1 / 9

Mathematical Art.

Mathematical Art.

yagil
Download Presentation

Mathematical Art.

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Mathematical Art. คณิตศาสตรมิใช่เปนวิชาที่เกี่ยวกับการคํานวณ การวัด การหาปริมาตร การเท่ากัน การไม่เท่ากัน การสมมาตร การพิสูจน์เอกลักษณ์และอื่น ๆ โดยใช้ตัวเลขและสัญลักษณเท่านั้น คณิตศาสตร์ยังเป็นศาสตร์ที่เป็นต้นแบบของความงามของศิลปะหลาย ๆ ชนิด เช่น ศิลปะของอาคารสถานที่ จิตรกรรม ปติมากรรม อนุสาวรีย์ ภาพพิมพื ภาพอุปกรณ์ และเครื่องใช้ตาง ๆ สามารถนําสัญลักษณ์ ของเนื้อหาวิชาคณิตศาสตร์ มาช่วยในการออกแบบ เมื่อผู้สร้างออกแบบอย่างงดงามและใส่สีสันต่าง ๆ เขาไปก็จะทําให้สิ่งนั้นมีความสวยงาม มีคุณค่า มีเอกลักษณและเป็นที่ยอมรับของบุคคลทั่วไป  ผู้เขียนขอยกตัวอยางสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ที่เรานํามาสร้างงานศิลปะที่มีความสวยงาม มีเอกลักษณ์ที่เด่นชัด ซึ่งแต่ละสถานที่ ผู้ออกแบบมีความภูมิใจเป็นอยางยิ่ง

  2. ตัวอย่างของศิลปะทางคณิตศาสตรื มีรูปทรงพาราโบลาทางเรขาคณิตที่มีชื่อเรียกกันว่า “Gateway Arch ” สร้างในปี คศ. 1963-1965 และเปิดให้ใช้ในปี คศ. 1967 ผู้สร้างต้องการให้เป็นอนุเสาวรียที่สวยงามและเป็นสถานพักผ่อนสําคัญของเมืองเซนตหลุยส์ รัฐมิซซูรี ประเทศสหรัฐอเมริกา มีความสูง 630 ฟุต ฐานทั้งสองข้างห่างกัน 630 ฟุต เช่นกัน โครงสร้างเป็นสมการรูปโค้ง (Catenary Curve Equation) มีสมการ y = kcosh(x/k) ซึ่ง cosh (x) = (ex + e-x)/2

  3. ประเทศออสเตรเลียซึ่งไดชื่อวาเปนเมืองคณิตศาสตร (City of Math) และนี้คือ RMIT Storey Hall เปนอาคารในมหาวิทยาลัย RMIT เมืองเมลเบิรน ไดนําภาพสัญลักษณทางคณิตศาสตรรูปสามเหลี่ยม รูปสี่เหลี่ยม รูปหาเหลี่ยมและเสนโคงมาใชในการออกแบบฝาผนัง เพดาน อาคารตึก บันไดทางขึ้นของอาคาร ภาพตาง ๆ ทําดวยหินและแกวสี (quasicrystal designs) สถานที่ดังกลาวจัดเปนหองบรรยาย พิพิธภัณฑ สําหรับนักศึกษา และโรงภาพยนตของมหาวิทยาลัย

  4. ที่เมืองเมืองเมลเบิรนเชนกันตึก Digital Harbour Port 1010 เปนที่ตั้งของ Café Wall Illusion เปนตึกทรงสี่เหลี่ยม ผนังของตึกทาสีดําขาวและรูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผาซิกแซกไปมา ภาพที่เห็นของผนังตึกดูเหมือนแตละชั้นจะแยกออกจากกันทั้งขางบนและขางลาง แตจริง ๆ แลวเปนภาพลวงตา ตึก Digital Harbour Port 1010 สรางเสร็จเมื่อปค.ศ 2006 นับวาเปนอาคารแหงหนึ่งที่ใชสัญลักษณทางคณิตศาสตรเปนผนังของตึก

  5. ปัจจุบันศิลปะและสถาปัตยกรรมต่าง ๆ ได้นํารูปทรงทางคณิตศาสตร์มาช่วยในการออกแบบเปนจานวนมาก ความจริง แลวคณิตศาสตรและศิลปะมีความสัมพันธกันอยางตอเนื่องนับเวลาหลายพัน การนํารูปแบบของความสมมาตร (Symmetry) สัดสวน (Proportion) และการเชื่อมโยง (Translation) ซึ่งเปนพื้นฐานของคณิตศาสตรมาชวยในการกอสรางเปนศิลปะที่จะเห็นกันอยูเสมอ ดังเชนภาพในอดีตเมื่อสมัย 3, 000 ปลวงมาแลวปรามิดในประเทศอียิปตกอสรางโดยอาศัยรูปทรงทางคณิตศาสตรเปนรูปสามเหลี่ยม

  6. ในสมัยเรอนาซองคปคศ. 1452-1519 จิตรกรที่มีชื่อเสียงโดงดัง จนเปนที่ยอมรับวาเปนจิตรกรเอกของโลกคนหนึ่ง คือเลโอนารโด ดา วินชี (Leonardo da Vinci ) ผลงานของเลโอนารโด ดา วินชี มีมากมายและที่ขึ้นชื่อวามีความงามเลิศล้ําคือภาพโมนาลิซา (Mona Lisa del Gioconda)  เลโอนารโด ดา วินชียังไดชื่อวาเปนนักคณิตศาสตรนักวิทยาศาสตร และวิศวกร เขารักวิชาเรขาคณิตเปนอยางยิ่ง เขาไดอุทิศเวลาเพื่อสรางภาพรูปหาเหลี่ยมกลม (Polyhedral) จนเปนผลสําเร็จ

  7. ศิลปะแบบ L-system หรือบางครั้งอาจเรียกวา L-Art เปนผลงานของจิตรกร Aristid Lindenmayer เมื่อป คศ 1968  L-system หมายถึงการพัฒนาของเซลจําลองตาง ๆ ดวยสัญลักษณ เชนขบวนการทางชีววิทยาจําลองการเจริญเติบโตของพืช และเซลของพืชนั้นจะมีการแบงแยกเซลใหยอยลงไปอีก ขบวนการนี้จะใชรูปแบบของคณิตศาสตร และโปรแกรมทางคอมพิวเตอรพัฒนาใหเกิดภาพที่สวยงาม

  8. ปัจจุบันคอมพิวเตอรเขามามีบทบาทมากขึ้น โปรแกรมคอมพิวเตอรสามารถทําใหเกิดภาพคณิตศาสตรขึ้นไดหลายมิติ และรูปที่สรางสามารถเปลี่ยนแปลงไดทั้งภาพและสี หรืออาจใหมีการเคลื่อนไหวได้ (Animation) คอมพิวเตอรทําใหศิลปะทางคณิตศาสตรเติบโตขึ้นอย่างรวดเร็ว โปรแกรมคอมพิวเตอรทางดานกราฟกก็เช่นกันไดพัฒนาขึ้นมาเปนจํานวนมาก ผูใชสามารถเลือกใชตามวัตถุประสงคของงาน สําหรับโปรแกรมคอมพิวเตอรในงานดานคณิตศาสตรมีจํานวนมากเชนกัน เราสามารถเลือกเพื่อการคํานวณอยางเดียวหรือเขียนภาพหรือกราฟอยางเดียวหรือใชทั้งการคํานวณพรอมเขียนกราฟดวยก็มีใหเลือกจํานวนมากเชนกัน ตัวอยางภาพศิลปะทางคณิตศาสตรที่มาจากโปรแกรมคอมพิวเตอร

  9. จัดทำโดย นางสาวใหม่ ยอดขวัญ 1550900524 นางสาวอัญญารัตน์   ทัพเพรียง 1550900797 นางสาวพิชชาพร รื่นทิพย์ 1550900631

More Related