1 / 30

บทที่ 5

บทที่ 5. หน่วยระบบ (System Unit). วัตถุประสงค์. อธิบายหน่วยระบบของไมโครคอมพิวเตอร์ทั้ง 4 ประเภทได้ อธิบายวิธีการที่คอมพิวเตอร์ใช้รหัสเลขฐานสองแทนข้อมูลในรูปของสัญญาณไฟฟ้า อธิบายส่วนประกอบพื้นฐานของหน่วยระบบได้ อธิบายเกี่ยวกับแผงวงจรหลัก ไมโครโพรเซสเซอร์ และ หน่วยความจำ ได้

yael
Download Presentation

บทที่ 5

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 5 หน่วยระบบ (System Unit)

  2. วัตถุประสงค์ • อธิบายหน่วยระบบของไมโครคอมพิวเตอร์ทั้ง 4 ประเภทได้ • อธิบายวิธีการที่คอมพิวเตอร์ใช้รหัสเลขฐานสองแทนข้อมูลในรูปของสัญญาณไฟฟ้า • อธิบายส่วนประกอบพื้นฐานของหน่วยระบบได้ • อธิบายเกี่ยวกับแผงวงจรหลัก ไมโครโพรเซสเซอร์ และหน่วยความจำได้ • อธิบายหน้าที่ของระบบสัญญาณนาฬิกา สล็อตเพิ่มขยาย และเส้นทางบัส • อธิบายเกี่ยวกับพอร์ต เคเบิล และพาวเวอร์ซัพพลาย Page 164

  3. หน่วยระบบ • หน่วยระบบเดสก์ท็อป • หน่วยระบบโน้ตบุ๊ก • หน่วยระบบแท็บเล็ตพีซี • หน่วยระบบคอมพิวเตอร์มือถือ Page 166

  4. ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์และคำสั่งข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์และคำสั่ง • ข้อมูลและคำสั่งต่างๆ ถูกแทนในรูปของสัญญาณไฟฟ้า • มี 2 สถานะ คือ ปิด – เปิด (ทางไฟฟ้า) ซึ่งเปรียบเสมือน ระบบเลขฐาน 2(คือเลข 0 และ 1) • สถานะปิด คือ 0และ เปิด คือ 1 • ข้อมูล 1 หลัก ซึ่งอาจจะเป็น 0 หรือ 1 เรียกว่า บิต (bit) • กลุ่มของบิตจำนวน 8 บิต เรียกว่า 1 ไบต์ (byte) Page 167

  5. รูปแบบการเข้ารหัสเลขฐานสองรูปแบบการเข้ารหัสเลขฐานสอง การเข้ารหัสเลขฐานสองที่ใช้อยู่มี 3 รูปแบบ คือ • แอสกี(ASCII : American Standard Code for Information Exchange) • เอบซีดิก(EBCDIC: Extended Binary Coded Decimal Interchange Code) • ยูนิโค้ด(Unicode) Page 168

  6. แผงวงจรหลัก • เป็นส่วนเชื่อมต่อส่วนประกอบทั้งหมดของหน่วยระบบ • ทำให้อุปกรณ์ต่างๆ สามารถติดต่อสื่อสารกันได้ • อาจรู้จักในชื่อ เมนบอร์ด (main board) หรือ มาเธอร์บอร์ด • ประกอบด้วยชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ รวมถึง • ซ็อกเก็ต (Sockets) • สล็อต (Slots) • เส้นทางบัส (Bus lines) Page 169

  7. ไมโครโพรเซสเซอร์ • หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit : CPU) • ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ • หน่วยควบคุม (Control unit) • ทำให้ระบบคอมพิวเตอร์ทราบว่าต้องประมวลผลคำสั่งอย่างไร • ควบคุมการเคลื่อนที่ของสัญญาณไฟฟ้าระหว่างหน่วยความจำกับหน่วยคำนวณและตรรกะ • ควบคุมสัญญาณระหว่างซีพียูและอุปกรณ์รับเข้าและส่งออก Page 171

  8. ไมโครโพรเซสเซอร์ • หน่วยคำนวณและตรรกะ(Arithmetic-logic unit : ALU) ทำหน้าที่หลัก 2 ประการ คือ • การดำเนินการทางคณิตศาสตร์ (arithmetic operations) ทำงานเกี่ยวกับการคำนวณทางคณิตศาสตร์ เช่น การบวก ลบ คูณ และหาร • การดำเนินการทางตรรกะ (logical operations) ทำงานในลักษณะเปรียบเทียบข้อมูล 2 ส่วนที่เข้ามา เช่น เท่ากับน้อยกว่า หรือมากกว่า เป็นต้น Page 171

  9. ชิปไมโครโพรเซสเซอร์ • ความสามารถของชิปจะระบุเป็นขนาดของเวิร์ด (word sizes) • ไมโครโพรเซสเซอร์แบบ 64 บิต • ออกแบบสำหรับการประมวลผลแบบ 64 บิต • ไมโครโพรเซสเซอร์แบบดูอัลคอร์ • ซีพียูสามารถแยกการประมวลผล และทำงานเป็นอิสระต่อกัน จึงทำให้สามารถทำงานแบบมัลติทาสกิ้งได้ • เรียกกระบวนการแบบนี้ว่า การประมวลผลแบบขนาน Page 172

  10. โพรเซสเซอร์ชนิดพิเศษ • กราฟิกโคโพรเซสเซอร์(Graphic Coprocessor) • ถูกออกแบบสำหรับการทำงานทางด้านกราฟิกภาพ 2 มิติและ 3 มิติ • สมาร์ทการ์ด(smart card) • มีขนาดเท่ากับบัตรเครดิตและมีชิปประมวลผลฝังอยู่ภายในบัตร • อาร์เอฟไอดีแท็ก(RFID tag) • เป็นไมโครชิปขนาดเล็กที่ใช้คลื่นความถี่วิทยุรวมกับเสาอากาศเข้ามาช่วยในการทำงาน • นิยมใช้กับธุรกิจการค้า การควบคุมสินค้าคงคลัง อุตสาหกรรมการผลิต การเกษตร และการบริการต่างๆ Page 172

  11. หน่วยความจำ • เป็นพื้นที่สำหรับเก็บข้อมูล คำสั่ง และสารสนเทศต่าง ๆ • หน่วยความจำประกอบด้วยชิปที่เชื่อมต่อเข้ากับแผงวงจรหลัก • หน่วยความจำชนิดต่างๆ • แรม (RAM ) • รอม (ROM) • ซีมอส (CMOS) Page 173

  12. แรม • แรม (Random Access Memory : RAM) เป็นชิปที่ใช้สำหรับเก็บข้อมูลและโปรแกรมระหว่างประมวลผล • หน่วยความจำแคช หรือแรมแคช • แฟลชแรม หรือ หน่วยความจำแฟลช • หน่วยความจำแรมชนิดต่างๆ • DRAM • SDRAM • DDR • Direct RDRAM ย้อนกลับ Page 173

  13. รอม • รอม (Read-only memory : ROM) • เป็นหน่วยความจำแบบไม่ลบเลือน • ผู้ใช้ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงข้อมูลต่าง ๆ ภายในได้ • ซีพียูสามารถอ่านหรือนำข้อมูลและโปรแกรมที่ถูกเขียนไว้ในหน่วยความจำรอมมาใช้งานได้ • ไม่สามารถเขียนหรือเปลี่ยนแปลงข้อมูลและคำสั่งต่างๆ ที่อยู่ในรอมได้ • คำสั่งต่างๆ ที่อยู่ในรอมเรียกว่า เฟิร์มแวร์ (firmware) • คอมพิวเตอร์ใช้เมื่อเริ่มต้นการทำงาน ย้อนกลับ Page 174

  14. ซีมอส • ซีมอส (Complementary metal-oxides semiconductor : CMOS) • เป็นหน่วยความจำที่สามารถปรับเปลี่ยนค่าต่างๆ ที่ใช้สำหรับระบบคอมพิวเตอร์ได้ • ประกอบด้วยข้อมูลสำคัญที่ระบบคอมพิวเตอร์จำเป็นต้องใช้งานทุกครั้งเมื่อเปิดเครื่องเช่น • ข้อมูลเกี่ยวกับ วันที่และเวลาปัจจุบัน • ขนาดของหน่วยความจำแรม • ชนิดของคีย์บอร์ดเมาส์และจอภาพ • ข้อมูลภายในสามารถเปลี่ยนแปลงตามอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ที่ใช้งานในระบบคอมพิวเตอร์ Page 174

  15. ระบบสัญญาณนาฬิกา • เป็นสิ่งที่บอกถึงความเร็วในการทำงานของคอมพิวเตอร์ • อยู่ในชิปขนาดเล็ก • ทำหน้าที่ผลิตสัญญาณอิมพัลส์ • เป็นสิ่งที่ใช้กำหนดจังหวะการทำงานของคอมพิวเตอร์ • มีหน่วยเป็นกิกะเฮิรตซ์ (GHz) หนึ่งพันล้านครั้งในหนึ่งวินาที • ยิ่งสัญญาณนาฬิกาเร็วมากเท่าไร จะทำให้คอมพิวเตอร์สามารถประมวลผลได้เร็วตามไปด้วย Page 175

  16. การ์ดและสล็อตเพิ่มขยายการ์ดและสล็อตเพิ่มขยาย • เป็นส่วนที่ใช้สำหรับเพิ่มอุปกรณ์ใหม่ๆ เข้ากับคอมพิวเตอร์ • เป็นสถาปัตยกรรมแบบเปิด มีสล็อตเพิ่มขยายให้ผู้ใช้สามารถเพิ่มอุปกรณ์ต่าง ๆ ได้ • การ์ดเพิ่มขยาย อาจเรียกได้ในหลายๆ ชื่อ เช่น • แผงปลั๊กอิน (Plug-in boards) • การ์ดควบคุม (Controller cards) • การ์ดอะแด็ปเตอร์ (Adapter cards) • การ์ดอินเทอร์เฟส (Interface cards) Page 175

  17. การ์ดเพิ่มขยายที่รู้จักโดยทั่วไปการ์ดเพิ่มขยายที่รู้จักโดยทั่วไป • การ์ดแสดงผลภาพ(Video cards หรือgraphics cards) • การ์ดชนิดนี้จะแปลงสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ที่เข้ามาเป็นสัญญาณภาพ ทำให้สามารถแสดงผลบนจอภาพได้ Page 176

  18. การ์ดเพิ่มขยายที่รู้จักโดยทั่วไปการ์ดเพิ่มขยายที่รู้จักโดยทั่วไป • การ์ดเสียง(Sound cards) • ทำหน้าที่รับสัญญาณเสียงจากอุปกรณ์รับเสียง เช่น ไมโครโฟน ซึ่งเป็นสัญญาณแอนะล็อกแล้วแปลงให้เป็นสัญญาณดิจิทัล • ทำหน้าที่แปลงสัญญาณดิจิทัลให้เป็นสัญญาณแอนะล็อกแล้วส่งไปให้อุปกรณ์ส่งออกเสียง เช่น ลำโพง Page 176

  19. การ์ดเพิ่มขยายที่รู้จักโดยทั่วไปการ์ดเพิ่มขยายที่รู้จักโดยทั่วไป • การ์ดโมเด็ม(Modem cards) • เป็นการ์ดที่คอมพิวเตอร์ใช้ติดต่อกับคอมพิวเตอร์อีกเครื่องหนึ่งโดยผ่านสายโทรศัพท์ เพื่อเชื่อมต่อเข้ากับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต • การ์ดชนิดนี้จะแปลงสัญญาณจากหน่วยระบบไปเป็นสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถเดินทางผ่านสายโทรศัพท์ได้ Page 176

  20. การ์ดเพิ่มขยายที่รู้จักโดยทั่วไปการ์ดเพิ่มขยายที่รู้จักโดยทั่วไป • การ์ดเชื่อมต่อเครือข่าย(Network interface card : NIC) • ใช้ในการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งเข้ากับคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นๆ ทำให้เกิดการเชื่อมต่อเป็นเครือข่าย • ผู้ใช้สามารถแบ่งปันทรัพยากรต่างๆ เช่น ข้อมูล โปรแกรม อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ต่าง ๆ ร่วมกันได้ Page 176

  21. การ์ดเพิ่มขยายที่รู้จักโดยทั่วไปการ์ดเพิ่มขยายที่รู้จักโดยทั่วไป • การ์ดรับสัญญาณโทรทัศน์(TV tuner cards) • ประกอบด้วยส่วนรับสัญญาณโทรทัศน์และส่วนแปลงสัญญาณทำให้สัญญาณโทรทัศน์ที่เข้ามาสามารถแสดงผลบนจอภาพคอมพิวเตอร์ได้ • พีซีการ์ด(PC cards หรือ PCMCIA cards) • เป็นการ์ดเพิ่มขยายที่มีขนาดประมาณเท่าบัตรเครดิต ใช้สำหรับโน้ตบุ๊กคอมพิวเตอร์ Page 176

  22. พลักแอนด์เพลย์ • เป็นกลุ่มของฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์มาตรฐานซึ่งพัฒนาโดยบริษัทอินเทล ไมโครซอฟต์ และบริษัทอื่นๆ • เป็นการพยายามในการผลิตอุปกรณ์ต่างๆแล้วทำให้อุปกรณ์นั้นเมื่อติดตั้งเข้ากับระบบคอมพิวเตอร์สามารถทำงานร่วมกับระบบคอมพิวเตอร์ได้โดยอัตโนมัติ Page 176

  23. เส้นทางบัส • เป็นส่วนที่ใช้เชื่อมต่อซีพียูเข้ากับส่วนต่าง ๆ ของระบบคอมพิวเตอร์ • เป็นเส้นทางที่ใช้สำหรับนำข้อมูลไปยังส่วนต่างๆ • ความกว้างบัส (bus width) ใช้วัดจำนวนของบิตที่สามารถส่งข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ • จำนวนบิตที่ใช้ในการส่งข้อมูลยิ่งมากจะส่งผลทำให้สามารถส่งข้อมูลได้เร็วยิ่งขึ้น Page 177

  24. เส้นทางบัส • ระบบคอมพิวเตอร์จะมีบัสอยู่ 2 ประเภท • บัสระบบ (System buses) • เชื่อมต่อซีพียูกับหน่วยความจำบนแผงวงจรหลัก • บัสเพิ่มขยาย (Expansion buses) • เชื่อมต่อซีพียูกับส่วนประกอบอื่นๆ บนแผงวงจรหลัก Page 177

  25. บัสเพิ่มขยาย • คือส่วนที่เชื่อมต่อซีพียูกับหน่วยความจำบนแผงวงจรหลักซึ่งเชื่อมต่อโดยใช้สล็อตเพิ่มขยาย • บัสพื้นฐานชนิดต่างๆ • บัสไอเอสเอ(Industry Standard Architecture : ISA) • พัฒนาโดยบริษัทไอบีเอ็ม เริ่มแรกบัสชนิดนี้มีความกว้างบัสเพียง 8 บิต แต่ต่อมาได้ขยายเป็น 16 บิต • บัสพีซีไอ(Peripheral Component Interconnect : PCI) • เป็นบัสที่มีความเร็วในการส่งข้อมูลสูง สามารถส่งข้อมูลได้ 2 แบบ คือ 32 บิตกับแบบ 64 บิต Page 177

  26. บัสเพิ่มขยาย • บัสเอจีพี(Accelerated Graphics Port : AGP) • ใช้สำหรับเร่งความเร็วในการแสดงผลด้านกราฟิกเท่านั้น • บัสเอจีพีจึงนิยมนำไปใช้สำหรับการแสดงผลภาพสามมิติ • บัสยูเอสบี(Universal serial bus : USB) • จะทำงานร่วมกับบัสพีซีไอบนแผงวงจรหลัก • อุปกรณ์ยูเอสบีจะเชื่อมต่อกับบัสยูเอสบีที่ติดอยู่กับบัสพีซีไอบนแผงวงจรหลัก • บัสไฟร์ไวร์(FireWire buses) • ใช้กับงานประยุกต์พิเศษบางอย่าง เช่น การบันทึกภาพเคลื่อนไหวโดยกล้องดิจิทัลและซอฟต์แวร์ตัดต่อภาพวิดีโอ Page 177

  27. พอร์ต • พอร์ต (port) คือ ซ็อกเก็ตที่ใช้เชื่อมต่อกับอุปกรณ์ภายนอก • พอร์ตบางชนิดเชื่อมต่อโดยตรงกับแผงวงจร • พอร์ตบางชนิดเชื่อมต่อกับการ์ดที่เสียบเข้าไปในสล็อตของแผงวงจรหลัก • ชนิดของ พอร์ต • พอร์ตมาตรฐาน(Standard Ports) • พอร์ตชนิดพิเศษ(Specialized Ports) Ports Page 180

  28. เคเบิล • เคเบิล (Cable) คือ สายที่ใช้เชื่อมต่ออุปกรณ์ภายนอกเข้ากับหน่วยระบบผ่านทางพอร์ตต่าง ๆ • สายข้างหนึ่งของเคเบิลจะติดอยู่กับอุปกรณ์ และอีกข้างหนึ่งจะมีตัวเชื่อมต่อกับพอร์ต Page 182

  29. พาวเวอร์ซัพพลาย • คอมพิวเตอร์ทำงานโดยใช้ไฟฟ้ากระแสตรง ไฟฟ้ากระแสตรงสามารถได้จากการแปลงไฟฟ้ากระแสสลับจากปลั๊กไฟหรือได้โดยตรงจากแบตเตอรี่ • เดสก์ท็อปคอมพิวเตอร์มีพาวเวอร์ซัพพลายอยู่ภายในหน่วยระบบ • โน้ตบุ๊กคอมพิวเตอร์ใช้เอซีอะแด็ปเตอร์ Page 182

  30. คำถามท้ายบท • รูปแบบการเข้ารหัสเลขฐานสองคืออะไร มีกี่รูปแบบ และมีประโยชน์อย่างไร • อธิบายส่วนประกอบพื้นฐานของซีพียู • อะไรคือความเหมือนและความต่างระหว่างหน่วยความจำประเภทต่างๆ • อธิบายเกี่ยวกับการ์ดเพิ่มชนิดต่างๆ รวมทั้งอธิบายหน้าที่ของแต่ละชนิดด้วย • อธิบายเกี่ยวกับพอร์ตมาตรฐาน ทั้ง 4 ประเภท Page 192

More Related