1 / 22

โดย...ว่าที่ ร.ต.นรินทร์ แขมพิมาย ผู้อำนวยส่วนพัฒนางานศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยี

การปฏิบัติงานร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ ทางเลือกโครงการ. โดย...ว่าที่ ร.ต.นรินทร์ แขมพิมาย ผู้อำนวยส่วนพัฒนางานศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยี สำนักพัฒนาการถ่ายทอดเทคโนโลยี. ๑. บทบาท/ หน้าที่การพัฒนาการเกษตรของท้องถิ่น กรมส่งเสริมการเกษตร กับ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. ของ.

Download Presentation

โดย...ว่าที่ ร.ต.นรินทร์ แขมพิมาย ผู้อำนวยส่วนพัฒนางานศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยี

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การปฏิบัติงานร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและการปฏิบัติงานร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและ ทางเลือกโครงการ โดย...ว่าที่ ร.ต.นรินทร์ แขมพิมาย ผู้อำนวยส่วนพัฒนางานศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยี สำนักพัฒนาการถ่ายทอดเทคโนโลยี ๑

  2. บทบาท/ หน้าที่การพัฒนาการเกษตรของท้องถิ่น กรมส่งเสริมการเกษตร กับ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ของ 1. ตาม พ.ร.บ.กำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่ อปท. พ.ศ.2542 2. ประกาศ กกถ. พ.ศ.2543 เพิ่มเติม 2550 และฉบับที่ 2 พ.ศ.2551 3. อปท. ตาม พ.ร.บ.สภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ.2537 แก้ไขเพิ่มเติมปี 42,46 และ พ.ร.บ.เทศบาล ปี 46 4. อปท.จัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น * ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น ของ อปท. พ.ศ.2548 ประกาศราชกิจจา 17 ก.ค. 2548 ๒

  3. 1. พ.ร.บ. สภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล(พ.ศ.2537, และแก้ไข พ.ศ.2542) • อำนาจหน้าที่ อบต. มาตรา 67มีหน้าที่ต้องทำ 1) จัดให้มีและบำรุงรักษาทางน้ำและทางบก 2) รักษาความสะอาดของถนน ฯลฯ และที่สาธารณะ รวมทั้งกำจัดขยะมูลฝอย *3) ป้องกันโรคและระงับโรคติดต่อ 4) ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 5) ส่งเสริมการศึกษาและวัฒนธรรม 6) ส่งเสริมการพัฒนาสตรี เด็กเยาวชน ฯลฯ *7) คุ้มครอง ดูแล บำรุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม *8) บำรุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น และวัฒนธรรม 9) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่ทางราชการมอบหมาย ๓

  4. อำนาจหน้าที่ อบต.มาตรา 68 อาจจัดทำ * 1) ให้น้ำเพื่อการอุปโภคบริโภคและการเกษตร 2) ให้มีและบำรุงไฟฟ้าหรือแสงสว่าง 3) จัดให้มีและบำรุงรักษาทางระบายน้ำ 4) ให้มีและบำรุงรักษาสถานที่ประชุม การกีฬา ฯ * 5) ให้มีและส่งเสริมกลุ่มเกษตรกรและกิจกรรมสหกรณ์ 6) ส่งเสริมให้มีอุตสาหการในครอบครัว * 7) บำรุงและส่งเสริมการประกอบอาชีพของราษฎร 8) การคุ้มครองและรักษาทรัพย์สินของราษฎร 9) หาประโยชน์จากทรัพย์สิน อบต. 10) ให้มีตลาด ท่าเทียบเรือและท่าข้าม 11) กิจกกรมเกี่ยวกับการพาณิชย์ 12) การท่องเที่ยว 13) การผังเมือง ๔

  5. 2. พ.ร.บ.เทศบาลตำบล • อำนาจหน้าที่มาตรา 50 มีหน้าที่ต้องทำ 1. รักษาความสงบเรียบร้อยของประชาชน 2. ให้มีและบำรุงทางบกและทางน้ำ 3. รักษาความสะอาดของถนน หรือทางเดินและที่สาธารณะ รวมทั้งการกำจัดขยะมูลฝอย และสิ่งแวดล้อม *4. มีการป้องกันและกำจัดโรคติดต่อ 5. ให้มีเครื่องใช้ในการดับเพลิง 6. ให้ราษฎรได้รับการศึกษาอบรม 7. ส่งเสริมการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ และผู้สูงอายุ *8. บำรุงศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่นและวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น 9. หน้าที่อื่นตามที่กฎหมายบัญญัติให้เป็นหน้าที่ของเทศบาล ๕

  6. อำนาจหน้าที่มาตรา 51 อาจจัดทำ 1. ให้มีน้ำสะอาดหรือการประปา 2. ให้มีโรงฆ่าสัตว์ 3. ให้มีตลาด ท่าเทียบเรือและท่าข้าม 4. ให้มีสุสานและฌาปนสถาน * 5. บำรุงและส่งเสริมการทำมาหากินของราษฎร *6. ให้มีและบำรุงสถานที่ทำมาหากินของราษฎร 7. ให้มีและบำรุงรักษาการไฟฟ้าหรือแสงสว่างโดยวิธีอื่น 8. ให้มีและบำรุงทางระบายน้ำ 9. เทศพาณิชย์ ๖

  7. บันทึกข้อตกลงว่าด้วยความร่วมมือสนับสนุนการดำเนินงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรของท้องถิ่น ระหว่าง กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กับกรมส่งเสริมการเกษตร(วันที่ 17 เมษายน 2551) ๗

  8. ประเด็น 1. การพัฒนาบุคลากรของ อปท. สถ. และ กสก.: จัดทำหลักสูตร/ วิทยากร 2. การจัดทำฐานข้อมูลการเกษตรของ อปท. 3. สนับสนุน อปท. ในการพัฒนาการเกษตรและการให้บริการด้านการเกษตร 4. การบูรณาการแผนพัฒนาการเกษตรระดับตำบลกับแผนพัฒนาท้องถิ่น 5. การศึกษาวิจัยและติดตามประเมินผล 6. แต่งตั้งคณะทำงานร่วมกัน หมายเหตุ :กรมส่งเสริมการเกษตรมีการแต่งตั้งคำสั่งคณะกรรมการ โดยมีนายกสมาคมทั้ง 3 เป็นกรรมการ ๘

  9. ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล (ศบกต.) ขั้นตอนการทำ กลไกภารกิจถ่ายโอน 10 ภารกิจ 6 E-commerce 5 การให้บริการ 4 การจดทะเบียนสมาชิก 3 การปฏิบัติตามแผน 2 การจัดทำแผน 1 การเตรียมความพร้อม ๙

  10. ศบกต. • ภารกิจ - การจัดทำแผนพัฒนาการเกษตรระดับตำบล 1. ด้านการถ่ายเทคโนโลยี 2. ด้านการลงทุนเชิงธุรกิจ/วิสาหกิจชุมชน 3. ด้านการฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม * บูรณาการเข้ากับแผนพัฒนาท้องถิ่นของ อปท. ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทำแผนพัฒนาของ อปท. พ.ศ. 2548 ๑๐

  11. ส่วนภูมิภาค งบพัฒนาจังหวัด (สำนักงบประมาณ) ส่วนท้องถิ่น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น แผนพัฒนาจังหวัด ก.บ.จ. แผนพัฒนาท้องถิ่น(แผนสามปี) อบจ. แผนพัฒนาท้องถิ่น(แผนสามปี) อบต./เทศบาล แผนพัฒนาอำเภอ ก.บ.อ. ยุทธศาสตร์จังหวัด/กลุ่มจังหวัด เวทีชุมชนระดับหมู่บ้าน/ชุมชน (กรรมการหมู่บ้าน/ผู้นำชุมชน/ศบกต.) แผนชุมชน ส่วนกลาง นโยบย แผนงาน/โครงการ แผนภูมิ: การบูรณาการจัดทำแผนชุมชน แผนพัฒนาด้านการเกษตร และแผนพัฒนาสามปีของ อปท. ปี 2553- 2555 ระหว่างกระทรวงมหาดไทยกับกระทรวงเกษตรและสหกรณ์  (ธ.ค.51)  (ต.ค.51) กรอบนโยบายและ ยุทธศาสตร์ระดับจังหวัด (อ.ก.จ.) แผนพัฒนาการเกษตร และสหกรณ์ระดับจังหวัด (มิ.ย.52) เกินศักยภาพ   (ต.ค.51)  (พ.ย.51)  กรอบนโยบายและ ยุทธศาสตร์ระดับอำเภอ (อ.ก.อ.) เกินศักยภาพ แผนพัฒนาการเกษตร และสหกรณ์ระดับอำเภอ (เม.ย.- พ.ค.52)  (ต.ค.- พ.ย.51)  ข้อมูลทางเลือก/ แนวทาง การพัฒนา การเกษตร (ระดับตำบล) (ม.ค.- มี.ค.52) แผนพัฒนาการเกษตร ระดับตำบล (ศบกต.) ก.บ.จ. = คณะกรรมการบริหารจังหวัดแบบบูรณาการ ก.บ.อ. = คณะกรรมการบริหารอำเภอแบบบูรณาการ อ.ก.จ. = คณะอนุกรรมการพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ระดับจังหวัดอ.ก.อ. = คณะอนุกรรมการพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ระดับอำเภอ อบจ. = องค์การบริหารส่วนจังหวัด อบต. = องค์การบริหารส่วนตำบล ศบกต. = ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล ความต้องการ/ ปัญหาของชุมชน ๑๑ หมายเหตุ : ช่วงระยะเวลาอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสมของพื้นที่

  12. (เกินศักยภาพ) ศบกต. แผนพัฒนาการเกษตรระดับตำบล เสนอปัญหาและความต้องการ หมู่บ้าน/ ชุมชน กลุ่มอาชีพ/ วิสาหกิจ การเสนอทางเลือกโครงการ อปท. กสก. ภูมิภาค/จังหวัด เสนอโครงการ อบจ. (แผนพัฒนาท้องถิ่น) เสนอโครงการ สำนักงาน เกษตรจังหวัด ผู้ว่าราชการจังหวัด (แผนพัฒนาจังหวัด) 4 5 ทางเลือกโครงการ เสนอแผน/ของบ 1 4 คณะกรรมการประสาน งานแผนระดับอำเภอ สำนักงาน เกษตรอำเภอ นายอำเภอ ทางเลือกโครงการ เสนอแผน/ ของบ 1 4 เทศบาล/เทศบาลตำบล อบต. (แผนพัฒนาท้องถิ่น) เสนอโครงการ 3 ข้อมูล/ทางเลือกโครงการ 1 2 ๑๒

  13. ประเด็นการจัดทำทางเลือกโครงการ (Project Idea) • ประกอบด้วย • ชื่อโครงการ/ กิจกรรม (what) • เหตุผล/ ปัญหา (why) ทำไมต้องทำโครงการนี้ • วิธีการดำเนินงาน/ ประเด็นส่งเสริม (how) ต้องทำอย่างไร • มีกิจรรมอะไรบ้าง โดยคิดเป็นโครงการย่อยระดับชุมชน • งบประมาณ (ตามรายละเอียดกิจกรรม/ ประเด็นส่งเสริม) • unit cost เป็นเอกสารแนบ • เงื่อนไขการดำเนินงาน (ถ้ามี) อาจเป็นข้อจำกัดของพืช/ • กิจกรรมที่จะดำเนินการ /สังคม • ผู้รับผิดชอบ เช่น ชื่อ หรือ เบอร์โทรศัพท์/ e-mail ๑๓

  14. ตัวอย่าง ทาง เลือก โครง การ ชื่อโครงการ ส่งเสริมการผลิตเชื้อเห็ดฟางชุมชน เหตุผลในการทำโครงการ 1. เห็ดฟางเป็นแหล่งอาหารโปรตีนที่ผลิตได้เร็ว ต้นทุนต่ำ และผลิตได้ในทุกพื้นที่ 2. ปัญหาการผลิตเห็ดฟางที่พบส่วนใหญ่ คือ เชื้อเห็ดเจริญเติบโตไม่สม่ำเสมอ ดอกเห็ดมีคุณภาพต่ำ ซึ่งแก้ไขได้โดยใช้เชื้อเห็ดฟางที่มี คุณภาพ คือไม่แก่หรืออ่อนเกินไป 3. เกษตรกรผู้เพาะเห็ดฟางที่อยู่ไกลจากแหล่งผลิตเชื้อเห็ด มักจะได้เชื้อเห็ดที่ไม่มีคุณภาพ 4. การผลิตเชื้อเห็ดฟางใช้เทคโนโลยีที่ไม่ซับซ้อน เกษตรกรสามารถทำได้ชุมชนของตนเอง วิธีการดำเนินงาน 1. รวมกลุ่มเกษตรกร 2. จัดอบรมให้ความรู้และนำเกษตรกรดูงานฟาร์มตัวอย่าง (โดยใช้หลักสูตรและเลือกแหล่งดูงานตามที่แนบ) 3. จัดทำโรงเรือนสาธิตการผลิตเชื้อเห็ดฟาง ขนาด 8 x 10 ตารางเมตร ซึ่งสามารถผลิตเชื้อเห็ดได้ 8,000 – 9,000 ถุง (ถุงละ 200 กรัม) ใช้ระยะเวลาผลิต 10 วัน และสามารถนำไปผลิตเห็ดได้ 2,000 – 2,400 กิโลกรัม โดยใช้งบประมาณค่าโรงเรือนและวัสดุอุปกรณ์รวม 100,000 บาท (รายละเอียดตามที่แนบ) เงื่อนไขในการดำเนินงาน 1. ส่งเสริมในพื้นที่ที่เกษตรกรมีการผลิตเห็ดฟางอยู่แล้ว 2. หากไม่มีการผลิตเห็ดฟางมาก่อน ต้องดำเนินงานควบคู่กับโครงการส่งเสริมการผลิตเห็ดฟาง 3. ต้องมีการวางแผนการผลิต เพื่อให้ได้เชื้อเห็ดฟางในปริมาณและระยะเวลาที่สอดคล้องกับความต้องการใช้ เนื่องจากเชื้อเห็ดมีอายุสั้น 4. ควรดำเนินการเพียง 1 กลุ่ม ต่อชุมชน เพื่อให้การดำเนินงานมีประสิทธิภาพ แหล่งข้อมูลเพิ่มเติม นายสมภูมิ พรรณอภัยพงศ์ ตำแหน่งนักวิชาการเกษตร ระดับปฏิบัติการ กลุ่มส่งเสริมการผลิตผัก สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร โทร 0-2940-6160, 0-2940-6080 ต่อ 429 e-mail : iamphum@hotmail.com ๑๔

  15. 2 = การดำเนินงานทางเลือกโครงการ = การติดตามผลการนำทางเลือกโครงการ ไปใช้ประโยชน์ แผนบริหารจัดการทางเลือกโครงการ ความคิดเห็น/ ข้อเสนอแนะ 7 สำรวจการใช้ประโยชน์ ทางเลือกโครงการ 6 ระบบอินทราเน็ต กรมส่งเสริมการเกษตร (ssnet) โปรแกรมประมวลผล 5.2 จังหวัด 5.3 ศูนย์สารสนเทศ งบพัฒนา จังหวัด/ อบจ. เสนอ แผน ทางเลือกโครงการ 3 Shop อำเภอ แบบสำรวจการใช้ ประโยชน์ทางเลือกโครงการ 4.2 Website ศบกต. (http://atsc.doae.go.th) 5.1 เสนอทางเลือก (Sharing) อปท. (เทศบาลตำบล) ตำบล/ ศบกต. เสนอ แผน ส่วนพัฒนางานศูนย์บริการฯE-mail สำนักพัฒนาการถ่ายทอดเทคโนโลยี Agritech83@doae.go.th 1 4.1 ปรึกษาโครงการ สำนัก/ กองด้านวิชาการ สำนัก/ กองด้านวิชาการ = สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร สำนักพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตร สำนักพัฒนาเกษตรกร ๑๖

  16. การพัฒนาวิสาหกิจชุมชนโดย ศบกต. + อปท. + กสก. • โดย :- • การรวมกลุ่ม • การถ่ายทอดความรู้ - การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ - ดูงาน • การจดทะเบียนกลุ่ม • การส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรม/โครงการ • - การจัดทำกิจกรรม/วิเคราะห์กิจกรรม • - การสร้างเครือข่ายการพัฒนา/ดำเนินการตามกิจกรรม • - การจัดทำแผนลงทุนเชิงธุรกิจ/วิเคราะห์แผนลงทุน • การขอรับการสนับสนุนจากแหล่งเงินลงทุน (ขอรับเงินอุดหนุนจาก อปท.) ๑๖

  17. การลงทุนทางธุรกิจเกษตร/วิสาหกิจชุมชนการลงทุนทางธุรกิจเกษตร/วิสาหกิจชุมชน (กลไก ศบกต. ตามภารกิจถ่ายโอน) • ขั้นตอน/วิธีการปฏิบัติ • 1. รัฐ และ อปท. จัดทำแผนการลงทุนร่วมกัน • - ทบทวนความต้องการของกลุ่มอาชีพจากแผนพัฒนาการเกษตร • ที่กำหนดไว้เดิมหรือกิจกรรมใหม่เพิ่มเติม • - จัดลำดับความสำคัญ (ศบกต./ กสก.) ๑๗

  18. ขั้นตอน/วิธีการปฏิบัติ(ต่อ)ขั้นตอน/วิธีการปฏิบัติ(ต่อ) 2. รัฐ และ อปท.ร่วมหาแหล่งเงินทุน/ สนับสนุน - วิเคราะห์ความเป็นไปได้ของการลงทุน/ ผลตอบแทน (อปท./กสก.) - จัดทำแผนลงทุน - พิจารณาแหล่งเงินทุนและสนับสนุนกลุ่มอาชีพตามแผน การลงทุน (อปท.) ๑๘

  19. ขั้นตอน/วิธีการปฏิบัติ(ต่อ)ขั้นตอน/วิธีการปฏิบัติ(ต่อ) 3. อปท.และกลุ่มในชุมชนดำเนินการตามแผนการลงทุน ทางธุรกิจ - กลุ่มดำเนินกิจกรรมตามแผนการลงทุน ที่ได้รับการสนับสนุนจากแหล่งเงินทุน (ศบกต.) - ติดตามและสรุปผล (ศบกต./กสก.) ๑๙

  20. การขอรับเงินอุดหนุนจาก อปท. ของ ศกบต.(กลุ่มวิสาหกิจชุมชน) ขั้นตอน การเสนอ โครงการ เสนอในช่วงเวลาการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น(แผน 3 ปี) เวทีประชาคม (มค.-มีค.) ศบกต.(กลุ่มวิสาหกิจ) เสนอเข้าแผนพัฒนาการเกษตร(เมย.-พค.) อบต./ เทศบาลบรรจุในแผนพัฒนาท้องถิ่น (มิย.) อบต./ เทศบาลพิจารณาอนุมัติ(ข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี) (กค. – สค.) อบต./ เทศบาลแจ้ง ศบกต. ดำเนินงาน ๒๐

  21. การเบิกจ่ายเงินอุดหนุนกลุ่มอาชีพจาก อปท.ของ ศบกต. (ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ที่ มท.0808.2/ว 2611 ลว 4 ส.ค. 47 ว่าด้วยการตั้งงบประมาณ รายจ่ายงบประมาณหมวดเงินอุดหนุนของ อปท.) - อปท. แจ้ง ศบกต. รับเช็คกิจกรรมโครงการ - ศบกต.ทำบันทึกข้อตกลง 3 คน รับเช็คเงินสดเข้าบัญชีกองทุน พัฒนาการเกษตรของ ศบกต. แล้วออกใบเสร็จรับเงินให้ อปท. - ศบกต. จ่ายให้กลุ่มอาชีพไปจัดหาปัจจัยนำใบเสร็จมอบ ศบกต. - ศบกต. รายงานผลการใช้เงิน อปท. และรายงานผลการดำเนินงาน (ถ้าเงินเหลือค่อยคืน อปท.) ๒๑

  22. สวัสดี เอกสารประกอบการบรรยาย เรื่อง... การเพิ่มทักษะการปฏิบัติงานนายทะเบียนวิสาหกิจชุมชน วันที 13-14 มี.ค. 2552 @ Bangkok palaceHotel ๒๒

More Related