1 / 88

บทบาทกระทรวงและกรมในการสนับสนุน การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์จังหวัด/กลุ่มจังหวัด

บทบาทกระทรวงและกรมในการสนับสนุน การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์จังหวัด/กลุ่มจังหวัด. แนวคิดการบูรณาการ การทำงานร่วมกันของทุกภาคส่วน. Global Reach. มหภาค. กระแสโลกาภิวัตน์ การรวมกลุ่มภูมิภาค. ผลประโยชน์ของชาติ. ภาควิชาการ. การแข่งขันความร่วมมือ. ภาคธุรกิจ/เอกชน. วาระแห่งชาติ นโยบายรัฐบาล.

Download Presentation

บทบาทกระทรวงและกรมในการสนับสนุน การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์จังหวัด/กลุ่มจังหวัด

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทบาทกระทรวงและกรมในการสนับสนุนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์จังหวัด/กลุ่มจังหวัดบทบาทกระทรวงและกรมในการสนับสนุนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์จังหวัด/กลุ่มจังหวัด

  2. แนวคิดการบูรณาการการทำงานร่วมกันของทุกภาคส่วนแนวคิดการบูรณาการการทำงานร่วมกันของทุกภาคส่วน

  3. Global Reach มหภาค กระแสโลกาภิวัตน์ การรวมกลุ่มภูมิภาค ผลประโยชน์ของชาติ ภาควิชาการ การแข่งขันความร่วมมือ ภาคธุรกิจ/เอกชน วาระแห่งชาติ นโยบายรัฐบาล แผนการบริหารราชการแผ่นดิน ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด/จังหวัด พันธมิตร รัฐธรรมนูญ ผู้ว่าราชการจังหวัด แบบบูรณาการ ชุมชน/ประชาชน การสนับสนุน ข้อเรียกร้อง/ ความต้องการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น Local Link จุลภาค

  4. เจตนารมณ์และหลักการของการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการเจตนารมณ์และหลักการของการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ ส่วนที่ 1 บริบทของกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ การจัดตั้งกลุ่มจังหวัดและการกำหนดจังหวัดที่เป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด กลไกในการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ

  5. บริบทของกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการบริบทของกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ

  6. บริบทด้านกฎหมาย รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 มาตรา 78(2)กำหนดให้รัฐต้องดำเนินการสนับสนุนให้จังหวัดมีแผนและงบประมาณเพื่อพัฒนาจังหวัด เพื่อประโยชน์ของประชาชนในพื้นที่ มาตรา 87(1)กำหนดให้รัฐต้องดำเนินการส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบายและวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมทั้งในระดับชาติและระดับท้องถิ่น มาตรา 283 วรรคแรก องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีอํานาจหน้าที่ดูแลและจัดทําบริการสาธารณะ และมีความเป็นอิสระในการกําหนดนโยบาย การบริหารการจัดบริการสาธารณะ การบริหารงานบุคคล การเงินและการคลัง โดยต้องคํานึงถึงความสอดคล้องกับการพัฒนาของจังหวัดและประเทศเป็นส่วนรวมด้วย

  7. บริบทด้านกฎหมาย พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน(ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2550ที่แก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 มาตรา 52 วรรคสาม เพื่อประโยชน์ในการบริหารงานแบบบูรณาการในจังหวัดหรือกลุ่มจังหวัด ให้จังหวัดหรือกลุ่มจังหวัดยื่นคำขอจัดตั้งงบประมาณได้และเป็นส่วนราชการตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ • มาตรา 53/1 • แผนพัฒนาจังหวัดต้องสอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในระดับชาติ และความต้องการของประชาชนในท้องถิ่นในจังหวัด • ผู้ว่าราชการจังหวัดจัดให้มีการประชุมปรึกษาหารือร่วมกันระหว่างหัวหน้าส่วนราชการในจังหวัดทั้งส่วนภูมิภาค ส่วนกลางและผู้บริหารท้องถิ่นทั้งหมดในจังหวัด รวมทั้งผู้แทนภาคประชาสังคม และผู้แทนภาคธุรกิจเอกชน • แผนพัฒนาท้องถิ่นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และการดำเนินกิจการของส่วนราชการและหน่วยงานอื่นของรัฐทั้งปวงที่กระทำในพื้นที่จังหวัดต้องสอดคล้องกับแผนพัฒนาจังหวัด

  8. เจตนารมณ์ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2550 และ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ พ.ศ. 2551 การพัฒนา Development Model การจัดการที่ดี Governance Model ยึดพื้นที่ Area-based Approach ความร่วมมือ Collaboration/ Joined-Up Government • ยึดพื้นที่เป็นหลักในการพัฒนาเพื่อกระจายการพัฒนาและลดความเหลื่อมล้ำของความเจริญเติบโตระหว่างพื้นที่ต่างๆ ในประเทศ แบ่งเป็น 18 กลุ่มจังหวัดและ 75 จังหวัด (กลุ่มจังหวัดเน้นยุทธศาสตร์เรี่องการสร้าง competitiveness จังหวัดเน้นยุทธศาสตร์เรื่องพัฒนาสังคม รวมถึงการสร้างโอกาสและอาชีพ) • ต้องการให้แต่ละพื้นที่มี position ในการพัฒนาที่ชัดเจน และผ่านการเห็นชอบร่วมกันทุกฝ่าย เพื่อให้เกิดความยั่งยืนและร่วมมือร่วมใจกัน • การจัดการความสัมพันธ์แนวดิ่งระหว่างส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น • แบ่งหน้าที่กันทำตามแต่ละยุทธศาสตร์ (มาเจรจาและทำข้อตกลงร่วมกัน) • ลดความซ้ำซ้อนของการใช้งบประมาณแผ่นดิน หรือระดมทรัพยากรเข้ามาใช้ร่วมกันให้เกิดประโยชน์สูงสุดในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ • การจัดการความสัมพันธ์แนวนอนระหว่างภาครัฐและภาคส่วนอื่นในสังคม (ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม) • ประสานการลงทุนภาคเอกชน และเชื่อมโยงเข้ากับแผนชุมชน • กำหนดให้ ผู้ว่าราชการจังหวัด เป็นตัว linkage ฝ่ายต่างๆ เข้าด้วยกัน

  9. หลักการสำคัญตามกฎหมายหลักการสำคัญตามกฎหมาย • ระหว่างนโยบายการพัฒนาประเทศ นโยบายของ • รัฐบาลกับความต้องการของประชาชนในท้องถิ่น • ความต้องการและศักยภาพของประชาชน ความ • พร้อมของภาครัฐและภาคธุรกิจเอกชนและความ • สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ระดับ ความสอดคล้อง และเชื่อมโยง การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน • ผู้ว่าราชการจังหวัดประสานและสร้าง • การมีส่วนร่วม • เปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนได้เข้ามาร่วม • ในการกำหนดยุทธศาสตร์ การจัดทำแผน • พัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัดเพื่อให้เกิด • ความเห็นพ้องต้องกันในยุทธศาสตร์ของ • จังหวัดและกลุ่มจังหวัด และร่วมรับผิดชอบ • ต่อการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ การบูรณาการ • บูรณาการตั้งแต่กระบวนการวางแผน กระบวนการ • กำหนดยุทธศาสตร์ การบริหารตามแผนและ • ยุทธศาสตร์ รวมไปถึงการบูรณาการระหว่าง • แผนงานและแผนงบประมาณ • การบูรณาการระหว่างภาครัฐ ภาคท้องถิ่น และ • ภาครัฐกับภาคธุรกิจเอกชน

  10. การจัดตั้งกลุ่มจังหวัดและการกำหนดจังหวัดที่เป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัดการจัดตั้งกลุ่มจังหวัดและการกำหนดจังหวัดที่เป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด

  11. กรอบแนวคิดการจัดกลุ่มจังหวัดในประเทศไทยกรอบแนวคิดการจัดกลุ่มจังหวัดในประเทศไทย 1. ไม่ใช่พื้นที่ทางการปกครอง 2. เป็นพื้นที่ในการบริหารเชิงยุทธศาสตร์ เพราะตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติอย่างเกิดประโยชน์สูงสุด 3. ประสานความร่วมมือ สรรพกำลัง และทรัพยากรระหว่างจังหวัดในกลุ่มให้สอดคล้องกับปัญหาและศักยภาพ

  12. กลุ่มจังหวัด การจัดตั้ง ให้ ก.น.จ. เป็นผู้พิจารณาจัดตั้งกลุ่มจังหวัดและจังหวัดที่เป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด และเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบ การจัดตั้งกลุ่มจังหวัดและจังหวัดที่เป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัดดังกล่าวให้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดของจังหวัดเป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัดทำหน้าที่เป็นหัวหน้ากลุ่มจังหวัด เว้นแต่ ก.น.จ. จะกำหนดเป็นอย่างอื่น

  13. แนวทางการกำหนดจังหวัดที่เป็นศูนย์ปฏิบัติการกลุ่มจังหวัดแนวทางการกำหนดจังหวัดที่เป็นศูนย์ปฏิบัติการกลุ่มจังหวัด ต้องเป็นจังหวัดที่มีลักษณะสอดคล้องกับลักษณะข้อใดข้อหนึ่งหรือมากกว่า 1.เป็นจังหวัดที่มีการคมนาคม ติดต่อสื่อสารและเชื่อมโยงระหว่างจังหวัดในกลุ่มได้สะดวก 2. เป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ และสามารถขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัดได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. เป็นศูนย์กลางทางสังคมและวัฒนธรรม หรือเป็นศูนย์กลางทางการศึกษาที่สามารถสนับสนุนความรู้ทางวิชาการให้กับจังหวัดภายในกลุ่มจังหวัดได้ 4. เป็นศูนย์กลางของหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และธุรกิจต่าง ๆ 5. เป็นจังหวัดที่มีศักยภาพและความพร้อมที่จะให้การสนับสนุนการดำเนินการในเรื่องแผนงาน งบประมาณ และทรัพยากรทางการบริหารให้กับจังหวัดอื่นในกลุ่มได้

  14. กลุ่มจังหวัดและจังหวัดที่เป็นศูนย์ปฏิบัติการกลุ่มจังหวัดกลุ่มจังหวัดและจังหวัดที่เป็นศูนย์ปฏิบัติการกลุ่มจังหวัด มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2552 เห็นชอบให้มีการจัดตั้งกลุ่มจังหวัด จำนวน 18 กลุ่มจังหวัด และกำหนดจังหวัดที่เป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด

  15. หัวหน้ากลุ่มจังหวัด • (มติ ก.น.จ. ครั้งที่ 1/2552 วันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2552) • กำหนดให้ผู้ว่าราชการจังหวัดของจังหวัดที่เป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด ทำหน้าที่เป็นหัวหน้ากลุ่มจังหวัด ตามข้อกำหนดของพระราชกฤษฎีกา • เฉพาะกลุ่มจังหวัดภาคใต้ชายแดน (สงขลา สตูล ยะลา ปัตตานี นราธิวาส) ให้ผู้อำนวยการศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัด • ชายแดนภาคใต้ (ผอ.ศอ.บต.) ทำหน้าที่หัวหน้ากลุ่มจังหวัด  กลุ่มภาคใต้ชายแดน เรื่องการจัดตั้งกลุ่มจังหวัด และจังหวัดที่เป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด (ได้รับการประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 126 ตอนพิเศษ 28ง วันที่ 18 ก.พ. 52)

  16. กลไกในการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการกลไกในการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ

  17. หลักการการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการหลักการการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ • เป็นไปตามแผนพัฒนาจังหวัดหรือแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด • สร้างโอกาสและส่งเสริมให้เกิดการมีส่วนร่วมระหว่างภาครัฐและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคเอกชน และภาคประชาสังคมในจังหวัด • กระจายอำนาจการตัดสินใจลงไปสู่ระดับผู้ปฏิบัติ • การส่งเสริมและสนับสนุนให้ท้องถิ่นมีความพร้อมในการรองรับการกระจายอำนาจ • การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี

  18. กลไกการบริหารงานจังหวัดกลไกการบริหารงานจังหวัด และกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ คณะกรรมการนโยบายการบริหารงานจังหวัดและ กลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ ก.น.จ. ระดับชาติ นายกรัฐมนตรี ระดับกลุ่มจังหวัด ก.บ.ก. คณะกรรมการบริหารงานกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ หัวหน้ากลุ่มจังหวัด ระดับจังหวัด ก.บ.จ. จังหวัด 2 คณะกรรมการบริหารงานจังหวัด แบบบูรณาการ ผู้ว่าราชการจังหวัด จังหวัด 4 จังหวัด 1 จังหวัด 3 องค์ประกอบหลัก: 1-ภาครัฐ 2-ผู้บริหารท้องถิ่น 3-ภาคธุรกิจเอกชน 4-ภาคประชาสังคม

  19. ก.บ.ก. องค์ประกอบ ประธาน:หัวหน้ากลุ่มจังหวัด มาตรา 12 รองประธานกรรมการ ผู้ว่าราชการจังหวัดในกลุ่มจังหวัดทุกจังหวัด กรรมการ • ผู้แทนหัวหน้าส่วนราชการประจำจังหวัดในกลุ่มจังหวัดที่ผู้ว่าราชการ • จังหวัดมอบหมายจังหวัดละไม่เกิน2 คน (มีวาระ 3 ปี) * • นายก อบจ.ในกลุ่มจังหวัดทุกจังหวัด • นายกเทศมนตรีในกลุ่มจังหวัด จังหวัดละ 1 คน * • นายก อบต.ในกลุ่มจังหวัด จังหวัดละ 1 คน • ผู้แทนภาคประชาสังคม (มีวาระ 3 ปี)* • ผู้แทนภาคธุรกิจเอกชน* กรรมการและเลขานุการ ข้าราชการในสังกัดกระทรวงมหาดไทยที่ปลัดกระทรวงมหาดไทยแต่งตั้ง กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ หัวหน้าสำนักงานจังหวัดของทุกจังหวัดในกลุ่มจังหวัด 19

  20. ข้อเสนอการได้มา ซึ่งกรรมการใน ก.บ.ก. (เป็นไปตามประกาศ ก.น.จ.) • วิธีการได้มา • ผวจ. จัดประชุมกรรมการ ก.บ.จ.เฉพาะผู้ที่เป็น • ผู้แทนผู้บริหาร อปท. และให้เลือกกันเอง • นายกเทศมนตรี • (จังหวัดละ 1 คน) • นายก อบต. • (จังหวัดละ 1 คน) • วิธีการได้มา • ผวจ. ประชุมกรรมการ ก.บ.จ.เฉพาะผู้ที่เป็น • ภาคประชาสังคม และให้เลือกกันเอง ให้ได้ • หญิง 1 คน และชาย 1 คน • ผู้แทนภาคประชาสังคม • ( จังหวัดละ 2 คน) • วิธีการได้มา * • 1. ประธานหอการค้ากลุ่มจังหวัด • 2. ประธานสภาอุตสาหกรรมกลุ่มจังหวัด • ผู้แทนภาคธุรกิจเอกชน • ( จำนวน 2 คน) * กรณีไม่มี 1) หรือ 2) ให้หัวหน้ากลุ่มจังหวัดจัดประชุมประธานหอการค้าจังหวัดหรือประธานอุตสาหกรรมจังหวัดในกลุ่มจังหวัดนั้น เพื่อให้เลือกกันเอง 20

  21. ผู้ว่าราชการจังหวัด อำนาจหน้าที่ • บริหารงานจังหวัดให้สอดคล้องกับแนวนโยบาย-แผนระดับชาติและความ • ต้องการของประชาชน • (2) ประสานให้ภาครัฐ อปท. ภาคประชาสังคมและภาคเอกชน มีส่วน • ร่วมในการวางยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด • (3) บูรณาการการงบประมาณและแสวงหาความร่วมมือและการสนับสนุนจากทุกฝ่าย • (4) ส่งเสริมและสนับสนุน อปท.ให้มีความเข้มแข็งในการพัฒนาท้องถิ่น • (5) สนับสนุนภาคประชาสังคมให้มีความเข้มแข็ง สามารถบริหารจัดการและแก้ไข • ปัญหาได้ด้วยตนเองอย่างยั่งยืน • (6) เสริมสร้างการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีและการบริหารการเปลี่ยนแปลง • (7) กระทำตนเป็นแบบอย่าง ส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้และพัฒนาผู้ปฏิบัติงาน หัวหน้ากลุ่มจังหวัด อำนาจหน้าที่ • มีอำนาจหน้าที่เช่นเดียวกับผู้ว่าราชการจังหวัด • ประสาน เร่งรัด ติดตามการดำเนินงานของผู้ว่าราชการจังหวัดที่เกี่ยวข้อง • กับแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดและแผนปฏิบัติราชการประจำปีของกลุ่มจังหวัด

  22. กลไกของส่วนราชการที่สนับสนุนการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการกลไกของส่วนราชการที่สนับสนุนการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ

  23. คณะกรรมการร่วมภาครัฐ และเอกชนเพื่อแก้ไขปัญหาทางเศรษฐกิจ (กรอ.) กรอ.กลุ่มจังหวัด กรอ.จังหวัด กลไกของส่วนราชการที่จะสนับสนุนยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัดและจังหวัด กลไกระหว่าง ก.น.จ. กับ กรอ. ทั้งในระดับชาติ กลุ่มจังหวัด และ จังหวัด 23

  24. ระดับชาติ ภาพความเชื่อมโยงระหว่าง ก.น.จ. กับ กรอ. กรอ. ก.น.จ. 24

  25. ภาพความเชื่อมโยงระหว่าง ก.บ.ก. กับ กรอ. กลุ่มจังหวัด ระดับกลุ่มจังหวัด กรอ. กลุ่มจังหวัด ก.บ.ก.

  26. ภาพความเชื่อมโยงระหว่าง ก.บ.จ. กับ กรอ. จังหวัด ระดับจังหวัด กรอ. จังหวัด ก.บ.จ.

  27. กลไกของส่วนราชการที่จะสนับสนุนยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัดและจังหวัด จำแนกตามประเด็นยุทธศาสตร์ ประเด็นยุทธศาสตร์การท่องเที่ยว ประเด็นยุทธศาสตร์การเกษตร ตัวอย่าง

  28. กลไกของส่วนราชการที่จะสนับสนุนยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัดและจังหวัด(ต่อ)กลไกของส่วนราชการที่จะสนับสนุนยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัดและจังหวัด(ต่อ) ประเด็นยุทธศาสตร์ด้านทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ประเด็นยุทธศาสตร์ด้านอุตสาหกรรม ตัวอย่าง

  29. ส่วนที่ 2 แนวทางและขั้นตอนในการจัดทำแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด ความหมายและขอบเขตของแผน พัฒนาจังหวัดและแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด กระบวนการและขั้นตอนการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดและแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด

  30. ความหมายและขอบเขตของ พัฒนาจังหวัดและ แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด

  31. กรอบนโยบายในการจัดทำแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดและแผนพัฒนาจังหวัดกรอบนโยบายในการจัดทำแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดและแผนพัฒนาจังหวัด กรอบแนวทาง • นำนโยบายของรัฐบาลโดยเฉพาะนโยบายเร่งด่วนตามแผนฟื้นฟูเศรษฐกิจของรัฐบาล มาเป็นกรอบหลักในการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดและแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด • เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ สร้างโอกาสและเพิ่มรายได้ และลดภาระค่าครองชีพของประชาชน • นำแผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กรอบยุทธศาสตร์การพัฒนาภาค และยุทธศาสตร์รายสาขา อาทิ ยุทธศาสตร์การท่องเที่ยว มาใช้ประกอบในการจัดทำแผนฯ • มุ่งเน้นการทำงานแบบเครือข่ายร่วมกันทุกภาคส่วนโดยคำนึงความพร้อมของทุกภาคส่วน • 3) รับฟังความต้องการของประชาชนในท้องถิ่น แผนพัฒนาจังหวัด แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด แผนที่มุ่งการพัฒนาจังหวัดแบบองค์รวมที่ครอบคลุม ทุกมิติในด้านเศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมและความมั่นคง เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต สร้างโอกาสและอาชีพซึ่งตอบสนองต่อความต้องการของประชาชนในจังหวัด แผนที่มุ่งเน้นการพัฒนาด้านเศรษฐกิจและสังคม เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของกลุ่มจังหวัดและนำไปสู่การกระตุ้นให้เกิดการลงทุนของภาคเอกชนและสร้างรายได้ให้กลุ่มจังหวัด

  32. แผนพัฒนาจังหวัด *(มาตรา 3) ระยะเวลา4 ปี ความหมาย • รายการเกี่ยวกับโครงการและแผนงานต่างๆของจังหวัดที่จำเป็นต้องจัดทำเพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์และ ทิศทางการพัฒนาของจังหวัดในอนาคต โดยต้องคำนึงถึงความต้องการและศักยภาพของประชาชนในท้องถิ่นในจังหวัดรวมตลอดถึงความพร้อมของภาครัฐและภาคธุรกิจเอกชน และยุทธศาสตร์ระดับชาติ • มีกระบวนการรับฟังหรือให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการกำหนดความต้องการในการพัฒนาพื้นที่ของจังหวัดมาพิจารณาให้เกิดความผสมผสาน • ไม่ขัดแย้งในด้านใดด้านหนึ่ง *(มาตรา 18) องค์ประกอบ • อย่างน้อยต้องระบุรายละเอียดของ • - วิสัยทัศน์ • - ประเด็นยุทธศาสตร์ • - เป้าประสงค์ • - ตัวชี้วัด • - ค่าเป้าหมาย และ • - กลยุทธ์ * พรฎ. การบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ พ.ศ. 2551

  33. แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด ระยะเวลา4 ปี ความหมาย *(มาตรา 3) • รายการเกี่ยวกับโครงการและแผนงานต่างๆ ของกลุ่มจังหวัดที่จำเป็นต้องจัดทำเพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์และทิศทางการพัฒนาของกลุ่มจังหวัดในอนาคตโดยต้องคำนึงถึงความต้องการและศักยภาพของประชาชนในท้องถิ่นในกลุ่มจังหวัด รวมตลอดถึงความพร้อมของภาครัฐและภาคธุรกิจเอกชน และยุทธศาสตร์ระดับชาติ • กระบวนการรับฟังหรือให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการกำหนดความต้องการในการพัฒนาพื้นที่ของจังหวัดมาพิจารณาให้เกิดความผสมผสานไม่ขัดแย้งในด้านใดด้านหนึ่ง *(มาตรา 27) องค์ประกอบ • อย่างน้อยต้องระบุรายละเอียดของ • - วิสัยทัศน์ • - ประเด็นยุทธศาสตร์ • - เป้าประสงค์ • - ตัวชี้วัด • - ค่าเป้าหมาย และ • - กลยุทธ์ * พรฎ. การบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ พ.ศ. 2551

  34. ระหว่างแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด แผนปฏิบัติราชการประจำปีของ กลุ่มจังหวัด และคำของบประมาณกลุ่มจังหวัด ความเชื่อมโยง แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด แผนปฏิบัติราชการประจำปีของกลุ่มจังหวัด รายการแผนงาน/ โครงการตามแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดที่ดำเนินการโดยกลุ่มจังหวัด(ระบุจังหวัดที่รับผิดชอบ) กระทรวง กรม องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น หรือหน่วยงานอื่นใดของรัฐ หรือเอกชน • คำของบประมาณกลุ่มจังหวัด • งบดำเนินงาน (ตัวอย่างเช่น ค่าบริหารการจัดทำแผน ค่าจัดประชุมปรึกษาหารือฯ งบพัฒนาบุคลากร งบติดตามประเมินผล ฯลฯ) • โครงการตามแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดที่ดำเนินการโดยกลุ่มจังหวัด

  35. ระหว่างแผนพัฒนาจังหวัด แผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด และคำของบประมาณกลุ่มจังหวัด ความเชื่อมโยง แผนพัฒนาจังหวัด แผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด รายการแผนงาน/ โครงการตามแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดที่ดำเนินการโดยจังหวัด(ระบุจังหวัดที่รับผิดชอบ) กระทรวง กรม องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น หรือหน่วยงานอื่นใดของรัฐ หรือเอกชน • คำของบประมาณจังหวัด • งบดำเนินงาน (ตัวอย่างเช่น ค่าบริหารการจัดทำแผน ค่าจัดประชุมปรึกษาหารือฯ งบพัฒนาบุคลากร งบติดตามประเมินผล ฯลฯ) • โครงการตามแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดที่ดำเนินการโดยจังหวัด

  36. ยุทธศาสตร์การท่องเที่ยว (กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออก ) กลุ่มจังหวัด ตัวอย่าง Value Chains พัฒนาศักยภาพ ผู้ประกอบการท่องเที่ยวและ อุตสาหกรรมใกล้เคียง การควบคุม มาตรฐานอยู่ในเกณฑ์ Eco- Destination พัฒนาระบบสิทธิประโยชน์ให้เกิดการลงทุนจากต่างประเทศ พัฒนาด้านการตลาดและ ประชาสัมพันธ์ พัฒนา แหล่งท่องเที่ยว พัฒนาระบบคมนาคม โครงการส่งเสริม และสนับสนุนการพัฒนา แหล่งท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ (กระทรววงการท่องเที่ยว และกีฬา) โครงการส่งเสริมการลงทุนภาคธุรกิจท่องเที่ยว (BOI) โครงการปรับปรุงและ พัฒนาศูนย์รับแจ้งเหตุและ ให้บริการนักท่องเที่ยว (กระทรวงการท่องเที่ยว และกีฬา) โครงการปรับปรุง ระบบนิเวศชายฝั่ง (กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม) กระทรวง/กรม โครงการสร้างเพิ่ม ช่องทางจราจรทางหลวง เพื่อเชื่อมโยงสู่อินโดจีน (กระทรวงคมนาคม) กลุ่มจังหวัด โครงการพัฒนา บุคลากรและ ผู้ประกอบการ ด้านการท่องเที่ยว โครงการพัฒนาระบบ ความปลอดภัยและการให้ บริการประชาชน เมื่อมีเหตุฉุกเฉิน จังหวัด โครงการฝึกอบรม อาสาสมัครดำน้ำเพื่อ ช่วยเหลือผู้ประสบภัย (จ.ชลบุรี) โครงการท่องเที่ยว เกษตรเชิงอนุรักษ์ (จ.ชลบุรี) โครงการจัดงานประเพณี ประจำปี (จ.ตราด) โครงการยุวมัคคุเทศก์ (จ.จันทบุรี) ท้องถิ่น โครงการปรับปรุงทัศนียภาพเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม โครงการก่อสร้าง ท่าเทียบเรือขนาดเล็ก ชุมชน โครงการหมู่บ้าน OTOP เอกชน โครงการสร้าง แหล่งท่องเที่ยวทางเลือก (Spa, Zoo)

  37. ศูนย์กลางการผลิตและการจำหน่ายข้าวหอมมะลิชั้นดีสู่ตลาดโลกศูนย์กลางการผลิตและการจำหน่ายข้าวหอมมะลิชั้นดีสู่ตลาดโลก ตัวอย่าง จังหวัดร้อยเอ็ด การพัฒนาระบบการตลาด การแปรสภาพเพิ่มและสร้างคุณค่า การเพิ่มผลผลิต พัฒนาคุณภาพและลดต้นทุน Value Chains ส่งเสริม การผลิต และใช้ เมล็ดพันธุ์ดี การพัฒนา คุณภาพ เพื่อ ส่งออก การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ศูนย์ กระจาย สินค้าและโลจิสติกส์ การ จัดการ พื้นที่แปลงปลูก การ จัดการ ศัตรูพืช การ ตรวจสอบ มาตรฐาน การ ปรับปรุงดิน การ จัดการ ระบบน้ำ การ แปรสภาพ การ เกี่ยวนวด โครงการส่งเสริมตลาดข้าวหอมมะลิเพื่อการส่งออก โครงการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ข้าวหอมมะลิระบบสูญญากาศ โครงการเพิ่มศักยภาพการผลิตข้าวหอมมะลิคุณภาพดีสู่ตลาดโลก โครงการปรับปรุงระบบชลประทาน กระทรวง/กรม โครงการส่งเสริมเกษตรอินทรีย์ในพื้นที่ปลูกพืชเศรษฐกิจ โครงการส่งเสริมการปรับปรุงบำรุงดินด้วยปุ๋ยอินทรีย์ โครงการพัฒนาแหล่งน้ำขนาดล็กเพื่อการเกษตร โครงการส่งเสริมการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว โครงการพัฒนาองค์ความรู้ด้านการแปรรูปให้แก่ผู้ประกอบการ จังหวัด โครงการส่งเสริมอุปกรณ์เคร่องอัดฟางเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตภาคการเกษตร โครงการจัดตั้งโรงงานผลิตปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพ โครงการก่อสร้างตลาดกลางสินค้าเกษตร ท้องถิ่น โครงการจัดตั้งลานตาก/ฉางข้าวระดับหมู่บ้าน ชุมชน

  38. ยุทธศาสตร์ 1 ………………….. เป้าประสงค์หรือผลลัพธ์ที่ต้องการ …………………. ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด ตัวอย่าง Value Chains บูรณาการ พัฒนาการบริหารจัดการและปัจจัยพื้นฐาน พัฒนา การตลาด การให้ บริการ วิจัยและ พัฒนา พัฒนาผลิตภัณฑ์ การขาย Actors โครงการ โครงการ โครงการ โครงการ โครงการ โครงการ กระทรวง/กรม กลุ่มจังหวัด/ จังหวัด โครงการ โครงการ โครงการ โครงการ โครงการ โครงการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โครงการ โครงการ โครงการ โครงการ โครงการ โครงการ ภาคธุรกิจเอกชน โครงการ โครงการ ภาคประชาสังคมชุมชน โครงการ โครงการ

  39. กรอบแนวคิดประเด็นยุทธศาสตร์การเป็นฐานผลิตสินค้าเกษตร/เกษตรอุตสาหกรรมกรอบแนวคิดประเด็นยุทธศาสตร์การเป็นฐานผลิตสินค้าเกษตร/เกษตรอุตสาหกรรม Agri-food Cluster - Safe Food for ALL Safety Food Organic Food No. 1 Organic Food Exporter 53-56 61-64 57-60 การวิจัยและพัฒนา(R&D) + โครงสร้างพื้นฐาน การเพิ่มผลผลิต พัฒนาคุณภาพ และลดต้นทุน การแปรรูป เพิ่มและสร้าง คุณค่า การพัฒนาระบบ การตลาด การขนส่งสินค้าและ จัดการบริหารสินค้า (Logistics) การพัฒนา เกษตรกรและสถาบัน เกษตรกร 39

  40. สรุปแผนพัฒนาจังหวัดและแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด ลำดับความสำคัญของประเด็นยุทธศาสตร์จังหวัด/กลุ่มจังหวัด 40 40 40

  41. ประเด็นยุทธศาสตร์ของ 18 กลุ่มจังหวัด • กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน2 • การค้า การลงทุน • การเกษตรอุตสาหกรรม • 10. กลุ่มจังหวัดภาคตอ/เหนือตอนบน1 • การค้าชายแดน • การผลิต และการค้า สินค้าการเกษตร • 11. กลุ่มจังหวัดภาคตอ/เหนือตอนบน2 • การค้าชายแดน • การท่องเที่ยว • 17. กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง1 • การค้า บริการ และเครือข่ายคมนาคม • การท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ ประวิติศาสตร์ และวัฒนธรรม • กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน1 • การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมล้านนา • การค้า การลงทุน และเระบบ Logistics เชื่อมโยงกลุ่มประเทศ GMS • 12. กลุ่มจังหวัดภาคตอ/เหนือตอนกลาง • การผลิตด้านเกษตร • การลงทุนด้านอุตสาหกรรมแปรรูปเกษตร • 18. กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง2 • การผลิตข้าว อ้อย และมันสำประหลัง • การแปรรูปข้าว อ้อย • และมันสำประหลัง • 13. กลุ่มจังหวัดภาคตอ/เหนือตอนล่าง1 • เกษตรอินทรีย์ • แข่งขันด้านเศรษฐกิจ • 1. กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน 1 • ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม • อุตสาหกรรม • 14. กลุ่มจังหวัดภาคตอ/เหนือล่าง2 • ข้าวหอมมะลิ • การท่องเทียว • กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน 2 • การผลิตอาหารปลอดภัย • เชื่อมโยงการกระจายสินค้า • 9. กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออก • การท่องเที่ยว • การผลิต แปรรูป • และการตลาดผลไม้ • กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนกลาง • การเกษตร • การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ • 4. กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง 1 • การผลิตและส่งออก • การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ • กลุ่มจังหวัด • ภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย • ยางพารา • ปาล์มน้ำมัน • 5. กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง 2 • สินค้าประมง เกษตรและเหล็ก • การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ และ • เส้นทางคมนาคมสู่ภาคใต้ • กลุ่มจังหวัดภาคใต้ชายแดน • สนันสนุนภาคการผลิตเป็นไปอย่างปกติ • เทคโนโลยีการผลิต บริหารจัดการ ตลาดเพื่อการส่งออก • กลุ่มจังหวัด • ภาคใต้ฝั่งอันดามัน • การท่องเที่ยวทางทะเล 41 41

  42. ประเด็นยุทธศาสตร์ตามแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัดประเด็นยุทธศาสตร์ตามแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด การค้า/โลจิสติกส์ เกษตร อุตสาหกรรม ท่องเที่ยว 42

  43. สรุปประเด็นยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด (ด้านเกษตร) • ภาคตะวันออก/เหนือตอนบน 1 • เกษตรแปรรูป • ภาคเหนือตอนบน 1 • เกษตรปลอดภัย • ภาคตะวันออก/เหนือตอนบน 2 • ข้าวหอมมะลิ โค • ภาคเหนือตอนบน 2 • เกษตรแปรรูป • ภาคตะวันออก/เหนือตอนกลาง • ข้าวหอมมะลิ • ภาคเหนือตอนล่าง 2 • ข้าว อ้อย มันสำปะหลัง • ภาคตะวันออก/เหนือตอนล่าง 1 • ข้าวหอมมะลิ มันสำปะหลัง • ภาคกลางตอนบน 2 • เกษตรปลอดภัย • ภาคตะวันออก/เหนือตอนล่าง 2 • ข้าวหอมมะลิ • ภาคกลางตอนล่าง 1 • เกษตรอุตสาหกรรม • ภาคกลางตอนกลาง • เกษตรแปรรูป • ภาคกลางตอนล่าง 2 • เกษตรแปรรูป • ภาคตะวันออก • ผลไม้เมืองร้อน • ภาคใต้อ่าวไทย • ยางพารา ปาล์มน้ำมัน • ภาคใต้ชายแดน • ยางพารา 43 43

  44. สรุปประเด็นยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด (ด้านท่องเที่ยว) • ภาคเหนือตอนบน 1 • ท่องเที่ยววัฒนธรรม • ภาคตะวันออก/เหนือตอนบน 1 • ท่องเที่ยวเชิงนิเวศ • ภาคตะวันออก/เหนือตอนบน 2 • ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ • ภาคเหนือตอนบน 2 • ท่อวเที่ยวเชิงอนุรักษ์ • ภาคเหนือตอนล่าง 1 • ท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ประวัติศาสตร์ • ภาคตะวันออก/เหนือตอนล่าง 1 • ท่องเที่ยว • ภาคกลางตอนบน 2 • ท่องเที่ยวประวัติศาสตร์วัฒนธรรม ธรรมชาติ • ภาคตะวันออก/เหนือตอนล่าง 2 • ท่องเที่ยว • ภาคกลางตอนล่าง 1 • ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ • ภาคกลางตอนกลาง • ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ • ภาคกลางตอนล่าง 2 • ท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ • ภาคตะวันออก • ท่องเที่ยว • ภาคใต้อ่าวไทย • ท่องเที่ยวทางทะเลและชายฝั่ง • ภาคใต้อันดามัน • ท่องเที่ยวทางทะเล 44 44

  45. สรุปประเด็นยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด (ด้านการค้า) • ภาคเหนือตอนบน 1 • การค้าการลงทุนเชื่อมโยงกลุ่มประเทศ GMS • ภาคตะวันออก/เหนือตอนบน 1 • การค้าชายแดน • ภาคเหนือตอนบน 2 • การค้าสู่สากล • ภาคตะวันออก/เหนือตอนบน 2 • การค้าชายแดน • ภาคเหนือตอนล่าง 2 • การกระจายสินค้าและระบบขนส่ง • ภาคตะวันออก/เหนือตอนล่าง 2 • การค้าชายแดน • ภาคใต้ชายแดน • การค้าชายแดน 45

  46. สรุปประเด็นยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด (ด้านอุตสาหกรรม) • ภาคตะวันออก/เหนือตอนกลาง • อุตสาหกรรมแปรรูปสินค้าเกษตรและพลังงานทดแทน • ภาคกลางตอนบน 1 • การเพิ่มผลิตภาพอุตสาหกรรม • ภาคตะวันออก/เหนือตอนล่าง 1 • อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ไหม • ภาคกลางตอนกลาง • อุตสาหกรรมชุมชน 46

  47. ข้อสังเกตของ อ.ก.น.จ. ด้านแผนและด้านงบประมาณ คณะที่ 1 - 5 สรุปภาพรวมผลการพิจารณาแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด 1. ข้อมูลสภาพทั่วไป ยังมีน้อย เป็นข้อมูลกว้าง ๆ ไม่ครอบคลุมทุกมิติการพัฒนาที่สำคัญของจังหวัด 2. การวิเคราะห์ปัจจัยภายนอกและปัจจัยภายใน มีลักษณะเป็นข้อความเชิงความเห็นทั่วไปและขาดข้อมูลสนับสนุน • แผนพัฒนาจังหวัด • แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด 3. วิสัยทัศน์ บางจังหวัดมีลักษณะกว้างเกินไปและครอบคลุมมาก บางจังหวัดกระชับสั้นเกินไปจนไม่ให้ความหมาย 4. ประเด็นยุทธศาสตร์และเป้าประสงค์ ส่วนใหญ่ยังเป็นยังเป็นข้อความที่มีความหมายกว้าง ไม่สามารถสะท้อนมิติ การพัฒนาที่สำคัญของจังหวัดและกลุ่มจังหวัดได้อย่างชัดเจน 5. ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย บางตัวสามารถสะท้อนการบรรลุเป้าประสงค์ได้อย่างชัดเจน แต่บางตัวชี้วัด ไม่ครอบคลุมและไม่มีความสัมพันธ์โดยตรงกับเป้าประสงค์ที่จะวัด บางตัวชี้วัดอิงปัจจัยภายนอกที่ไม่อยู่ในวิสัยการควบคุมของจังหวัด เช่น GPP และมูลค่าการส่งออก 6. กลยุทธ์ ส่วนใหญ่มีความหมายกว้างและไม่ได้แสดงแนวทางการดำเนินงานที่ชัดเจน 7. แผนงานและโครงการ ตอบสนองแนวทางการพัฒนาและมีการบูรณาการงบประมาณระหว่าง กระทรวง จังหวัด องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และภาคเอกชน 47

  48. สรุปข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะของ อ.ก.น.จ. ด้านแผนและด้านงบประมาณ 5 คณะ ประเด็นเนื้อหาของแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด ควรเพิ่มหัวข้อ “ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา” บรรจุไว้เป็นส่วนหนึ่งในเนื้อหาของแผน ควรเพิ่มเติมข้อมูลสภาพทั่วไปของจังหวัด และข้อมูลการวิเคราะห์สภาพเศรษฐกิจ สังคม และทรัพยากร ธรรมชาติให้ครบทุกมิติสำคัญของพื้นที่ เพื่อให้สามารถนำมาประมวลและ วิเคราะห์เพื่อประกอบการวางแผนพัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัดได้อย่างมีประสิทธิภาพ ควรกำหนดให้มีระบบสืบค้นได้ว่า แผนพัฒนาจังหวัด 4 ปี มีความเปลี่ยนแปลงจากที่ได้ พิจารณาไปเมื่อปีที่ผ่านมาอย่างไร • ควรให้ความสำคัญกับแผนระดับต่าง ๆ โดยเฉพาะชุมชน เพื่อให้การจัดทำแผน • สามารถสะท้อนประเด็นปัญหาและความต้องการของพื้นที่ได้อย่างแท้จริง • ควรบูรณาการแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคใต้ชายแดนกับแผนพัฒนาพื้นที่พิเศษ • 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ เพื่อให้การพัฒนามีความสอดคล้อง ลดความซ้ำซ้อน • และเป็นไปในทิศทางเดียวกัน 48

  49. กระบวนการและขั้นตอนการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดและแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด

  50. กระบวนการการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดและแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดกระบวนการการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดและแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด ก.น.จ. 1 กลุ่มจังหวัด จังหวัด ก.น.จ.กำหนดกรอบ นโยบาย ขั้นตอน วิธีการ แผนและงบประมาณของจังหวัด/ กลุ่มจังหวัด 2 จังหวัดรวบรวมข้อมูลศักยภาพของจังหวัด และสำรวจความต้องการของประชาชนในจังหวัด 3 ข้อมูลศักยภาพและความต้องการของจังหวัดประกอบการจัดทำแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด ก.บ.จ. วิเคราะห์ เพื่อกำหนดศักยภาพและความต้องการของจังหวัด 4 ก.บ.ก. จัดทำร่างแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด จัดส่งร่างแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดประกอบการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด 5 ก.บ.จ. จัดทำร่างแผนพัฒนาจังหวัด ร่างแผนพัฒนาจังหวัด ส่งร่างแผนกลุ่มจังหวัดให้จังหวัดต่าง ๆ ในกลุ่มจังหวัดนำไปประชุมหารือร่วมกับภาคส่วนต่าง ๆ ในจังหวัด 6 จังหวัดจัดประชุมปรึกษา หารือกับทุกภาคส่วนในจังหวัด ก.บ.ก. ปรับปรุงแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดให้สมบูรณ์ 7.1 ส่งข้อคิดเห็น/ข้อเสนอแนะที่เกี่ยวกับแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดซึ่งได้จากการประชุมหารือให้กลุ่มจังหวัดเพื่อนำไปปรับปรุง ข้อคิดเห็น/ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับแผนพัฒนาจังหวัด 7.2 8 ก.น.จ. กลั่นกรองและเสนอความเห็นเกี่ยวกับแผนพัฒนาจังหวัดและแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด เสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาอนุมัติให้ความเห็นชอบ ก.บ.จ. ปรับปรุงแผน พัฒนาจังหวัดให้สมบูรณ์ แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด แผนพัฒนาจังหวัด ครม. พิจารณาเห็นชอบแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด/จังหวัด 9

More Related