - ลัทธิบริโภคนิยม - ระดับการศึกษา เศรษฐกิจ - วัฏจักรธุรกิจ - ระดับรายได้ประชาชาติ - อัตราดอกเบี้ย - สภาพคล่องในประเทศ - อัตราเงินเฟ้อ - อัตราการว่างงาน - ระดับรายได้ของประชากร - ราคาน้ำมันเชื่อเพลิง เทคโนโลยี - งบประมาณของประเทศในงานวิจัย - นโยบายภาครัฐต่อการพัฒนาเทคโนโลยี - นวัตกรรมใหม่ๆ - ระดับการถ่ายทอดเทคโนโลยี - ระดับความทันสมัยของเทคโนโลยี

  38. ขั้นตอนที่ 1: ทบทวนสภาพภายนอก • แบ่งกลุ่มตามมุมมอง Balanced Scorecard • กำหนดผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียและสถานการณ์ (โดยอาจระบุลักษณะของเหตุการณ์ พัฒนาการทีผ่านมา แนวโน้มในอนาคต) ที่เป็นมาจากผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียนั้น • ระบุผลกระทบอันเนื่องมาจากสถานการณ์นั้น และแปลงเป็นความท้าทายเชิงกลยุทธ์ (หรือสิ่งที่ต้องกระทำเพื่อจัดการกับผลกระทบ)

  39. ตาราง 1: ทบทวนสภาพภายนอก มุมมอง ตัวแปร สถานการณ์ ผลกระทบ ความท้าทายเชิงกลยุทธ์ สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ

  40. ขั้นตอนที่ 2: ทบทวนสภาพภายใน • แบ่งกลุ่มตามมุมมอง Balanced Scorecard • สรุปความท้าทายเชิงกลยุทธ์ลงในตาราง 2 • ระบุเกณฑ์ TQA ที่เกี่ยวข้องที่สามารถจัดการความท้าทายฯ โดยให้คะแนน • ระบุความสามารถของเกณฑ์ฯ จากผลการตรวจประเมินด้วยตนเองเป็นคะแนน • หาผลคูณระหว่างความท้าทายฯ และเกณฑ์ฯ ที่เกี่ยวข้อง และรวมคะแนนทั้งหมดของแต่ละเกณฑ์ฯ • จัดลำดับความสำคัญของเกณฑ์ฯ เพื่อทำการปรับปรุง

  41. ตาราง 2: ทบทวนสภาพภายใน การให้คะแนน ความท้าทายเชิงกลยุทธ์ ผลของเกณฑ์ต่อความท้าทาย 1 น้อย 3 ปานกลาง 5 มาก ความสามารถของเกณฑ์ 1 น้อย 3 ปานกลาง 5 มาก คะแนนรวม หมายเหตุ ลำดับความสำคัญ เกณฑ์ TQA ความสามารถ 1 2 3 4 5 6 7

  42. การเลือกกลยุทธ์ • เกี่ยวข้องกับการเข้าใจในพื้นฐานที่ช่วยกำหนดกลยุทธ์ในอนาคต การกำหนดและคัดเลือกกลยุทธ์ที่เป็นไปได้ต่างๆ • การกำหนดกลยุทธ์ - ในระดับองค์กร ให้พิจารณาความคาดหวังของผู้ที่มีผลประโยชน์ ร่วมและสะท้อนในพันธกิจขององค์กร - ในระดับหน่วยธุรกิจ ให้กำหนดพื่นฐานของความได้เปรียบในการ แข่งขันโดยพิจารณาจากตลาด ลูกค้า รวมทั้งความเชี่ยวชาญที่ หน่วยธุรกิจมี

  43. การเลือกกลยุทธ์ (ต่อ) • การกำหนดกลยุทธ์ - เกี่ยวข้องกับวิธีการกำหนดกลยุทธ์ที่เหมสะสมต่อองค์กร และการ พัฒนาความสามารถในการแข่งขันภายในองค์กรเอง หรือการ ร่วมมือกับองค์กรภายนอก • เกี่ยวข้องกับการคัดเลือกกลยุทธ์ที่เหมาะสม โดยพิจารณาจาก - ความเหมาะสมต่อจุดเด่น จุดด้อย โอกาส และอุปสรรค - ความพอดีต่อทรัพยากรและความสามารถภายในองค์กร รวมทั้ง การพัฒนาหรือ “ขยาย” ความสามารถเพื่อสร้างโอกาสในอนาคต - ความเป็นไปได้ในการนำกลยุทธ์ไปปฏิบัติ - การได้รับการยอมรับจากผู้ที่มีผลประโยชน์ร่วม

  44. ขั้นตอนที่ 3: ทบทวนผลงานในอดีต • แบ่งกลุ่มตามมุมมอง Balanced Scorecard • ระบุเป้าหมายของงานในปีที่ผ่านมาพร้อมด้วยระดับเป้าหมาย • ระบุผลลัพธ์การดำเนินงานที่เกิดขึ้นจริง รวมทั้งส่วนต่าง • วิเคราะห์หาสาเหตุของส่วนต่างด้วยผังก้างปลา พร้อมทั้งระบุความท้าทายเชิงกลยุทธ์หรือประเด็นการปรับปรุง • กำหนดอันดับของความท้าทายฯ (ระยะสั้น/กลาง/ยาว)

  45. ตาราง 3: ทบทวนผลงานในอดีต มุมมอง: วันที่ ผลต่างของเป้าหมาย ความท้าทาย เชิงกลยุทธ์ เป้าหมาย ระดับ ปีเป้าหมาย ปัญหาและสาเหตุ ระยะ % ผลลัพท์ ผลต่าง

  46. ขั้นตอนที่ 4: คาดการณ์อนาคต • แบ่งกลุ่มตามมุมมอง Balanced Scorecard • สรุปความท้าทายฯ จากตาราง 1, 2 และ 3 ในลักษณะแผนที่กลยุทธ์ • สรุปความท้าทายฯ หรือวัตถุประสงค์ หน่วยชี้วัดที่เกี่ยวข้อง ระดับเป้าหมายในอนาคต เจ้าของงาน และประเด็นกลยุทธ์ในตาราง 4 • สรุปข้อมูลทั้งหมดจากตาราง 4 โดยแยกเป็นมุมมองตาม Balanced Scorecard และกรอกลงในตาราง 5 และ 6

  47. ตาราง 4: คาดการณ์อนาคต มุมมอง: วันที่ ระดับเป้าหมาย วัตถุประสงค์/ ความท้าทายเชิงกลยุทธ์ หน่วยชี้วัด เจ้าของงาน ประเด็นกลยุทธ์ ระยะกลาง ระยะยาว ปัจจุบัน ระยะสั้น

  48. โครงสร้าง Balanced Scorecard ระดับกรม วิสัยทัศน์/พันธกิจ มุมมองการบริหาร ลูกค้า กระบวนการ การเรียนรู้ การเงิน ระดับกรม วัตถุประสงค์ ระดับกรม แผนที่กลยุทธ์ ระดับกรม ระดับกรม เป้าหมาย/หน่วยชี้วัด แผนกลยุทธ์ ระดับกรม แผนปฏิบัติการ/ งบประมาณ ระดับหน่วยงาน

  49. ตาราง 5: Balanced Scorecard ความคาดหวังของลูกค้า วิสัยทัศน์/พันธกิจ วัตถุประสงค์ กระบวนการ ลูกค้า การเรียนรู้ การเงิน

  50. ตาราง 6: Balanced Scorecard มุมมอง วัตถุประสงค์ หน่วยชี้วัด ประเด็นกลยุทธ์ เจ้าของงาน

More Related