1 / 86

กระบวนการจัดการ งบประมาณ แบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์

กระบวนการจัดการ งบประมาณ แบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์. นางเยาวลักษณ์ มานะตระกูล. สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี WWW.bb.go.th. 1/44. ประเด็นการนำเสนอ. ข้อกำหนดตามกฎหมาย พัฒนาการระบบงบประมาณ การจัดทำงบประมาณ การบริหารงบประมาณ การควบคุม.

Download Presentation

กระบวนการจัดการ งบประมาณ แบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กระบวนการจัดการงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์กระบวนการจัดการงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ นางเยาวลักษณ์ มานะตระกูล สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี WWW.bb.go.th 1/44

  2. ประเด็นการนำเสนอ • ข้อกำหนดตามกฎหมาย • พัฒนาการระบบงบประมาณ • การจัดทำงบประมาณ • การบริหารงบประมาณ • การควบคุม สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี : ตุลาคม 2544

  3. กฎหมาย ระเบียบ และหลักเกณฑ์ • รัฐธรรมนูญ • พ.ร.บ.วิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502 • ระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณ พ.ศ. 2548 • ระเบียบการก่อหนี้ผูกพันข้ามปีงบประมาณ พ.ศ. 2548 • ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุด้วยวิธีการทางอีเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2549

  4. ข้อกำหนดตามกฎหมายที่สำคัญข้อกำหนดตามกฎหมายที่สำคัญ • รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 • เรื่องงบประมาณโดยตรง หมวด 8 มี 5 มาตรา • ม. 166 งบประมาณรายจ่ายของแผ่นดินให้ทำเป็น พระราชบัญญัติ • ม. 167 เอกสารประกอบการเสนอร่าง พรบ.(มี 7ฉบับ) • ม. 168 การพิจารณาและอนุมัติงบประมาณ • สส. 105 วัน นับแต่ร่างถึงสภาผู้แทน • สว. 20 วัน นับแต่ร่างถึงวุฒิสภา สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี : มิถุนายน 2551

  5. ข้อกำหนดตามกฎหมายที่สำคัญข้อกำหนดตามกฎหมายที่สำคัญ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550(ต่อ) ม. 169 การใช้จ่ายเงินแผ่นดินจะกระทำได้ก็ เฉพาะที่ได้อนุญาตไว้ในกฎหมายว่าด้วย งปม.รายจ่าย กม.เกี่ยวกับการโอนงปม. หรือ กม. ว่าด้วยเงินคลคลัง เว้นแต่กรณี จำเป็นเร่งด่วนรัฐบาลจะจ่ายไปก่อนก็ได้ ม. 170 ทำรายงานการรับและการใช้จ่ายเงินที่ไม่ ต้องนำส่งเป็นรายได้แผ่นดิน สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี : มิถุนายน 2551

  6. ข้อกำหนดตามกฎหมายที่สำคัญข้อกำหนดตามกฎหมายที่สำคัญ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 2. เรื่องงบประมาณจังหวัด หมวด 5 มี มาตรา ม. 78 (2) มี 2 ประเด็น - จัดระบบบริหารราชการส่วนกลาง ส่วนภูมิภาคและท้องถิ่น - สนับสนุนให้จังหวัดมีแผนและงปม. เพื่อพัฒนาจังหวัด เพื่อประโยชน์ของ ประชาชนในพื้นที่ สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี : มิถุนายน 2551

  7. แผนการบริหารราชการแผ่นดินแผนการบริหารราชการแผ่นดิน พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2550 พ.ร.บ.2502 และ ที่แก้ไขเพิ่มเติม ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการจัดทำแผนการบริหารราชการแผ่นดิน พ..ศ.2547 ข้อกฎหมายเกี่ยวกับการงบประมาณ • กำหนดให้รัฐสนับสนุนให้จังหวัดมีแผนและงบประมาณเพื่อพัฒนาจังหวัด [มาตรา 78 (2)] รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 • กำหนดให้ครม.ต้องจัดทำแผนการบริหารราชการแผ่นดิน เพื่อแสดงมาตรการและรายละเอียดของแนวทางในการปฏิบัติราชการในแต่ละปีของการบริหารราวิธีการงบประมาณ พ.ศ.2502 ชการแผ่นดิน…[มาตรา 76] • ยุทธศาสตร์/นโยบายเกี่ยวกับการสนับสนุนระบบการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ • ให้จังหวัดหรือกลุ่มจังหวัดยื่นคำขอตั้งงบประมาณได้ กรณีนี้ให้ถือว่าจังหวัดหรือกลุ่มจังหวัดเป็นส่วนราชการตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ (มาตรา 52 วรรค 3) • ให้จังหวัดจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดให้สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในระดับชาติ และความต้องการของประชาชนในท้องถิ่นในจังหวัด (มาตรา 53/1) พรฎ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 • ให้ส่วนราชการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี และแผนปฏิบัติราชการประจำปี ซึ่งต้องสอดคล้องกับแผนการบริหารราชการแผ่นดิน และให้เสนอแผนปฏิบัติราชการประจำปีให้รัฐมนตรีให้ความเห็นชอบ พรฎ. ว่าด้วยการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ พ.ศ. 2551 • จังหวัดมีฐานะเป็นส่วนราชการตามมาตรา 4แห่ง พ.ร.บ.ฯ วิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502 และสามารถยื่นคำขอตั้งงบประมาณต่อสำนักงบประมาณได้เช่นเดียวกับหน่วยงานอื่น ตามหลักเกณฑ์ที่ผู้อำนวยการสำนักงบประมาณกำหนด • ให้จังหวัดจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดแผนปฏิบัติราชการประจำปี และคำของบประมาณ ตามนโยบาย หลักเกณฑ์ และวิธีการที่ กนจ.กำหนด และให้เสนอให้คณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบ (ข้อ 8) ให้ส่วนราชการจัดทำ 1. แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี ให้เสร็จภายใน 60 วัน นับแต่แผนการบริหารฯ ประกาศในราชกิจจาฯ 2. แผนปฏิบัติราชการประจำปี เสนอรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบก่อนเสนอคำของบประมาณรายจ่ายประจำปี

  8. ระบบงบประมาณ 37/44

  9. BOBRoad Map 2.พัฒนาการของระบบงบประมาณไทย แบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ Strategic Performance Based Budgeting พ.ศ. 2546 - ปัจจุบัน ปี 2540 แบบแสดงแผนงาน Program Budgeting พ.ศ. 2525 - 2545 แบบแสดงรายการ Line Items พ.ศ. 2502 - 2524 6/44

  10. ความต้องการ ของผู้ใช้ 10/48 การจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ วัตถุประสงค์ เชิงนโยบาย ของรัฐบาล ผลลัพธ์ที่คาดหวัง พันธกิจของ หน่วยปฏิบัติ ผลกระทบ ผลลัพธ์ ที่มีต่อชุมชนและ สิ่งแวดล้อม ผลลัพธ์ การวัดประสิทธิผล (การบรรลุวัตถุประสงค์) สิ่งของและบริการที่ จัดทำเพื่อประชาชน/ผู้ใช้ ผลผลิต การวัดประสิทธิภาพ (ต้นทุน) ทรัพยากรที่ใช้ไปใน การจัดทำผลผลิต ทรัพยากรที่ใช้ไป 7/44

  11. รัฐบาล พ.ร.ฎ.ว่าด้วยหลักเกณฑ์ฯ บ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 แผนการ บริหาร ราชการ แผ่นดิน 4 ปี นโยบายรัฐบาล แผนปฏิบัติราชการ กระทรวง 4 ปี แผนปฏิบัติราชการ หน่วยงาน 4 ปี แนวนโยบายพื้นฐาน แห่งรัฐ ยุทธศาสตร์การพัฒนา ยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณประจำปี แผนปฏิบัติราชการ กระทรวงประจำปี แผนปฏิบัติราชการ หน่วยงานประจำปี เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ เป้าหมายการให้ บริการกระทรวง เป้าหมายการให้ บริการหน่วยงาน สำนักงบประมาณ แนวทางการจัดสรร (จุดเน้น) ยุทธศาสตร์กระทรวง (แนวทาง/วิธีการ) กลยุทธ์หน่วยงาน (แนวทาง/วิธีการ) ผลผลิต/โครงการ ภาพรวมการจัดการงบประมาณที่สอดคล้องกับ พ.ร.ฎ. ว่าด้วยฯ กิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 งบประมาณ MTEF (1+3ปี) 8/44 สำนักงบประมาณ

  12. งบประมาณแผ่นดิน งบประมาณรายรับ งบประมาณรายจ่าย - รายได้ - เงินกู้ - เงินคงคลัง - งบกลาง - งบสำหรับส่วนราชการและ รัฐวิสาหกิจ 2/44

  13. ความหมาย ““ งบประมาณรายจ่าย ”” หมายความว่า จำนวนเงินอย่างสูงที่อนุญาตให้จ่ายหรือก่อหนี้ผูกพันได้ ตามวัตถุประสงค์และภายในระยะเวลาที่กำหนดไว้ใน พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ.2502 และที่แก้ไขเพิ่มเติม

  14. ความหมาย “ ปีงบประมาณ” หมายความว่า ระยะเวลาตั้งแต่ วันที่ 1 ตุลาคม ของปีหนึ่ง ถึงวันที่ 30 กันยายน ของปีถัดไปและให้ใช้ปี พ.ศ.ที่ถัดไปนั้น เป็นชื่อสำหรับปีงบประมาณนั้น

  15. ความหมาย “เงินประจำงวด” หมายความว่า ส่วนหนึ่งของงบประมาณรายจ่ายที่แบ่งสรรให้จ่าย หรือให้ก่อหนี้ผูกพันในระยะเวลาหนึ่ง “แผนการปฏิบัติงาน”หมายความว่า แผนการปฏิบัติงานของส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจในรอบปีงบประมาณ

  16. ความหมาย “แผนการใช้จ่ายงบประมาณ ” หมายความว่า แผนแสดงรายละเอียดการใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายสำหรับส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจ เพื่อดำเนินงานตามแผนการปฏิบัติงานในรอบปีงบประมาณ

  17. กระบวนการจัดทำงบประมาณกระบวนการจัดทำงบประมาณ การบริหารงบประมาณ (รวมการรายงานและติดตามผล) วงจรงบประมาณ(Budget Cycle) การจัดเตรียมงบประมาณ (งบประมาณรายรับ-รายจ่าย) การอนุมัติ งบประมาณ 3/44

  18. การจัดทำงบประมาณ 37/44

  19. การจัดทำงบประมาณ 1. สอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาล • นโยบายระดับชาติ • นโยบายระดับกระทรวง 2. สอดคล้องกับความต้องการของประชาชน • แก้ปัญหา • พัฒนา 3. คุ้มค่า (ประหยัด/ประสิทธิภาพ) 4/44

  20. การจัดสรรงบประมาณตามระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณตามระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ งบประมาณ กิจกรรม ผลผลิต ผลลัพธ์ การจัดสรรงบประมาณ จะจัดสรรงบประมาณลงในกิจกรรมหลักภายใต้ผลผลิตเพื่อนำส่งผลผลิตและเชื่อมโยงต่อความสำเร็จระดับสูงผลลัพธ์ 9/44

  21. งบประมาณ ปี 2555 จำแนกตามยุทธศาสตร์การจัดสรร หน่วย:ล้านบาท

  22. งบประมาณ ปี 2555 จำแนกตามยุทธศาสตร์การจัดสรร(ต่อ) หน่วย:ล้านบาท

  23. ยุทธศาสตร์ข้อ 5 • 5. ยุทธศาสตร์การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 5.1 การอนุรักษ์และจัดการทรัพยากรธรรมชาติ 5.2 การจัดการสิ่งแวดล้อม 5.3 การจัดการและอนุรักษ์ทรัพยากรน้ำ 5.4 การจัดการภัยพิบัติ 5.5 การแก้ไขปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาวะภูมิอากาศ

  24. สำนักงานนโยบายและแผนฯสำนักงานนโยบายและแผนฯ • ปีงบประมาณรายจ่าย พ.ศ. 2555 วงเงิน 415.8737 ลบ. แผนงานอนุรักษ์และจัดการทรัพยากรธรรมชาติ 114.9306 ลบ. ผลผลิตที่ 1 เครื่องมือ กลไกในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และความหลากหลายทางชีวภาพ 114.9306 ลบ. แผนงานจัดการสิ่งแวดล้อม 300.9431 ลบ. ผลผลิตที่ 2 เครื่องมือและกลไกการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม และการจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมในการรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาวะภูมิอากาศ 174.3593 ลบ. โครงการถ่ายโอนการสนับสนุนแผนปฏิบัติการเพื่อการจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมในระดับจังหวัด 126.5838 ลบ. 10/44

  25. นโยบายเร่งด่วน 16 ข้อ นโยบายเร่งด่วนที่ทำในปีแรกของรับบาล (16 ข้อ) วงเงิน 367,583.6461 ล้านบาท 1. การสร้างความปรองดองสมานฉันท์ 2. การแก้ไขและป้องกันปัญหายาเสพติด 3. การป้องกันและปราบปรามการทุจริต 4. การส่งเสริมให้มีการบริหารจัดการน้ำ วงเงิน 52,925.2701 ล้านบาท ปี 2555 สผ. มีโครงการถ่ายโอนการสนับสนุนแผนปฏิบัติการเพื่อการจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม (บำบัดน้ำเสีย 2 โครงการ) เป็นเงิน 126.5838 ล้านบาท 5. การแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ 6. การฟื้นฟูความสัมพันธ์นานาประเทศ 7. การดูแลประชาชนจากปัญหาเงินเฟ้อและน้ำมัน 8. การยกระดับคุณภาพชีวิตประชาชน

  26. นโยบายเร่งด่วน 16 ข้อ (ต่อ) 9. การปรับภาษีเงินได้นิติบุคคล 10. การส่งเสริมให้ประชาชนเข้าถึงแหล่งเงินทุน 11. การยกระดับราคาสินค้าเกษตร 12. การเร่งเพิ่มรายได้จากการท่องเที่ยว 13. การพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน 14.การพัฒนาระบบประกันสุขภาพ 15. การจัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์พกพา 16. การเร่งรัดผลักดันการปฏิรูปการเมือง

  27. นโยบายสำคัญอื่นๆ ปี 2556 1. โครงสร้างราคาพลังงาน 2. การนำสันติสุขสู่ชายแดนใต้ 3. โครงสร้างการจัดทำบัตรเครดิตเกษตรกรและบัตรเครดิตพลังงาน 4. หลักประกันสุขภาพ (ประชาชน แรงงาน ข้าราชการ) 5. ครัวไทยสู่โลก 6. อาหารฮาลาล 7. การเพิ่มผลผลิต SME 8.พลังงานทดแทน 9. ระบบการคมนาคมขนส่ง (Logistic)

  28. งบประมาณรายจ่ายประจำปี งบประมาณรายจ่าย งบส่วนราชการรัฐวิสาหกิจ งบกลาง บุคลากร ดำเนินงาน ลงทุน อุดหนุน รายจ่ายอื่น 12/44

  29. การจำแนกประเภทงบรายจ่ายการจำแนกประเภทงบรายจ่าย งบดำเนินงาน หมายถึง รายจ่ายที่กำหนดให้จ่ายเพื่อการบริหารงานประจำ ได้แก่ รายจ่าย ที่จ่ายในลักษณะค่าตอบแทน ค่าใช้สอย ค่าวัสดุ และค่าสาธารณูปโภค รวมถึงรายจ่ายที่กำหนดให้จ่ายจากงบรายจ่ายอื่นใดในลักษณะรายจ่ายดังกล่าว งบลงทุน หมายถึง รายจ่ายที่กำหนดให้จ่ายเพื่อการลงทุน ได้แก่ รายจ่ายที่จ่ายในลักษณะค่าครุภัณฑ์ ค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง รวมถึงรายจ่ายที่กำหนดให้จ่ายจากงบรายจ่ายอื่นใดในลักษณะรายจ่ายดังกล่าว งบเงินอุดหนุน หมายถึง รายจ่ายที่กำหนดให้จ่ายเป็นค่าบำรุงหรือเพื่อช่วยเหลือ สนับสนุนการดำเนินงานของหน่วยงานอิสระตามรัฐธรรมนูญหรือหน่วยงานของรัฐ หน่วยงานในกำกับของรัฐ องค์การมหาชน รัฐวิสาหกิจ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สภาตำบล องค์การระหว่างประเทศ นิติบุคคล เอกชนหรือกิจการอันเป็นสาธารณประโยชน์ รวมถึง เงินอุดหนุนงบพระมหากษัตริย์ เงินอุดหนุนการศาสนา และรายจ่ายที่สำนักงบประมาณกำหนดให้ใช้จ่ายในงบรายจ่ายนี้ งบรายจ่ายอื่น หมายถึง รายจ่ายที่ไม่เข้าลักษณะประเภทงบรายจ่ายใดงบรายจ่ายหนึ่ง หรือรายจ่ายที่สำนักงบประมาณกำหนดให้ใช้จ่ายในงบรายจ่าย 29

  30. การจำแนกประเภทงบรายจ่าย (ต่อ) ค่าตอบแทน เงินที่จ่ายตอนแทนให้แก่ผู้ที่ปฏิบัติงานให้ทางราชการตามที่กระทรวงการคลังกำหนด งบดำเนินงาน ค่าใช้สอย รายจ่ายเพื่อให้ได้มาซึ่งบริการ (ยกเว้นบริการสาธารณูปโภค สื่อสารและโทรคมนาคม) รายจ่ายที่เกี่ยวกับการับรองและพิธีการ และรายจ่ายที่เกี่ยวเนื่องกับการปฏิบัติราชการที่ไม่เข้าลักษณะรายจ่ายอื่นๆ รายจ่ายเพื่อ(1) จัดหาสิ่งของซึ่งโดยสภาพเมื่อใช้แล้วย่อมสิ้นเปลืองหมดไป แปรสภาพ หรือไม่คงสภาพเดิม หรือสิ่งของที่มีลักษณะคงทนถาวร และมีราคาต่อหน่วยหรือต่อชุด ไม่เกิน 5,000 บาท รวมถึงค่าใช้จ่ายที่ต้องชำระพร้อมกัน (2)จัดหาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่มีราคาต่อหน่วยหรือต่อชุดไม่เกิน 20,000 บาท (3) ประกอบ ดัดแปลง ต่อเติม หรือปรับปรุงครุภัณฑ์ที่มีวงเงินไม่เกิน 5,000 บาท ที่ดินและหรือสิ่งก่อสร้าง ที่มีวงเงินไม่เกิน 50,000 บาท(4) ประกอบ ดัดแปลง ต่อเติม หรือปรับปรุงครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ ที่มีวงเงินไม่เกิน 5,000 บาท (5) ซ่อมแซมบำรุงรักษาทรัพย์สินเพื่อให้สามารถใช้งานได้ตามปกติ ค่าวัสดุ ค่าสาธารณูปโภค รายจ่ายค่าบริการสาธารณูปโภคสื่อสารและโทรคมนาคม รวมถึงค่าใช้จ่ายที่ต้องชำระพร้อมกัน เช่น ค่าบริการ ค่าภาษี เป็นต้น 30

  31. การจำแนกประเภทงบรายจ่าย (ต่อ) ค่าครุภัณฑ์ รายจ่ายเพื่อ (1) จัดหาสิ่งของที่มีลักษณะคงทนถาวร และมีราคาต่อหน่วยหรือต่อชุดเกินกว่า 5,000 บาท รวมถึงค่าใช้จ่ายที่ต้องชำระพร้อมกัน เช่น ค่าขนส่ง ค่าภาษี ค่าประกันภัย ค่าติดตั้ง เป็นต้น (2)จัดหาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่มีราคาต่อหน่วยหรือต่อชุดเกินกว่า 20,000 บาท (3)ประกอบ ดัดแปลง ต่อเติมหรือปรับปรุงครุภัณฑ์ รวมทั้งครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ที่มีวงเงินเกินกว่า 5,000 บาท (4)ซ่อมแซมบำรุงรักษาโครงสร้างของครุภัณฑ์ขนาดใหญ่ เช่น เครื่องบิน เครื่องจักรกลยานพาหนะ เป็นต้น ซึ่งไม่รวมถึงค่าซ่อมบำรุงปกติหรือค่าซ่อมกลาง (5)จ้างที่ปรึกษาเพื่อการจัดหาหรือปรับปรุงครุภัณฑ์ งบลงทุน รายจ่ายเพื่อให้ได้มาซึ่งที่ดินและหรือสิ่งก่อสร้าง รวมถึงสิ่งต่างๆ ซึ่งติดตรึงกับที่ดินและสิ่งก่อสร้าง เช่น อาคาร บ้านพัก สนามเด็กเล่น สนามกีฬา สนามบิน สระว่ายน้ำ สะพาน ถนน รั้ว บ่อน้ำ อ่างเก็บน้ำ เขื่อน เป็นต้น รวมถึงรายจ่ายดังต่อไปนี้ (1) ค่าติดตั้งระบบไฟฟ้า หรือระบบประปา รวมถึงอุปกรณ์ต่างๆ ซึ่งเป็นการติดตั้งครั้งแรกในอาคารหรือสถานที่ราชการ ทั้งที่เป็นการดำเนินการพร้อมการก่อสร้างอาคารภายหลังการก่อสร้างอาคาร (2) รายจ่ายเพื่อประกอบ ดัดแปลง ต่อเติม หรือปรับปรุงที่ดินและหรือสิ่งก่อสร้าง ที่มีวงเงินเกินกว่า 50,000 บาท เช่น ค่าจัดสวน ค่าถมดิน เป็นต้น (3) รายจ่ายเพื่อจ้างออกแบบ จ้างควบคุมงานที่จ่ายให้แก่เอกชน หรือนิติบุคคล (4) รายจ่ายเพื่อจ้างที่ปรึกษาเพื่อการจัดหา หรือปรับปรุง ที่ดินและหรือสิ่งก่อสร้าง (5) รายจ่ายที่เกี่ยวเนื่องกับที่ดินและหรือสิ่งก่อสร้าง เช่น ค่าเวนคืนที่ดิน ค่าชดเชยกรรมสิทธิ์ที่ดิน ค่าชดเชยผลอาสิน เป็นต้น ค่าที่ดินสิ่งก่อสร้าง 31

  32. การจำแนกประเภทงบรายจ่าย (ต่อ) งบเงินอุดหนุน อุดหนุนทั่วไป เงินที่กำหนดให้จ่ายตามวัตถุประสงค์ของรายการ เช่น ค่าบำรุงสมาชิกองค์การอุตุนิยมวิทยาโลก ค่าบำรุงสมาชิกสหภาพวิทยุกระจายเสียงแห่งเอเซียเงินอุดหนุนเพื่อแก้ไขปัญหายาเสพติด เงินอุดหนุนเพื่อบูรณะท้องถิ่น เป็นต้น เงินที่กำหนดให้จ่ายตามวัตถุประสงค์ของรายการและตามรายละเอียดที่สำนักงบประมาณกำหนด เช่น รายการค่าครุภัณฑ์ หรือค่าสิ่งก่อสร้าง เป็นต้น อุดหนุนเฉพาะกิจ งบรายจ่ายอื่น ได้แก่ (1)เงินราชการลับ (2)เงินค่าปรับที่จ่ายคืนให้แก่ผู้ขายหรือผู้รับจ้าง (3)ค่าจ้างที่ปรึกษาเพื่อศึกษา วิจัย ประเมินผล หรือพัฒนาระบบต่างๆ ซึ่งมิใช่เพื่อการจัดหา หรือปรับปรุงครุภัณฑ์ ที่ดินและหรือสิ่งก่อสร้าง (4)ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการต่างประเทศชั่วคราว (5)ค่าใช้จ่ายสำหรับหน่วยงานอิสระตามรัฐธรรมนูญ (ส่วนราชการ) (6)ค่าใช้จ่ายสำหรับกองทุน หรือเงินทุนหมุนเวียน (7)รายจ่ายเพื่อชำระหนี้เงินกู้ 32

  33. กำหนดประมาณการความต้องการเบื้องต้นกำหนดประมาณการความต้องการเบื้องต้น (Expense Estimation) รายจ่ายประจำขั้นต่ำที่จำเป็น รายจ่ายตามข้อผูกพันที่ต้องจัดสรร รักษาระดับการปฏิบัติงาน รายจ่ายตามภารกิจพื้นฐาน เพิ่ม/ขยายระดับการปฏิบัติงาน ภารกิจตามนโยบายต่อเนื่อง รายจ่ายตามภารกิจยุทธศาสตร์ ภารกิจตามนโยบายใหม่ สำนักงบประมาณ 13/44

  34. กรอบวงเงินงบประมาณรายจ่ายกรอบวงเงินงบประมาณรายจ่าย รายจ่ายประจำขั้นต่ำที่จำเป็น • ค่าใช้จ่ายบุคลากร • ค่าเช่าทรัพย์สิน • ค่าสาธารณูปโภค สำนักงบประมาณ 14/44

  35. กรอบวงเงินงบประมาณรายจ่ายกรอบวงเงินงบประมาณรายจ่าย รายจ่ายตามข้อผูกพันที่ต้องจัดสรร • ภาระหนี้ (รายจ่ายชำระคืนต้นเงินกู้ และดอกเบี้ยเงินกู้ • ภาระผูกพันตามงบประมาณ (สัญญา + มาตรา 23) • ค่าตอบแทนพนักงานราชการ • นักเรียนทุน (ไม่รวมทุนใหม่) • เงินอุดหนุนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สำนักงบประมาณ 15/44

  36. กรอบวงเงินงบประมาณรายจ่ายกรอบวงเงินงบประมาณรายจ่าย รายจ่ายตามภารกิจพื้นฐาน • รายจ่ายเพื่อรักษางานเดิม • รายจ่ายเพิ่มเป้าหมาย สำนักงบประมาณ 16/44

  37. กรอบวงเงินงบประมาณรายจ่ายกรอบวงเงินงบประมาณรายจ่าย รายจ่ายตามภารกิจยุทธศาสตร์ • รายจ่ายตามนโยบายสำคัญของรัฐบาล • รายจ่ายตามนโยบายอื่น สำนักงบประมาณ 17/44

  38. 3R กับการจัดการงบประมาณ • การพิจารณางบประมาณตามแนวทาง 3R โดยนำหลักการงบประมาณฐานศูนย์ (Zero-Based Budgeting)และการจัดลำดับความสำคัญ (Priority) มาประยุกต์ใช้ Review =การทบทวนค่าใช้จ่ายเดิม จากข้อมูลรายการโอนงบประมาณ Redeploy =การทบทวนรายการค่าใช้จ่ายที่ไม่จำเป็น ในการดำเนินภารกิจ พื้นฐาน . กรณีที่กิจกรรม/โครงการใดไม่สอดคล้องกับนโยบายเร่งด่วน ให้ถือว่ากิจกรรม/โครงการนั้นเป็นภารกิจพื้นฐาน ควรพิจารณา จัดสรรเฉพาะงบเพื่อทดแทนและบำรุงรักษาเท่าที่จำเป็น 5/44

  39. การจัดทำงบประมาณ ปี 2555 Replace = การจัดสรรงบประมาณเพิ่มเติม ให้แก่งาน/โครงการ/กิจกรรม ตามนโยบายและยุทธศาสตร์รัฐบาล/กระทรวงภายใต้กรอบวงเงินที่ปรับลดได้ . การจัดสรรงบประมาณเพิ่มเติมให้แก่กิจกรรมเดิมตามนโยบายและ ยุทธศาสตร์รัฐบาล/กระทรวง . การจัดสรรงบประมาณเพิ่มเติมให้แก่กิจกรรมใหม่ตามนโยบายและ ยุทธศาสตร์รัฐบาล/กระทรวง . การจัดสรรงบประมาณให้แก่โครงการ ตามนโยบายรัฐบาลและ ยุทธศาสตร์รัฐบาล/กระทรวง 5/4fh4

  40. การทบทวนงบประมาณส่วนราชการและหน่วยงานการทบทวนงบประมาณส่วนราชการและหน่วยงาน การทบทวนงบประมาณ ส่วนราชการ/หน่วยงาน การทบทวนปรับลด งบประมาณจากรายการ โอนเปลี่ยนแปลง (Review) การทบทวนปรับลด งบประมาณจาก ผลการดำเนินงาน กิจกรรม/โครงการ (Redeploy) การจัดสรรงบประมาณ เพิ่มเติม (Replace)

  41. การทบทวนปรับลดงบประมาณจากการโอนเปลี่ยนแปลง (Review) การพิจารณาทบทวนปรับลดงบประมาณ โดยพิจารณาจากการประเมินผลความสำเร็จ และเกณฑ์จ่ายจริง หรือข้อมูลจากแบบรายงานการโอน เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการพิจารณาคำของบประมาณ • ต้องไม่มีผลกระทบต่อเป้าหมายการดำเนินงานตามนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐที่จำเป็นของหน่วยงาน • ปรับลดจากรายการที่โอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณในปีที่ผ่านมา ใน บุคลากร งบดำเนินงาน งบเงินอุดหนุน งบรายจ่ายอื่น ที่มีเหลือจ่ายและได้โอนเปลี่ยนแปลง • ตรวจสอบเงินกันปีที่ผ่านมา(ที่ยังไม่ก่อหนี้ผูกพัน) ละให้คิดเป็นฐาน เพื่อจัดทำงบประมาณปีต่อไป 5/4fh4

  42. การทบทวนปรับลดงบประมาณจากผลการดำเนินงาน (Redeploy) การพิจารณาทบทวนปรับลดรายการค่าใช้จ่ายจากผลการดำเนินงานที่ได้ดำเนินการมาเป็นระยะเวลาหนึ่ง เช่น • รายการงบลงทุนใหม่ • การฝึกอบรมหลักสูตรต่างๆ ที่ไม่ใช่พันธกิจหลัก • การจ้างที่ปรึกษาที่ยังไม่จำเป็นและเร่งด่วน • การเดินทางไปต่างประเทศที่ไม่จำเป็น ยกเว้น กรณีไปปฏิบัติภารกิจตามพันธกิจ สนธิสัญญาหรือข้อผูกพันทาง กฎหมาย • โครงการศึกษาวิจัยที่ขาดรายละเอียดโครงการ ขาดความพร้อม ขาดข้อมูลที่แสดงถึงศักยภาพในการนำไปใช้ประโยชน์เพื่อการพัฒนาประเทศ 5/4fh4

  43. การจัดสรรงบประมาณเพิ่มเติม(Replace)การจัดสรรงบประมาณเพิ่มเติม(Replace) การพิจารณานำวงเงินงบประมาณจากการปรับลดงบประมาณภายใต้วงเงินเดิมและเงินกันของแต่ละหน่วนงาน (Review + Redeploy +เงินกัน) มาจัดสรรงบประมาณเพิ่มเติม ให้แก่งาน/โครงการ/กิจกรรม ตามนโยบายและยุทธศาสตร์ของรัฐบาล /กระทรวง ที่มีรายละเอียดและความพร้อมในการดำเนินงาน โดยพิจารณาจัดสรรงบประมาณเพิ่มเติมตามหลักเกณฑ์ ดังนี้ • งาน/โครงการ/กิจกรรมเดิมที่เป็นนโยบายเร่งด่วนของรัฐบาล/กระทรวงให้จัดสรรเพิ่มเติมให้ • ในกรณีที่ยังมีวงเงินคงเหลือ ให้พิจารณาจัดสรรให้งาน/โครงการ/กิจกรรมใหม่ที่เป็นนโยบายเร่งด่วนของรัฐบาล/กระทรวง • งาน/โครงการ/กิจกรรมเดิมและใหม่ที่เป็นนโยบายเร่งด่วนของรัฐบาล/กระทรวงที่จะดำเนินการและได้รับการจัดสรรงบประมาณไม่เพียงพอ ให้พิจารณาจัดสรรงบประมาณเพิ่มเติม 5/4fh4

  44. ปฏิทินงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556

  45. ปฏิทินงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556

  46. ปฏิทินงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556

  47. ปฏิทินงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556

  48. ปฏิทินงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556

  49. ปฏิทินงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556

  50. การอนุมัติงบประมาณ (Budget Adoption) การอนุมัติงบประมาณ คือ การที่ฝ่ายนิติบัญญัติหรือรัฐสภาพิจารณางบประมาณที่ฝ่ายบริหารหรือรัฐบาลจัดเตรียมและนำเสนอในรูปร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี 18/44

More Related