1 / 31

การบริหารความเสี่ยงองค์กร

DMSc. การบริหารความเสี่ยงองค์กร. ดร.เกรียงศักดิ์ ศิริพงษาโรจน์ ผอ. สำนักนโยบายและแผน วว. 2. หัวข้อการนำเสนอ. แนวคิดเกี่ยวกับการบริหารความเสี่ยงระดับองค์กร ขั้นตอนและวิธีการบริหารความเสี่ยง กรณีบริหารความเสี่ยงของ วว. (แผนและผล) แนวคิดการบริหารความเสี่ยงกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์.

Download Presentation

การบริหารความเสี่ยงองค์กร

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. DMSc การบริหารความเสี่ยงองค์กร ดร.เกรียงศักดิ์ ศิริพงษาโรจน์ ผอ. สำนักนโยบายและแผน วว.

  2. 2 หัวข้อการนำเสนอ • แนวคิดเกี่ยวกับการบริหารความเสี่ยงระดับองค์กร • ขั้นตอนและวิธีการบริหารความเสี่ยง • กรณีบริหารความเสี่ยงของ วว.(แผนและผล) • แนวคิดการบริหารความเสี่ยงกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์

  3. Changing Condition Definition of Risk Risk : Any uncertain future events that might prevent the organization from achieving their business objectives. Expected Outcome Planned Process Starting Condition Objective or Target Deviation from Original Objective or Target Actual Process Objective or Target Time

  4. ความสำคัญของการบริหารความเสี่ยง การบริหารความเสี่ยงที่ดี จะช่วยในการเพิ่มประสิทธิภาพ และประสิทธิผลของการดำเนินงานขององค์กร • การวางแผนกลยุทธ์มีประสิทธิผลยิ่งขึ้น • ควบคุมต้นทุนการดำเนินงานได้ดีขึ้น • เพิ่มมูลค่าให้แก่ผู้ถือหุ้น (สำหรับ dmsc.เพิ่มความคุ้มค่าของงบประมาณที่ใช้) • เพิ่มความรู้ความเข้าใจในการเผชิญกับความเสี่ยง • การตัดสินใจเป็นระบบและมีข้อมูลที่ชัดเจน • เพิ่มความพร้อมที่จะให้องค์กรภายนอกเข้ามาทบทวนตรวจสอบ • การหยุดชะงักในการดำเนินงานมีน้อยที่สุด • การใช้ทรัพยากรต่างๆในการดำเนินงานดีขึ้นกว่าเดิม • เสริมสร้างความเข้มแข็งของวัฒนธรรมการปรับปรุงการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง

  5. ปัจจัยภายนอก ปัจจัยภายใน • เศรษฐกิจ/สังคม/ การเมือง/กฎหมาย • วัฒนธรรมองค์กร • ความรู้ ความสามารถ ของบุคลากร • คู่แข่ง/พฤติกรรมผู้บริโภค • เทคโนโลยี • กระบวนการทำงาน • ภัยธรรมชาติ • ข้อมูลระบบสารสนเทศ แหล่งที่มาของความเสี่ยง องค์กร

  6. Floodน้ำท่วมกรุงเทพฯ October 1942 ตุลาคม 2485

  7. Floodน้ำท่วมในประเทศไทย 1995 2538

  8. 7 ส.ค.-ต.ค. 2551 พายุใหญ่ถล่มไทย สมิทธฟันธง กทม.จมใต้บาดาลสมิทธ ฟันธง ส.ค.-ต.ค. พายุใหญ่ถล่มประเทศไทย ทำให้กทม.จมบาดาล ระบบประปาพินาศ คนเมืองหลวงไม่มีน้ำใช้ จี้หน่วยงานรัฐเร่งหามาตรการรับมือโดยด่วน ขณะที่อดีตนายกสภาวิศวกรรมสถานฯ หวั่น วัดพระแก้ว เสียหายหากเกิดน้ำท่วมพระบรมมหาราชวัง ดร.สมิทธ ธรรมสโรช ผอ.ศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ การออกมาแจ้งเตือนให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเตรียมตัวรับมือกับภัยพิบัติครั้งใหญ่ ที่อาจจะเกิดขึ้นกับประเทศไทย โดยเฉพาะในพื้นที่กรุงเทพมหานครของ ดร.สมิทธ ธรรมสโรช ผู้อำนวยการศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ ครั้งนี้ เมื่อวันที่ 4 มิถุนายน ในการเสวนาเรื่อง แผนรับมือวิบัติภัยในมหานครกรุงเทพ ซึ่งจัดโดยสถาบันพัฒนาเมือง กรุงเทพมหานคร

  9. 7 ดร.สมิทธ กล่าวต่อว่า ในพื้นที่ กทม.อาจได้รับผลกระทบโดยตรงจากรอยเลื่อน 2 รอย คือ รอยเลื่อนศรีสวัสดิ์ และรอยเลื่อนเจดีย์สามองค์ จ.กาญจนบุรี หากเกิดแผ่นดินไหวซ้ำขึ้นมาอีก เชื่อว่าจะส่งผลให้เขื่อนศรีนครินทร์และเขื่อนวชิราลงกรณ์แตก และทำให้น้ำปริมาณกว่า 17 ล้านลูกบาศก์เมตร ไหลทะลักเข้าสู่ จ.ราชบุรี จ.นครปฐม และ กทม."กรุงเทพฯ ตั้งอยู่บนดินเลน เมื่อได้รับผลกระทบจากแผ่นดินไหวแล้ว ระยะสั่นสะเทือนจะขยายตัว 2-3 ริกเตอร์ ทำให้อาคารที่สูงไม่เกิน 6 ชั้น อาจแตกร้าวและพังทลายลงมา ส่วนอาคารสูงไม่น่าเป็นห่วง เพราะวิศวกรได้ออกแบบอาคารไว้รองรับอยู่แล้ว อย่างไรก็ตาม ขณะนี้ประเทศไทยไม่มีความพร้อมในการรับมือกับแผ่นดินไหว โดยเฉพาะหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการให้ความช่วยเหลือกรณีเกิดภัยพิบัติ หากเกิดเหตุการณ์ขึ้นจริงอาจทำให้เกิดความเสียหายมาก" ดร.สมิทธ กล่าว

  10. Epidemicsโรคระบาด Influenza: 1844, 1919, 1957 and 1968 ไข้หวัดใหญ่ : 2387 2462 2500 และ 2511 Polio: 1938 and 1953 โปลิโอ : 2481 และ 2496

  11. Water Crisis

  12. Anthrax lettersจดหมายเชื้อโรค

  13. ประเภทของความเสี่ยง ความเสี่ยง ด้านกฎหมาย Compliance Risk ความเสี่ยง เชิงกลยุทธ์ Strategic Risk ความเสี่ยง ด้านสารสนเทศ Information Risk ประเภท ของ ความเสี่ยง ความเสี่ยง ทางการเงิน Financial Risk ความเสี่ยง ในการปฏิบัติการ Operational Risk ความเสี่ยง จากภัยธรรมชาติ Natural Disaster Risk

  14. ตัวอย่างประเภทความเสี่ยงและความเสี่ยง ตัวอย่างประเภทความเสี่ยงและความเสี่ยง

  15. ตัวอย่างประเภทความเสี่ยงและความเสี่ยง ตัวอย่างประเภทความเสี่ยงและความเสี่ยง

  16. ตัวอย่างประเภทความเสี่ยงและความเสี่ยง ตัวอย่างประเภทความเสี่ยงและความเสี่ยง

  17. ตัวอย่างประเภทความเสี่ยงและความเสี่ยง ตัวอย่างประเภทความเสี่ยงและความเสี่ยง

  18. ตัวอย่างประเภทความเสี่ยงและความเสี่ยง ตัวอย่างประเภทความเสี่ยงและความเสี่ยง

  19. ตัวอย่างประเภทความเสี่ยงและความเสี่ยง ตัวอย่างประเภทความเสี่ยงและความเสี่ยง

  20. ตัวอย่างประเภทความเสี่ยงและความเสี่ยง ตัวอย่างประเภทความเสี่ยงและความเสี่ยง

  21. ตัวอย่างประเภทความเสี่ยงและความเสี่ยง ตัวอย่างประเภทความเสี่ยงและความเสี่ยง

  22. 5 ขั้นตอนและวิธีการบริหารความเสี่ยง

  23. ขั้นตอนการบริหารความเสี่ยงขั้นตอนการบริหารความเสี่ยง ปัจจัยภายนอก ปัจจัยภายใน เกิดการเปลี่ยนแปลง ไม่สามารถคาดการณ์ ได้อย่างแม่นยำ โอกาส ความไม่แน่นอน ความเสี่ยง 1. การระบุปัจจัยเสี่ยง 2. การประเมินและวิเคราะห์ปัจจัยเสี่ยง ผลกระทบ 3. การบริหารความเสียง โอกาสเกิด ความเสี่ยงภายใต้การควบคุมในปัจจุบัน ความเสี่ยงที่ยอมรับ ระดับความเสียง การบริหารความเสี่ยง กระบวนการต่อเนื่อง

  24. 1. การระบุปัจจัยเสี่ยง องค์กร หน่วยธุรกิจ หน่วยงาน กิจกรรม • กำหนดวัตถุประสงค์/เป้าหมายของ Risk Area ให้ชัดเจน โดยใช้หลักการSMART • ระบุปัจจัยเสี่ยงต่าง ๆ ที่กระทบต่อ Risk Area ที่กำหนด โดยวิเคราะห์หาแหล่ง ของความเสี่ยง (Source of Risk) หรือต้นเหตุที่แท้จริง (Root Cause) ของแต่ละ Risk Area S = Specific M =Measurable A = Attainable R = Realistic T = Timely Risk Identification Tools • Internal / External Factor Analysis • Value Chain Analysis • Process Flowchart Review • Cause-and-Effect Diagram • What-If Analysis

  25. วัดด้านการเงิน ผลกระทบ วัดด้านอื่น ความเสี่ยง ความถี่ในอดีต โอกาสเกิด คาดการณ์อนาคต 2. การประเมินและวิเคราะห์ความเสี่ยง Risk Assessment & Analysis Tools • ระบุมาตรการปัจจุบันที่ได้ดำเนินการ เพื่อ ควบคุมหรือลดความความเสี่ยงของแต่ละ ปัจจัยเสี่ยง • ประเมินความเสี่ยงที่มีอยู่ภายใต้มาตรการ ดังกล่าว โดยวิเคราะห์ผลกระทบในด้านต่างๆและโอกาสในการเกิด • Sensitivity Analysis • Historical Data Analysis • Statistical Analysis • Forecasting Method • Decision Tree Analysis • Monte Carlo Analysis

  26. ตารางการประเมินความเสี่ยงตารางการประเมินความเสี่ยง 4 E 4 E 3 E 2 E 1 รุนแรงมาก Priority Risk Level รุนแรง 3 M 11 H 7 E 6 E 5 Impact ( ผลกระทบ) 2 ปานกลาง L 14 M 12 H 8 H 9 1 น้อย H 10 L 15 M 13 L 16 Risk Level Likelihood (โอกาสที่อาจเกิดขึ้น) E = Extreme H = High M = Medium L = Low เกือบจะ แน่นอน น้อย ปานกลาง สูง 1 2 3 4

  27. ผลกระทบ 4 3 2 1 ลดโอกาสเกิด ลดผลกระทบ โอกาสเกิด 1 2 3 4 3 : การบริหารความเสี่ยง • ระบุมาตรการในการบริหารจัดการความเสี่ยงให้สอดคล้องกับ Source of Risk ที่ได้ระบุไว้แล้วและพิจารณาคัดเลือกมาตรการ โดย Cost and Benefit Analysis • ระบุผู้รับผิดชอบและระยะเวลา ดำเนินการตามมาตรการบริหาร ความเสี่ยงอย่างชัดเจน • การยอมรับความเสี่ยง (Take) • การดูแลแก้ไข (Treat) • การยกเลิก (Terminate) • การโอนความเสี่ยง (Transfer) กลยุทธ์การบริหารความเสี่ยง

  28. กลยุทธ์การบริหารความเสี่ยงกลยุทธ์การบริหารความเสี่ยง • หลีกเลี่ยงความเสี่ยง (Terminate) ตัวอย่างเช่น หลีกเลี่ยงความเสี่ยงจากอัตราการแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ด้วยการไม่กู้ยืมจากต่างประเทศ • กระจายความเสี่ยง (Treat) ตัวอย่างเช่น การมีระบบผลิตหลายๆระบบ เพื่อลดความเสี่ยงจากการที่ต้องหยุดกิจการ • ควบคุม (Treat) กำหนดวิธีการดำเนินงานหรือกิจกรรมที่ต้องดำเนินการเพื่อป้องกันและตรวจจับเหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ หรือ, หากเกิดเหตุการณ์ขึ้น, ควบคุมสถานะการณ์ไม่ให้ลุกลาม • ให้ผู้อื่นเข้ามามีส่วนร่วมในความเสี่ยง (Share & Transfer) ตัวอย่างเช่น การประกันภัยจากความเสี่ยงเรื่องอัคคีภัย • ถ่ายโอนความเสี่ยงให้ผู้อื่น (Transfer) ตัวอย่างเช่น การว่าจ้างองค์กรอื่นให้ดำเนินงานแทนในบางเรื่อง (Outsourcing)

  29. กลยุทธ์การบริหารความเสี่ยงกลยุทธ์การบริหารความเสี่ยง • ยอมรับความเสี่ยงในระดับหนึ่ง (Take)เพื่อมิให้ค่าใช้จ่ายในการบริหารความเสี่ยงสูงเกินกว่าประโยชน์ที่จะได้รับ ตัวอย่างเช่น การยอมให้ตัวอย่างน้ำประปาที่ไม่ได้มาตรฐานแบคทีเรียโคลิฟอร์ม มีได้ไม่เกิน 2% ของตัวอย่างทั้งหมด แทนที่จะเป็น 0% การบริหารความเสี่ยง จำเป็นต้องใช้ดำเนินการแบบบูรณาการ กล่าวคือ ใช้กลยุทธ์และเทคนิคต่างๆอย่างเหมาะสม ให้ครอบคลุมทุกเหตุการณ์ที่เป็นความเสี่ยง

  30. 5

More Related