1 / 17

ภาษีโรงเรือนและที่ดิน นำเสนอโดย น.ส. อธินาถ ขุนสิทธิ์ รหัสนิสิต 444 16524 24

ภาษีโรงเรือนและที่ดิน นำเสนอโดย น.ส. อธินาถ ขุนสิทธิ์ รหัสนิสิต 444 16524 24.

Download Presentation

ภาษีโรงเรือนและที่ดิน นำเสนอโดย น.ส. อธินาถ ขุนสิทธิ์ รหัสนิสิต 444 16524 24

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ภาษีโรงเรือนและที่ดินนำเสนอโดยน.ส. อธินาถ ขุนสิทธิ์รหัสนิสิต 444 16524 24

  2. ความนำภาษีโรงเรือนและที่ดินการแก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติบางมาตราทั้ง 3 ครั้งมีดังนี้1. พระราชบัญญัติภาษีโรงเรือนและที่ดิน แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2475 2. พระราชบัญญัติภาษีโรงเรือนและที่ดิน (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2485 3. พระราชบัญญัติภาษีโรงเรือนและที่ดิน (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2534

  3. ทรัพย์สินที่ต้องเสียภาษีโรงเรือนและที่ดินมีอยู่ 2 ประเภทประเภทที่ 1 - โรงเรือน - สิ่งปลูกสร้างอื่นๆ ประเภทที่ 2 - ที่ดินที่ใช้ปลูกสร้างโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้าง - ที่ดินต่อเนื่อง

  4. ทรัพย์สินที่ได้รับยกเว้นไม่ต้องเสียภาษีโรงเรือนและที่ดิน1. พระราชวังอันเป็นทรัพย์สินฝ่ายพระมหากษัตริย์ 2. ทรัพย์สินของรัฐซึ่งใช้ในกิจการของรัฐหรือสาธารณะ 3. ทรัพย์สินของโรงพยาบาลสาธารณะและโรงเรียน 4. ทรัพย์สินซึ่งเป็นศาสนสมบัติ / ที่อยู่ของสงฆ์ 5. โรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างอย่างอื่นๆ ซึ่งปิดไว้ตลอดปี 6. โรงเรือนและสิ่งปลูกสร้างอื่นๆ ซึ่งมิได้ใช้เป็นที่ไว้สินค้าหรือประกอบ อุตสาหกรรมใดๆ

  5. ผู้มีหน้าที่เสียภาษีโรงเรือนและที่ดิน1.เจ้าของโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างและที่ดิน 2. ผู้เช่าทรัพย์สิน เพื่อให้ผู้อื่นเช่าต่อฐานภาษีโรงเรือนและที่ดินพิจารณาจากความมั่งคั่ง (Wealth base) ของทรัพย์สิน

  6. อัตราภาษีโรงเรือนและที่ดินร้อยละ 12.5 ของค่ารายปีตัวอย่างนาย A มีบ้านให้คนอื่นเช่า 3 หลัง ให้เช่าหลังละ 5,000 บาทต่อ เดือน วิธีคิด ค่าเช่าที่ได้รับทั้งปี = 3 * 5,000 * 12 = 180,000 บาท อัตราภาษีโรงเรือนร้อยละ 12.5 ต่อปี ดังนั้นต้องเสียภาษีปีละ = 180,000 * 12.5% = 22,500 บาท

  7. การลดค่ารายปีลดค่ารายปีลงเหลือ 1 ใน 3ตัวอย่าง นาย B มีห้องแถว 2 ห้อง ให้นาย C เช่าทำโรงพิมพ์ เดือนละ 10,000 บาทต่อห้อง วิธีคิด ค่าเช่าที่ได้รับทั้งปี = 2*10,000*12 = 240,000 บาท ลดค่ารายปีเหลือ 1 ใน 3 = 240,000*1/3 = 80,000 บาท อัตราภาษีโรงเรือนร้อยละ 12.5 ต่อปี ดังนั้นต้องเสียภาษีปีละ = 80,000*12.5% = 10,000 บาท

  8. การบริหารจัดเก็บภาษีโรงเรือนและที่ดิน1. หลักเกณฑ์การชำระภาษี 2. ระยะเวลาการชำระภาษ 3. วิธีการชำระภาษี

  9. ผลการจัดเก็บภาษีโรงเรือนและที่ดินกรณีศึกษาผลการจัดเก็บภาษีโรงเรือนและที่ดินของเทศบาลนครระยองผลการจัดเก็บภาษีโรงเรือนและที่ดินกรณีศึกษาผลการจัดเก็บภาษีโรงเรือนและที่ดินของเทศบาลนครระยอง

  10. การอุทธรณ์(ภายใน 15 วันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งการประเมิน )1) กรณีที่เห็นว่าไม่อยู่ในข่ายต้องเสียภาษีโรงเรือนและที่ดิน 2) เห็นว่าจำนวนภาษีที่พนักงานเจ้าหน้าที่ประเมินเรียกเก็บไม่ถูกต้อง - เทศบาล : คณะเทศมนตรีมีอำนาจพิจารณาวินิจฉัยชี้ขาด - สุขาภิบาล : คณะกรรมการสุขาภิบาลมีอำนาจพิจารณาวินิจฉัยชี้ขาด - นอกเขตเทศบาลและสุขาภิบาล : ผู้ว่าราชการจังหวัดมีอำนาจพิจารณา วินิจฉัยชี้ขาด - กรุงเทพมหานคร : ผู้ว่าฯ กรุงเทพมหานครมีอำนาจพิจารณาวินิจฉัยชี้ขาด

  11. การวิเคราะห์ภาษีโรงเรือนและที่ดิน1. การวิเคราะห์ภาษีโรงเรือนและที่ดิน : กรอบวิเคราะห์เชิงรัฐศาสตร์1.1 รัฐอาศัยอำนาจอะไรในการจัดเก็บภาษีโรงเรือนและที่ดิน?- จากรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540 หมวด 4 มาตรา 67 และ มาตรา 69 - จาก พ.ร.บ. ภาษีโรงเรือนและที่ดิน (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2534 - จาก พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2545 หมวด 3 มาตรา 701.2 เหตุใดรัฐจึงต้องเก็บภาษีโรงเรือนและที่ดิน : เพื่อสร้างรายได้ให้ท้องถิ่น

  12. อำนาจการคลังของท้องถิ่นหมายถึง อำนาจที่กฎหมายกำหนดให้ท้องถิ่นหารายได้และใช้รายได้เหล่านั้น เพื่อบริหารงานกิจการสาธารณะตามความต้องการของ ราษฎรในท้องถิ่น มี 2 ลักษณะ1. ท้องถิ่นหารายได้และใช้จ่ายรายได้ภายใต้การควบคุมของส่วนกลาง 2. ท้องถิ่นหารายได้และใช้จ่ายรายได้โดยส่วนกลางไม่ได้ควบคุม

  13. ข้อดีของการเก็บภาษีโรงเรือนและที่ดินตามหลักการกระจายอำนาจปกครอง1. เป็นช่องทางในการเพิ่มรายได้เพื่อพัฒนาท้องถิ่น ตามความ ต้องการของประชาชน 2. เป็นการแบ่งเบาภาระงานด้านงบประมาณจากส่วนกลาง 3. เสริมสร้างจิตสำนึกความเป็นประชาธิปไตยให้แก่ชุมชน 4. สามารถนำรายได้มาจัดกิจกรรมสาธารณะได้สะดวก รวดเร็ว

  14. ข้อเสียของการจัดเก็บภาษีโรงเรือนและที่ดินตามหลักการกระจายอำนาจปกครอง1. นำไปสู่ปัญหาทุจริตคอร์รัปชั่น 2. เกิดการแข่งขันของการเมืองระดับท้องถิ่นที่ทวีความรุนแรง เพิ่มขึ้น 3. หากผลงานจากการใช้จ่ายไม่เป็นรูปธรรม อาจนำไปสู่ปัญหาการ ต่อต้านการเสียภาษีฯ 4. ปัญหาความขัดแย้งระหว่างองค์กรท้องถิ่นจากการซ้อนทับพื้นที่ ทางการปกครอง

  15. การวิเคราะห์ภาษีโรงเรือนและที่ดิน : กรอบวิเคราะห์เชิงเศรษฐศาสตร์การวิเคราะห์ภาษีโรงเรือนและที่ดินเชิงเศรษฐศาสตร์จุลภาค- มิติภาระภาษีตามกฎหมายและภาระภาษีที่แท้จริง - มิติการบริหารจัดเก็บภาษีโรงเรือนและที่ดิน

  16. สรุป-การวิเคราะห์ในเชิงเศรษฐศาสตร์จุลภาค ภาระภาษีตามกฎหมายและ ภาระภาษีที่แท้จริงย่อมส่งผลต่อการบริหารจัดเก็บภาษีที่มีประสิทธิภาพ - เศรษฐศาสตร์จุลภาคในระดับท้องถิ่นดังกล่าวที่เข้มแข็งย่อมเป็น จุดเริ่มต้นที่ส่งผลถึงเศรษฐศาสตร์มหภาคในภาพรวมของประเทศที่ มั่นคง

  17. จบการนำเสนอ

More Related