1 / 31

บทบาทท้องถิ่นกับการสร้างความเข้มแข็งของชุมชน

บทบาทท้องถิ่นกับการสร้างความเข้มแข็งของชุมชน. โดย รองศาสตราจารย์วุฒิสาร ตันไชย ผู้อำนวยการวิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า. บทบาทท้องถิ่นกับการสร้างความเข้มแข็งของชุมชน. การกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ตาม รธน. มาตรา 284).

Download Presentation

บทบาทท้องถิ่นกับการสร้างความเข้มแข็งของชุมชน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทบาทท้องถิ่นกับการสร้างความเข้มแข็งของชุมชนบทบาทท้องถิ่นกับการสร้างความเข้มแข็งของชุมชน โดย รองศาสตราจารย์วุฒิสาร ตันไชย ผู้อำนวยการวิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า

  2. บทบาทท้องถิ่นกับการสร้างความเข้มแข็งของชุมชนบทบาทท้องถิ่นกับการสร้างความเข้มแข็งของชุมชน

  3. การกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ตาม รธน. มาตรา 284) พ.ร.บ. กำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 แผนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2543 แผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2545

  4. พ.ร.บ. กำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 • เหตุผล • เพื่อพัฒนาการกระจายอำนาจฯ อย่างต่อเนื่อง • สาระสำคัญ • ให้มีคณะกรรมการการกระจายอำนาจฯ มาตรา 6 - 14 • กำหนดอำนาจและหน้าที่ของท้องถิ่น มาตรา 16 - 22 • กำหนดรายได้และรายรับของท้องถิ่น มาตรา 23 - 29 • กำหนดแผนการกระจายอำนาจฯ และแผนปฏิบัติการ มาตรา 30- 32 • ให้มีสำนักงานคณะกรรมการการกระจายอำนาจฯ (สกถ.)มาตรา 15

  5. แผนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแผนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น • กรอบแนวคิดการกระจายอำนาจ • ความเป็นอิสระในการกำหนดนโยบายและการบริหารจัดการ • การบริหารราชการแผ่นดิน และราชการบริหารส่วนท้องถิ่น • ประสิทธิภาพการบริหารท้องถิ่น • วัตถุประสงค์ของแผนการกระจายอำนาจฯ • เพื่อกระจายอำนาจอย่างต่อเนื่อง • กำหนดกรอบทิศทางการกระจายอำนาจ • กำหนดกรอบการทำแผนปฏิบัติการ และการปฏิบัติ

  6. แผนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น(มาตรา 30) • มาตรา 30 แผนการกระจายอำนาจฯให้ดำเนินการ • ให้ถ่ายโอนภารกิจให้ท้องถิ่นภายใน 4 ปี • กำหนดขอบเขตอำนาจหน้าที่ท้องถิ่น อาจแตกต่างกันช่วง 10 ปีแรกได้ • กำหนดแนวทาง หลักเกณฑ์ให้รัฐประสานความร่วมมือ ช่วยเหลือท้องถิ่น • กำหนดการจัดสรรภาษี อากร เงินอุดหนุน และรายได้อื่นให้ท้องถิ่น • ปี 2544 = 20% และ ปี 2549 = 35%

  7. แนวทางการกระจายอำนาจ • กระจายอำนาจหน้าที่ ความรับผิดชอบ การตัดสินใจ การบริหารจัดการ บุคลากร สร้างความพร้อมให้ท้องถิ่นส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน • ปรับบทบาทของส่วนราชการ ปรับปรุงกฎหมายพัฒนากลไกการกระจายอำนาจ สร้างระบบติดตามตรวจสอบและประเมินผล

  8. การขับเคลื่อนการกระจายอำนาจการขับเคลื่อนการกระจายอำนาจ กฎหมาย (การแก้ไข – ปรับ กม.) การกระจายอำนาจ งาน (การถ่ายโอนภารกิจ) คน (การถ่ายโอนบุคลากร) เงิน (การจัดสรรภาษี)

  9. ความก้าวหน้าด้านการถ่ายโอนภารกิจความก้าวหน้าด้านการถ่ายโอนภารกิจ • ภารกิจที่ถ่ายต้องโอน 245 ภารกิจ • ภารกิจที่ถ่ายแล้ว 180 ภารกิจ • คงเหลือ 64 ภารกิจ

  10. ความก้าวหน้าด้านการจัดสรรสัดส่วนภาษีและอากรความก้าวหน้าด้านการจัดสรรสัดส่วนภาษีและอากร • พ.ศ. 2544 : 20.92 % • พ.ศ. 2545 : 21.88 % • พ.ศ. 2546 : 22.19 % • พ.ศ. 2547 : 22.75 % • พ.ศ. 2548 : 23.50 % • พ.ศ. 2549 : 24.05 % • พ.ศ. 2550 : 25.17 %

  11. เปรียบเทียบรายได้ของ อปท. ปีงบประมาณ 2540-2550

  12. (ร่าง)พ.ร.บ.กำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น(ร่าง)พ.ร.บ.กำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เดิม (2542) สัดส่วน 20% (2544) สัดส่วน 35% (2549) แก้ไขเพิ่มเติม (2549) สัดส่วน 25% (2550) หมายเหตุ : ต้องมีจำนวนเงินไม่น้อยกว่าเงินอุดหนุนในปี 2549 สัดส่วน 35% (ไม่กำหนดปี)

  13. ผลการถ่ายโอนบุคลากร

  14. ผลการแก้ไขกฎหมาย

  15. การถ่ายโอนภารกิจ ภารกิจเดิม (ที่เคยทำอยู่แล้ว แต่ต้องเพิ่มปริมาณ) ภารกิจใหม่ (ที่ไม่เคยทำมาก่อน) ภารกิจ (ที่ต้องการความริเริ่มใหม่) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

  16. องค์กรกึ่งราชการ องค์กรทางการเมือง องค์กรของประชาชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

  17. เป้าหมายของ “สังคมไทย”

  18. สิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืนสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน เศรษฐกิจ พัฒนา การ พัฒนาเมือง ที่ยั่งยืน สังคม/ชุมชนเข้มแข็ง

  19. การบูรณาการในระดับพื้นที่การบูรณาการในระดับพื้นที่ • การบูรณาการในแนวดิ่ง (Vertical Integration) • - การประสานแนวทางการพัฒนาตามนโยบายของแต่ละ กระทรวง/ กรมให้เกิดเอกภาพในระดับพื้นที่ • 2. การบูรณาการในแนวระนาบ (Horizontal Intergration) • - การประสานโครงการ / กิจกรรม • - การประสานทรัพยากรทางการบริหาร • - การประสานความร่วมมือทุกภาค / ส่วน

  20. การบูรณาการเชิงพื้นที่การบูรณาการเชิงพื้นที่ Target-Area การบูรณาการปัญหา / ความต้องการของแต่ละกลุ่มเป้าหมายในระดับจังหวัด การมององค์รวม จังหวัด • ปัญหาความต้องการ • พื้นที่–กลุ่มเป้าหมาย • หลากหลาย (Diversity) • ซับซ้อน (Complexity) • ความรุนแรงของปัญหา • ความเร่งด่วน • ความสัมพันธ์ของปัญหา

  21. ใครควรมีบทบาทต่อการพัฒนาสังคมใครควรมีบทบาทต่อการพัฒนาสังคม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคราชการ การจัดการพัฒนาสังคม สวัสดิการสังคม ภาคประชาสังคมชุมชน องค์กรอาสาสมัคร เอกชน

  22. บทบาทองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับการพัฒนาสังคมบทบาทองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับการพัฒนาสังคม • เป็นอำนาจหน้าที่ตามกฎหมาย • เป็นความรับผิดชอบทางสังคม (Social accountability) • เป็นหน่วยงานที่อยู่ใกล้ปัญหาที่สุดและเป็นเรื่องของชุมชนเอง • มีงบประมาณสนับสนุน • เข้าใจและรู้วิธีการแก้ปัญหาที่ดีที่สุด • สามารถสร้างความหลากหลายในวิธีการทำงาน (Diversity) • สามารถแก้ปัญหาแบบองค์รวมได้เพราะมีเอกภาพในการตัดสินใจ

  23. ความรับผิดชอบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นความรับผิดชอบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น • ความรับผิดชอบทางกฎหมาย (Legal Accountability) • (1) อำนาจหน้าที่ตามกฎหมายจัดตั้ง • (2) พระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจาย อำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นพ.ศ. 2542 • (3) กฎหมายอื่นๆ • 2. ความรับผิดชอบทางสังคม (Social Accountability) • 3. ความรับผิดชอบทางการเมือง(Political Accountability)

  24. กลไกที่จำเป็นต่อการบูรณาการสำหรับ อปท. 1.การมีฐานข้อมูลร่วมกันและเป็นข้อมูลที่มีวิญญาณ 2.การประสานแผนให้มีเอกภาพมองปัญหาเป้าหมายเป็นองค์รวม 3.การสร้างตัวชี้วัดความสำเร็จ (KPI) ที่ชัดเจนเป็นรูปธรรมและเข้าใจตรงกัน 4.มีการปรับปรุงกลไกทางการบริการให้เอื้ออำนวย • ระบบงบประมาณ • ระเบียบปฏิบัติ • ทัศนะบุคลากรฯลฯ • สร้างพันธมิตรนอกภาคราชการ • ใช้ประโยชน์อย่างเต็มที่จากทุนทางสังคม • มีความหลากหลายในการแก้ไขปัญหาตามสถานการณ์ของพื้นที่และปัญหา

  25. มาตรการทางสังคมเพื่อการบูรณาการมาตรการทางสังคมเพื่อการบูรณาการ • 1. มาตรการเพื่อการสร้างกลไกการพัฒนาสังคม • การสร้างความเข้มแข็งของกลไกทางสังคม • ภาคประชาสังคม • การใช้ทุนทางสังคม • ส่งเสริมความเป็นพลเมือง (Civic Education)

  26. มาตรการเพื่อการกระจายบริการสาธารณะ (Distributive mechanisms ) • ด้าน (Sector) • สุขภาพอนามัย • ที่อยู่อาศัยและสภาพแวดล้อม • การจ้างงานและการสร้างรายได้ • ความมั่นคงปลอดภัยภาคราชการ ฯลฯ • การศึกษา • หน่วยงานรับผิดชอบ • ภาคราชการ • ภาคประชาสังคม ชุมชน องค์กรอาสาสมัคร • องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น • ภาคเอกชน มาตรการทางสังคมเพื่อการบูรณาการ

  27. มาตรการทางสังคมเพื่อการบูรณาการมาตรการทางสังคมเพื่อการบูรณาการ • ทรัพยากรที่ใช้ • Self Support • Cross Subsidy • Full Subsidy โดยรัฐ • บทบาทของรัฐ • Monopoly (Welfare State) • รัฐรับผิดชอบบางส่วน • Privatization - เอกชนทำภายใต้การกำกับ , เอกชนดำเนินการโดยอิสระ • Civil Society

  28. มาตรการทางสังคมเพื่อการบูรณาการมาตรการทางสังคมเพื่อการบูรณาการ 3. มาตรการเพื่อการควบคุมทางสังคม (Enforcement and regulatory mechanisms) • เพื่อให้เกิดมาตรฐานการให้บริการ • เพื่อความยุติธรรมในสังคม • เพื่อป้องกันการเอาเปรียบในสังคม

  29. มาตรการทางสังคมเพื่อการบูรณาการมาตรการทางสังคมเพื่อการบูรณาการ 4. มาตรการเพื่อสร้างความเป็นธรรม (การกระจายใหม่) (Redistributive Mechanisms) • เพื่อค้นหาผู้ขาดความสามารถในการใช้โอกาสทางสังคม • เพื่อกำหนดแนวทางที่ Selective ใน 3 มิติ • Target group (กลุ่มเป้าหมาย) - เด็ก - เยาวชน - สตรี - วัยแรงงาน - คนชรา - คนพิการ

  30. Sector (เนื้อหา) • Approach (วิธีการ) • - การบริการสังคม (Social Service) • - การให้ความช่วยเหลือ (Social Assistant) • - การประกันสังคม (Social Insurance)

  31. สังคมไม่ทอดทิ้งกัน สังคมคุณธรรม สังคมเข้มแข็ง เกื้อกูล ยั่งยืน ดีงาม ระดับปัจเจก ระดับครอบครัว ระดับชุมชน สังคม

More Related