1 / 40

บำเหน็จค้ำประกัน

บำเหน็จค้ำประกัน. สิทธิประโยชน์เพื่อความสุขของผู้รับบำนา ญ. แนวคิดและที่มา. ชีวิตข้าราชการ. สิทธิของข้าราชการ. สิทธิทายาท. เงินเดือน. บำนาญ (รวม ช.ค.บ.). บำเหน็จตกทอด. ทำงานอยู่. ออกจากราชการแล้ว. เสียชีวิต. *. ข้าราชการถูกลงโทษไล่ออก ไม่มีสิทธิรับบำเหน็จบำนาญ

yana
Download Presentation

บำเหน็จค้ำประกัน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บำเหน็จค้ำประกัน สิทธิประโยชน์เพื่อความสุขของผู้รับบำนาญ

  2. แนวคิดและที่มา ชีวิตข้าราชการ สิทธิของข้าราชการ สิทธิทายาท เงินเดือน บำนาญ (รวม ช.ค.บ.) บำเหน็จตกทอด ทำงานอยู่ ออกจากราชการแล้ว เสียชีวิต * ข้าราชการถูกลงโทษไล่ออก ไม่มีสิทธิรับบำเหน็จบำนาญ ผู้รับบำเหน็จเสียชีวิต ไม่มีสิทธิในบำเหน็จตกทอด

  3. ข้าราชการและผู้รับบำนาญถึงแก่ความตายข้าราชการและผู้รับบำนาญถึงแก่ความตาย ทายาทจะมีสิทธิได้รับ บำเหน็จตกทอด

  4. บำเหน็จตกทอด บรรเทาความเดือนร้อนให้แก่ทายาทของ ข้าราชการหรือผู้รับบำนาญที่ถึงแก่ความตาย จ่ายเป็นเงินก้อนครั้งเดียว คือเงินที่รัฐจ่ายเพื่อ

  5. ประเภทบำเหน็จตกทอด กรณีข้าราชการถึงแก่ความตาย กรณีผู้รับบำนาญถึงแก่ความตาย จำแนกออกเป็น 2 ประเภท

  6. บำเหน็จตกทอด ผู้มีสิทธิ • ทายาท • บุตร 2 ส่วน *(บุตร 3 คนขึ้นไปให้ได้รับ 3 ส่วน) • สามี หรือ ภริยา 1 ส่วน • บิดา มารดา 1 ส่วน

  7. การคำนวณบำเหน็จตกทอด ข้าราชการตาย เงินเดือนเดือนสุดท้าย xจำนวนปีเวลาราชการ *(พรบ. กองทุนฯ 2539 : เงินเดือนเดือนสุดท้าย x เวลาราชการ) ผู้รับบำนาญตาย จ่ายให้ 30 เท่าของ บำนาญ + ช.ค.บ. หัก บำเหน็จดำรงชีพ (ส่วนที่ขอรับไปแล้ว)

  8. เงินช่วยค่าครองชีพผู้รับเบี้ยหวัดบำนาญเงินช่วยค่าครองชีพผู้รับเบี้ยหวัดบำนาญ ( ช.ค.บ. )

  9. เงินช่วยค่าครองชีพผู้รับเบี้ยหวัดบำนาญเงินช่วยค่าครองชีพผู้รับเบี้ยหวัดบำนาญ ( ช.ค.บ. ) คือ:เงินที่รัฐจ่ายให้แก่ผู้รับบำนาญ เพื่อช่วยเหลือค่าครองชีพ ผู้มีสิทธิ:ผู้รับบำนาญ

  10. บำนาญ ไม่เปลี่ยนแปลงด้วย เงินเดือนเดือนสุดท้าย และ เวลาราชการ ไม่เปลี่ยนแปลง สภาพเศรษฐกิจเปลี่ยนแปลงไป NO!! O.K. ผู้รับบำนาญ ปรับบำนาญ ข้าราชการ ปรับเงินเดือน P เงินช่วยค่าครองชีพผู้รับเบี้ยหวัดบำนาญ (ช.ค.บ.) ตาม พรฎ. เงินช่วยค่าครองชีพผู้รับเบี้ยหวัดบำนาญ พ.ศ. 2521

  11. เงินช่วยค่าครองชีพผู้รับเบี้ยหวัดบำนาญเงินช่วยค่าครองชีพผู้รับเบี้ยหวัดบำนาญ ( ช.ค.บ. ) การปรับเพิ่ม จำแนกเป็น 2 ลักษณะ ปรับเพิ่มเป็น % ปรับเพิ่มเป็นขั้นต่ำ ตามภาวะค่าครองชีพ

  12. บำนาญ ช.ค.บ. เงินที่ได้รับต่อเดือน = บำนาญ + ช.ค.บ.

  13. ช.ค.บ. ช.ค.บ. ช.ค.บ. ช.ค.บ. ช.ค.บ. บำนาญ เงินที่ได้รับต่อเดือน = บำนาญ + ช.ค.บ. (กรณีได้รับการปรับเพิ่ม ช.ค.บ. หลายครั้ง)

  14. การหมดสิทธิรับ ช.ค.บ. เข้ารับราชการ หรือ กลับเข้ารับราชการ เข้าทำงาน หรือ กลับเข้าทำงาน สังกัดราชการส่วนกลาง ราชการส่วนภูมิภาค หรือ ราชการส่วนท้องถิ่น

  15. การยกเลิก พระราชกฤษฎีกาเงินช่วยค่าครองชีพ ผู้รับเบี้ยหวัดบำนาญ พ.ศ. 2521 และ การปรับปรุงแก้ไข พระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญข้าราชการ พ.ศ. 2494พระราชบัญญัติกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ พ.ศ. 2539

  16. สภาพปัญหา 1. ความยุ่งยากในการเบิกจ่าย 2. บำเหน็จดำรงชีพได้รับน้อยกว่า ที่ควรจะมีสิทธิได้รับ 3. การเปลี่ยนแปลงหลักเกณฑ์การจ่ายบำเหน็จตกทอด 4. ผลกระทบทางจิตใจของผู้รับบำนาญ

  17. การแก้ไขปัญหา 1. ยกเลิก พระราชกฤษฎีกาเงินช่วยค่าครองชีพผู้รับเบี้ยหวัดบำนาญ พ.ศ. 2521 2. ปรับปรุงแก้ไข พระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญข้าราชการ พ.ศ. 2494 พระราชบัญญัติกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ พ.ศ. 2539

  18. การแก้ไขปัญหา • นำช.ค.บ. มารวมเป็นบำนาญและให้ถือเป็นบำนาญ บำนาญ (ใหม่) บำนาญ ช.ค.บ.

  19. การแก้ไขปัญหา • กำหนดวิธีการปรับเพิ่มบำนาญ ให้ปรับที่ตัวบำนาญโดยตรง • เช่นเดียวกับการปรับเพิ่มเงินเดือนข้าราชการ บำนาญ (ใหม่) บำนาญ (ปรับเพิ่ม) บำนาญ

  20. การแก้ไขปัญหา ปรับปรุงหลักเกณฑ์การจ่ายบำเหน็จตกทอดให้สอดคล้องกัน ปัจจุบัน: บำนาญ+ช.ค.บ. = บำเหน็จตกทอด อนาคต : ช.ค.บ. ไม่มีแล้ว บำเหน็จตกทอด คำนวณจากบำนาญอย่างเดียว ตกทอด บำนาญ (ใหม่)

  21. ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. ลดขั้นตอนการปฏิบัติงานเกี่ยวกับการจ่ายเบี้ยหวัดบำนาญ 2. เพิ่มสิทธิประโยชน์ของผู้รับบำนาญเกี่ยวกับบำเหน็จดำรงชีพ

  22. ผลที่คาดว่าจะได้รับ 3. หลักเกณฑ์การจ่ายบำเหน็จตกทอด มีความสอดคล้องกัน 4. เป็นการให้ความช่วยเหลือผู้รับบำนาญโดยตรง ส่งผลดีต่อสภาพจิตใจ

  23. ความคืบหน้า ร่างกฎหมายผ่านการตรวจพิจารณาของ สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาแล้ว อยู่ระหว่างนำเสนอสภา (สส. สว.) พิจารณา

  24. ต่อมา เมื่อสภาพเศรษฐกิจเปลี่ยนแปลงไป รัฐบาลจึงมีนโยบายที่จะให้ความช่วยเหลือ ผู้รับบำนาญที่มีรายได้ไม่เพียงพอต่อการครองชีพ

  25. บำเหน็จดำรงชีพ

  26. บำเหน็จดำรงชีพ บำเหน็จดำรงชีพ เงินที่จ่ายให้แก่ผู้รับบำนาญเพื่อช่วยเหลือการดำรงชีพ โดยจ่ายให้ครั้งเดียว

  27. ชีวิตข้าราชการ สิทธิของข้าราชการ สิทธิทายาท เงินเดือน บำนาญ (รวม ช.ค.บ.) บำเหน็จตกทอด ทำงานอยู่ เสียชีวิต สิทธิของข้าราชการ สิทธิทายาท บำนาญ (รวม ช.ค.บ.) ออกจากราชการแล้ว บำเหน็จตกทอด บำเหน็จดำรงชีพ เหลือให้ทายาท 15 เท่า ให้นำมาใช้ก่อน 15 เท่า

  28. บำเหน็จดำรงชีพ จ่ายในอัตรา • ไม่เกิน 15 เท่าของบำนาญรายเดือนที่ได้รับ • อัตราและวิธีการตามที่กำหนดในกฎกระทรวง กรณีได้รับทั้งบำนาญปกติ และบำนาญพิเศษ เพราะเหตุทุพพลภาพให้นำมารวมกันคิดเป็นบำนาญรายเดือน

  29. บำเหน็จดำรงชีพ กฎกระทรวงกำหนดอัตราและวิธีการรับบำเหน็จดำรงชีพ พ.ศ. 2546 และฉบับที่ 2 พ.ศ. 2551 ขอรับได้ 15 เท่าของบำนาญรายเดือน แต่ไม่เกิน 2 แสนบาท อายุ 65 ปีบริบูรณ์ ขอรับในส่วนที่เกิน 2 แสนบาทได้อีก แต่ไม่เกิน 4 แสนบาท

  30. บำเหน็จค้ำประกัน

  31. สิทธิของข้าราชการ สิทธิทายาท บำนาญ (รวม ช.ค.บ.) บำเหน็จตกทอด บำเหน็จดำรงชีพ ให้นำมาใช้ก่อน 15 เท่า เหลือให้ทายาท 15 เท่า ส่วนนี้ น่าจะให้นำมาใช้ได้นะ

  32. สิทธิของข้าราชการ สิทธิทายาท บำเหน็จตกทอดส่วนที่เหลือ 15 เท่า บำนาญ(รวม ช.ค.บ.) บำเหน็จตกทอด บำเหน็จดำรงชีพ ถือเป็น หลักทรัพย์ของ ผู้รับบำนาญ แต่ละราย หลักทรัพย์ ผู้รับบำนาญ สามารถนำหลักทรัพย์นี้ ไปใช้ ค้ำประกันเงินกู้กับ ธนาคารพาณิชย์ได้ บำเหน็จค้ำประกัน

  33. ผู้รับบำนาญที่สามารถใช้สิทธิได้ผู้รับบำนาญที่สามารถใช้สิทธิได้ 1. มีฐานะเป็นผู้รับบำนาญอยู่ในวันที่กฎกระทรวงนี้มีผลใช้บังคับ 2. ยินยอมให้ส่วนราชการหักบำนาญ (ที่ได้รับในแต่ละเดือน) เพื่อชำระคืนเงินกู้ให้แก่ธนาคารตามสัญญากู้เงิน

  34. การขอใช้สิทธิ ตรวจสอบ ตรวจสอบ ยื่นคำร้อง ส่วนราชการ ผู้เบิกบำนาญ แจ้ง กรมบัญชีกลาง หรือคลังจังหวัด ผู้รับบำนาญ ส่งให้ ออกหนังสือ หนังสือรับรองสิทธิบำเหน็จตกทอด เพื่อใช้เป็นหลักทรัพย์ประกันการกู้เงิน

  35. การขอใช้สิทธิ ติดต่อ แจ้ง ธนาคาร กรมบัญชีกลาง ผู้รับบำนาญ ทำสัญญา กู้เงิน

  36. การชำระหนี้ตามสัญญากู้เงินการชำระหนี้ตามสัญญากู้เงิน ชำระหนี้ ธนาคาร กรมบัญชีกลาง ระบบ จ่ายตรงฯ ผู้รับบำนาญ บำนาญ บำนาญ ส่วนที่เหลือ * ทุกๆเดือน จนกว่าจะชำระหนี้ครบถ้วน

  37. การชำระหนี้ตามสัญญากู้เงินการชำระหนี้ตามสัญญากู้เงิน ไม่สามารถชำระหนี้ได้ ชำระหนี้ ธนาคาร กรมบัญชีกลาง ผู้รับบำนาญ ระบบ จ่ายตรงฯ บำนาญ บำนาญ ส่วนที่เหลือ ถึงแก่ ความตาย

  38. การชำระหนี้ตามสัญญากู้เงินการชำระหนี้ตามสัญญากู้เงิน กรณีไม่สามารถชำระหนี้ได้ กลับไปเป็น บำเหน็จตกทอด สิทธิของข้าราชการ สิทธิทายาท บำนาญ(รวม ช.ค.บ.) บำเหน็จตกทอด บำเหน็จดำรงชีพ ยังมีเงินเหลือ ธนาคาร หลักทรัพย์ ชำระหนี้ จ่ายให้กับ ทายาท บำเหน็จค้ำประกัน กรณีถึงแก่ ความตาย

  39. ความคืบหน้า

  40. สอบถามรายละเอียดได้ที่สอบถามรายละเอียดได้ที่ กรมบัญชีกลาง สำนักกฎหมาย กลุ่มงานกฎหมายและระเบียบด้านเงินเดือนค่าจ้างบำเหน็จบำนาญโทร 0-2127-7264 หรือ 0-2127-7000 ต่อ 4361,4443 และธนาคารที่เข้าร่วมโครงการ

More Related