1 / 136

โครงการแนะแนวในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม

โครงการแนะแนวในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สำหรับนักศึกษาแพทย์ปีที่ 1 มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ วันศุกร์ที่ 1 สิงหาคม 2551 เวลา 13.00-16.00 น.

Download Presentation

โครงการแนะแนวในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โครงการแนะแนวในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สำหรับนักศึกษาแพทย์ปีที่ 1 มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ วันศุกร์ที่ 1 สิงหาคม 2551 เวลา 13.00-16.00 น. ศ.พญ.สมศรี เผ่าสวัสดิ์ ศ.นพ.ธีรชัย ฉันทโรจน์ศิริ ศ.นพ.ศรีประสิทธิ์ บุญวิสุทธิ์

  2. นายกแพทยสมาคมแห่งประเทศไทยฯ (2547-2548) • ประธานเครือข่ายวิชาชีพสุขภาพ เพื่อสังคมไทยปลอดบุหรี่ • กรรมการแพทยสภา • กรรมการควบคุมคุณภาพมาตรฐาน สปสช. • อดีตประธานราชวิทยาลัยวิสัญญีแพทย์แห่งประเทศไทยฯ • อดีตหัวหน้าภาควิชาวิสัญญีวิทยา โรงพยาบาลรามาธิบดี ศ.แพทย์หญิงสมศรี เผ่าสวัสดิ์

  3. เหรัญญิกแพทยสมาคมแห่งประเทศไทยฯ2551-2552เหรัญญิกแพทยสมาคมแห่งประเทศไทยฯ2551-2552 • อดีตกรรมการควบคุมคุณภาพมาตรฐาน สปสช. 2544-2549 • อาจารย์พิเศษ ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ รามาธิบดี • กรรมการราชวิทยาลัยกุมารแพทย์แห่งประเทศไทยฯ ศ.เกียรติคุณนพ.ธีรชัย ฉันทโรจน์ศิริ

  4. ประธานฝ่ายวิชาการแพทยสมาคมฯประธานฝ่ายวิชาการแพทยสมาคมฯ • ศาสตราจารย์ ภาควิชาศัลยศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล • อดีตรองอธิการบดีฝ่ายพัฒนา มหาวิทยาลัยมหิดล • กรรมการสมาคมศัลยแพทย์ตกแต่งแห่งประเทศไทย พ.ศ.2535-ปัจจุบัน ศ.นพ.ศรีประสิทธิ์ บุญวิสุทธิ์

  5. Introduction to Medicine

  6. ประวัติความเป็นมาของวิชาชีพแพทย์ประวัติความเป็นมาของวิชาชีพแพทย์ • พ.ศ. 2429 : สมเด็จพระจุลจอมเกล้าฯ ทรงโปรดให้ ตั้ง “คอมมิตตีจัดการโรงพยาบาล” • พ.ศ. 2431 : โรงพยาบาลแห่งแรกเกิดขึ้น “โรงพยาบาลศิริราช” • พ.ศ. 2448 : กำเนิดสุขาภิบาลแห่งแรกที่ ต.ท่าฉลอม จ.สมุทรสาคร และ นครศรีธรรมราช ชลบุรี นครปฐม

  7. ประวัติความเป็นมาของวิชาชีพแพทย์ประวัติความเป็นมาของวิชาชีพแพทย์ • พ.ศ. 2451 : จัดตั้งโรงพยาบาลเมืองนครราชสีมา • พ.ศ. 2469 : จัดตั้งโรงพยาบาลเมืองอยุธยา ปัตตานี เชียงใหม่ สงขลา สุพรรณบุรี • พ.ศ. 2494 – 2500 : ประเทศไทยมีโรงพยาบาล ทุกจังหวัด 72 จังหวัด • พ.ศ. 2517 – 2547 : โรงพยาบาลอำเภอ (ชุมชน) 700 กว่าแห่ง

  8. ประวัติความเป็นมาของวิชาชีพแพทย์ประวัติความเป็นมาของวิชาชีพแพทย์ • พ.ศ. 2551 : โรงพยาบาลศูนย์ และ โรงพยาบาลทั่วไป 97 แห่ง : โรงพยาบาลชุมชน 709 แห่ง : โรงพยาบาลกองทัพ (กองทัพบก อากาศ เรือ) 59 แห่ง : โรงพยาบาลสังกัดมหาวิทยาลัย 30 แห่ง : โรงพยาบาลสังกัดกรุงเทพมหานคร 9 แห่ง : โรงพยาบาลเอกชน 186 แห่ง

  9. การถือปฏิบัติสำหรับการประกอบวิชาชีพเวชกรรมในสมัยต่าง ๆ • Hippocratic Oath • Declaration of Geneva (WMA 2492) • International Code of Ethics • จรรยาแพทย์ (ร.ศ. 127) • คำปฏิญาณต่อหน้าพระพักตร์ (พ.ศ. 2471)

  10. คำปฏิญาณต่อหน้าพระพักตร์สมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวจากแพทย์ระดับปริญญารุ่นแรก (พ.ศ.2471) ข้าพเจ้าจะประพฤติตนในหน้าที่แพทย์ เพื่อนำมาซึ่งเกียรติแก่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและเพื่อให้มหาชนนับถือแพทย์ทั่วไป 2. บรรดาผู้ป่วยไข้ในความอารักขาของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าจะตั้งใจรักษาโดยสุจริต และพากเพียรจนสุดกำลังที่จะทำให้เขาเหล่านั้น พ้นจากความไข้ ความลับส่วนตัวใด ๆ ของคนไข้ที่ข้าพเจ้าทราบโดยหน้าที่แพทย์ ข้าพเจ้าจะสงวนไว้โดยมิดชิด

  11. คำปฏิญาณต่อหน้าพระพักตร์สมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวจากแพทย์ระดับปริญญารุ่นแรก (พ.ศ.2471) ข้าพเจ้าจะไม่ใช้ยาหรือวิธีบำบัดโรคประการใด ๆ อันจะนำมาซึ่งชื่อเสียงไม่ดีงามแก่อาชีพแพทย์ไม่ว่าในบทบาทใด ๆ 4. ข้าพเจ้าจะปฏิบัติโดยสุจริต และยุติธรรมต่อเพื่อนร่วมอาชีพแพทย์ด้วยกันในความติดต่อโดยอาชีพ จะประพฤติตนเป็นสัมมาทุกประการ

  12. แพทย์แผนปัจจุบันกับการประกอบวิชาชีพเวชกรรมแพทย์แผนปัจจุบันกับการประกอบวิชาชีพเวชกรรม • ได้รับอิทธิพลมาจากประเทศตะวันตก • เป็นการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ • เริ่มมีระบบธุรกิจ การค้า (ภาคเอกชน)

  13. เทคโนโลยีกับการแพทย์ • Technological Medicine • Humanistic Medicine

  14. ธรรมะเบื้องต้นของแพทย์ 7 ประการ ความเชื่อถือ - ความศรัทธา ความละอายต่อความชั่ว - หิริ ความครั่นคร้ามต่อความชั่ว - โอตัปปะ ความรู้ที่ได้ศึกษามามาก - พาหุสัจจะ ความเพียร - วิริยะ ความยั้งคิด - สติ ความรู้ประจักษ์ - ปัญญา

  15. ธรรมะที่ทำให้เป็นแพทย์ที่สมบูรณ์ 5 ประการ เมตตา กรุณา เอื้อเฟื้อ เอาใจใส่ต่อโรคภัยไข้เจ็บ 5. ขันติ

  16. ปัญหาทางการแพทย์ที่ต้องตัดสินปัญหาทางการแพทย์ที่ต้องตัดสิน การวินิจฉัยโรคและการสืบสวนค้นคว้า การรักษาและการจัดการกับการดำเนินของโรค การตัดสินใจทางเวชจริยศาสตร์

  17. ปัญหาทางเวชจริยศาสตร์ปัญหาทางเวชจริยศาสตร์ ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับปัญหาทางจริยศาสตร์ในผู้ป่วยรายนั้น ทฤษฎีและหลักการทางเวชจริยศาสตร์ คนที่เกี่ยวข้อง

  18. คนที่เกี่ยวข้อง • ผู้ป่วย • ญาติพี่น้อง • ครอบครัว • สังคมแวดล้อม

  19. ทักษะการสื่อสาร • ฝึกฝนทักษะการพูด • การนำเสนอ • การทำงานเป็นกลุ่ม • การใช้ภาษาที่เหมาะสม

  20. สิ่งที่นักศึกษาต้องปฏิบัติสิ่งที่นักศึกษาต้องปฏิบัติ อ่านตำรา เข้าฟังการบรรยาย เข้าเรียนกลุ่มย่อย เขียนรายงานผลการตรวจผู้ป่วย และแสดงความคิดเห็น เขียนรายงานผลการปฏิบัติให้ห้องทดลอง ปฏิบัติตัวให้เหมาะสม มีมารยาทในวิชาชีพและการดำรงตน ถ้ามีปัญหาหรือสงสัยให้สอบถามทันที

  21. คุณสมบัติของบุคลากรทางการแพทย์คุณสมบัติของบุคลากรทางการแพทย์ สุขภาพดี บุคลิกภาพ – สังคมดี น่าเชื่อถือ มีความมั่นคงในชีวิต

  22. สุขภาพดี • อาหาร • ออกกำลังกาย

  23. บุคลิกภาพ – สังคมดี – น่าเชื่อถือ • สุขภาพจิต • ลด ละ เลิก อบายมุข • มีระเบียบ วินัยในชีวิต • ความเอื้ออาทรต่อเพื่อนมนุษย์ ไม่เห็นแก่ตัว

  24. มีความมั่นคงในชีวิต • มีเศรษฐกิจพอเพียง • มีวิชาการ • มีส่วนร่วมกับสังคมทุกระดับ • ครอบครัว • ชุมชน • สังคมโดยรวม

  25. องค์กรแพทย์ที่ควรรู้จักองค์กรแพทย์ที่ควรรู้จัก • แพทยสภา • แพทยสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • ราชวิทยาลัยแพทย์เฉพาะทางสาขาต่างๆ • กลุ่มสถาบันฝึกอบรมแพทย์เฉพาะทางแห่งประเทศไทย • สมาคมแพทย์เฉพาะทางสาขาต่างๆ • สมาคมโรงพยาบาลเอกชน

  26. ในขณะที่ท่านประกอบกิจแพทย์ อย่านึกว่าท่านตัวคนเดียวจงนึกว่าท่านเป็นสมาชิกของ “สงฆ์” คณะหนึ่ง คือ คณะแพทย์ ท่านทำดีหรือร้าย ได้ความเชื่อถือ หรือ ความดูถูกเพื่อนแพทย์อื่นๆจะพลอยยินดี หรือเจ็บร้อนอับอายด้วย นึกถึงความรับผิดชอบต่อผู้ที่เป็นแพทย์ด้วยกัน

  27. แพทย์ทุกคนมีกิจที่จะแสดงความกลมเกลียวในคณะ แพทย์ต่อสาธารณชน เมื่อเกิดความเลื่อมใสในคณะ แพทย์ขึ้นในหมู่ประชาชน แล้ว ผู้ที่จะตั้งต้นทำการแพทย์ ถึงจะยังไม่ได้มีโอกาสตั้งตัวในความไว้ใจของคน ก็จะได้ส่วนความไว้ใจ เพราะเป็นสมาชิกของคณะที่มีผู้นับถือ เราเห็นพระบวชใหม่ที่ยังไม่เป็นสมภารเราก็ยกมือไหว้ เพราะเรามีความนับถือในลัทธิของพระสงฆ์ฉันใดก็ดี แพทย์หนุ่มก็ได้ความไว้ใจเพราะคณะของเขาเป็นที่น่าไว้ใจ ฉะนั้นความประพฤติของแพทย์ บุคคลนำมาซึ่งประโยชน์แก่แพทย์ใหม่ และ เราก็อยากจะช่วยผู้ที่ตั้งต้นในอาชีพของเราเสมอไป” สมเด็จพระบรมราชชนก

  28. “ฉันไม่ต้องการ ให้เธอเป็นแพทย์เท่านั้น แต่ฉันต้องการ ให้เธอเป็นมนุษย์ด้วย” พระราชดำรัสของ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก พระราชทานในวโรกาสเปิดการศึกษาเวชนิสิต รุ่น ๒๔๗๑

  29. “อาชีพแพทย์นั้นมีเกียรติ แพทย์ที่ดีจะไม่ร่ำรวย แต่ไม่อดตาย ถ้าใครอยากร่ำรวย ก็ควรเป็นอย่างอื่น ไม่ใช่แพทย์” พระราชดำรัสของ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก พระราชทานแก่แพทย์รุ่น ๒๔๗๒

  30. “คนไข้โดยมากอยากรู้ความจริงเราไม่เชื่อความหลอกลวงของเราเองแล้วที่ไหนจะหวังให้คนไข้เชื่อถ้าท่านหลอกคนไข้แล้วท่านก็ต้องรักษาเขาได้หนเดียวโลกนี้เล็ก ถ้าท่านไม่ให้ยาจนเขาตายเลยท่านจะเจอเขาอีกและเขามีปากบอกความชั่วความดีกันไปต่อๆ” ลายพระหัตถ์ของ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ถึงสภานายกและสมาชิกสโมสรแพทย์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ลงวันที่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๔๗๑

  31. “การปิดทองหลังพระนั้น เมื่อถึงคราวจำเป็นก็ต้องปิด ว่าที่จริงแล้วคนโดยมาก ไม่ชอบปิดทองหลังพระกันนัก เพราะนึกว่าไม่มีใครเห็น แต่ถ้าทุกคนพากันปิดทองแต่ข้างหน้า ไม่มีใครปิดทองหลังพระเลย พระจะเป็นพระที่งามบริบูรณ์ไม่ได้ พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตร ณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๐๖

  32. “การบำบัดทุกข์ของ เพื่อนมนุษย์ผู้เจ็บป่วย โดยไม่เลือกบุคคล และไม่เห็นแก่อามิส เป็นทั้งหน้าที่ วินัย และอุดมคติของแพทย์ วังไกลกังวล ๒๘ มีนาคม ๒๕๐๘

  33. “จรรยาแพทย์ เป็นวินัยที่มิได้มีการ บังคับให้ทำตาม แต่ท่านจะต้อง บังคับตัวของท่านเอง ให้ปฏิบัติตามให้ได้ ” พระบรมราโชวาทของพระสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทานในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ ๖ เมษายน ๒๕๑๑

  34. “การรักษาความสมบรูณ์แข็งแรงของร่างกาย เป็นปัจจัยของเศรษฐกิจที่ดีและสังคมที่มั่นคง เพราะร่างกายที่แข็งแรงนั้น โดยปกติจะอำนวยผลให้สุขภาพใจสมบูรณ์ด้วย และ เมื่อมีสุขภาพสมบูรณ์ดีพร้อมทั้งร่างกายและจิตใจแล้วย่อมมีกำลังทำประโยชน์สร้างสรรค์เศรษฐกิจและสังคมของบ้านเมืองได้เต็มที่” พระบรมราโชวาทของพระสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทานในพิธีพระราชทานปริญญาบัตร ณ มหาวิทยาลัยมหิดล ๒๒ ตุลาคม ๒๕๒๒

  35. การที่ให้ศัลยแพทย์ผู้มีฝีมือเอก ในประเทศไทยได้ไปเห็นสภาพ ในท้องที่จริงๆนั้นบ้าง จึงเป็นประโยชน์ในด้านผู้ป่วย และในด้านผู้รักษา ผู้มีฝีมือเอกเหล่านั้น ก็จะมีฝีมือเอกยิ่งขึ้น เพราะเขาเห็นสภาพจริงของประเทศ เห็นชาวบ้านเขาอยู่กันอย่างไร” พระราชดำรัสของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทานแก่คณะกรรมการบริหารราชวิทยาลัยศัลยแพทย์แห่งประเทศไทย ๑๗ ตุลาคม ๒๕๒๔

  36. “คนเราถ้าพอใจในความต้องการก็มีความโลภน้อยเมื่อมีความโลภน้อยก็เบียดเบียนคนอื่นน้อยถ้าทุกประเทศมีคิดว่าทำอะไรต้องเพียงพอหมายความว่าพอประมาณไม่สุดโต่งไม่โลภอย่างมากคนเราก็อยู่เป็นสุข”“คนเราถ้าพอใจในความต้องการก็มีความโลภน้อยเมื่อมีความโลภน้อยก็เบียดเบียนคนอื่นน้อยถ้าทุกประเทศมีคิดว่าทำอะไรต้องเพียงพอหมายความว่าพอประมาณไม่สุดโต่งไม่โลภอย่างมากคนเราก็อยู่เป็นสุข” พระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทานแก่บุคคลที่เข้าเฝ้าฯ ถวายพระพร ณ ศาลาดุสิดาลัย ๔ ธันวาคม ๒๕๔๑

  37. เหตุใดแพทย์ต้องมีจริยธรรม : เพราะต้องมีความรับผิดชอบสูง • ในฐานะผู้นำสังคม • ในฐานะผู้ได้เปรียบ • ต่อประโยชน์สุขของเพื่อนมนุษย์ • ต่อชีวิตผู้อื่นและต่อตนเอง • ต่อสถาบันวิชาชีพแพทย์

  38. สถานการณ์ปัจจุบันสังคมมองแพทย์อย่างไรสถานการณ์ปัจจุบันสังคมมองแพทย์อย่างไร • การให้เกียรติ ต่อวิชาชีพแพทย์ น้อยลง • แพทย์ คือ ผู้ทำงาน ตรวจรักษาโรค ซึ่งผู้ป่วยมาจ่ายเงินซื้อบริการ • แพทย์พาณิชย์ คิดค่ารักษาแพง • แพทย์รักษา ไม่หาย เลี้ยงไข้ หรือเปล่า • แพทย์ วินิจฉัยโรค ผิดพลาด • เมื่อแพทย์ รักษาไม่ได้ตามที่คาดหวัง ก็ฟ้องร้องแพทย์ได้ • คนไข้ ไม่ไว้ใจแพทย์ ระแวงแพทย์

  39. แพทย์ควรปฏิบัติตัวอย่างไร ?จึงจะทำให้ผู้ป่วยเกิดความเชื่อมั่น เชื่อถือในตัวแพทย์

  40. ความเชื่อมั่น ความเชื่อถือ ความเชื่อใจ ในตัวแพทย์เกิดจาก ตัวแพทย์เอง • บุคลิกลักษณะ เมื่อผู้ป่วยพบแพทย์ การแต่งกายสุภาพ เรียบร้อย • การพูดจา ต่อคนไข้และญาติ ในลักษณะที่ให้เกียรติต่อเขาเสมอ • การพูดจา และแสดงออก ต่อเพื่อนแพทย์ด้วยกันหรือ เพื่อนร่วมงานสาขาอื่น ต้องให้เกียรติต่อเขาเสมอ • การมีความรู้ วิชาการที่แม่นยำ รู้จริง ทำให้แพทย์มั่นใจ ความมั่นใจนี้จะแสดงออก ให้ผู้ป่วยและญาติ รับรู้ได้ • แพทย์ต้องรู้จักสื่อสาร อธิบายให้ผู้ป่วย และญาติ รับทราบถึงคุณค่าหรือประโยชน์ที่แพทย์ให้การรักษาแก่เขาอย่างเพียงพอ

  41. ความเชื่อมั่น ความเชื่อถือ ความเชื่อใจ ในตัวแพทย์เกิดจาก ตัวแพทย์เอง • แพทย์ต้องอธิบาย หรือชี้ให้คนไข้ รู้ถึงคุณค่าของการพบ positive finding และ negative finding • แพทย์ต้องไม่เบื่อ หรือ รำคาญ เมื่อผู้ป่วยสอบถามข้อมูลการรักษา และต้องทำในลักษณะที่เต็มใจเสมอ • การอธิบาย ตอบข้อซักถาม ให้แก่คนไข้ที่มีความรู้ทางการแพทย์ ต้องใจเย็น และ ระมัดระวัง (ถึงแม้ความรู้นั้นอาจจะไม่ถูกต้อง ก็ต้องอธิบาย และให้เกียรติคนไข้เสมอ)

  42. การป้องกันความเสี่ยงจากการฟ้องร้องเบื้องต้นการป้องกันความเสี่ยงจากการฟ้องร้องเบื้องต้น • การบันทึกเวชระเบียน อย่างมีระบบ • บันทึกขั้นตอนการรักษาอย่างละเอียด • ข้อมูลที่แนะนำให้คนไข้และ ญาติเพื่อการรักษา และคนไข้ปฏิเสธ ควรบันทึกไว้อย่างละเอียด • การเขียน progress note • การสั่ง order ทางโทรศัพท์ ต้องทบทวนทันทีเมื่อเยี่ยมคนไข้ ถือเป็นความรับผิดชอบของแพทย์ • การเขียนใบรับรองแพทย์ และเอกสารทางการแพทย์อื่นๆ ต้องเขียนอย่างระมัดระวัง เป็นจริงตามหลักวิชาการแพทย์ (อย่าเขียนให้เพราะเกรงใจ ความรับผิดชอบอยู่ที่เรา)

  43. การบริหารความเสี่ยง เมื่อผลการรักษา ไม่พึงประสงค์ • เมื่อผลการรักษาไม่พึงประสงค์ ให้รีบรายงานฝ่ายบริหารทราบโดยด่วน เพื่อจะได้ช่วยsupportแพทย์ • อย่ากังวล หรือ ตกใจ มากเกินไป • อย่าเพิ่งสรุป หรือ แจ้ง หรืออธิบายผลใดๆแก่ผู้ป่วย เร็วเกินไป ถ้าจำเป็นอธิบายกว้างๆ อย่าเพิ่งลงรายละเอียด • พยายามแก้ไขปัญหาผู้ป่วยโดยเร็วที่สุด อย่าเพิ่งหาคนผิดหรือโทษคนอื่นๆ เพราะ คนไข้ และญาติ จะยิ่งขาดความเชื่อมั่น ปัญหาอาจลุกลาม • แพทย์ต้องรู้จักปรึกษาผู้รู้ รุ่นพี่ที่เคยมีประสบการณ์ในการรับมือกับปัญหา

  44. มารยาทของแพทย์ในการทำงานร่วมกันมารยาทของแพทย์ในการทำงานร่วมกัน • ไม่วิจารณ์การรักษา หรือ การทำงานของแพทย์ท่านอื่น ต่อหน้าคนไข้ หรือ ต่อหน้าพนักงาน • เมื่อมีปัญหาในการรักษา อย่าพยายามหาคนผิด หรือ โทษว่าโรงพยาบาล หรือเจ้าหน้าที่ ต่อคนไข้ แต่ควรจะรีบแก้ปัญหาให้คนไข้ และทำให้คนไข้รู้สึกว่า แพทย์ได้ตั้งใจและดูแลเขาอย่างดีที่สุดแล้ว • การส่งต่อ หรือ consult คนไข้ ให้สื่อสารกันโดยตรง อย่า สื่อสารผ่านพนักงาน เพราะอาจจะเกิดความเข้าใจผิด

  45. เป็นหมอไม่รู้กฎหมาย จะเสียหายไม่รู้ตัว

  46. ผู้ประกอบวิชาชีพแพทย์ผู้ประกอบวิชาชีพแพทย์ โทษทางอาญา โทษทางแพ่ง (ละเมิด) โทษในฐานะ ผู้ประกอบวิชาชีพ พระราชบัญญัติวิชาชีพ เวชกรรม พ.ศ.2525 หมวด 2 โฆษณา หมวด 3 การประกอบ วิชาชีพเวชกรรม หมวดอื่น ๆ ป.อาญา ม.291 ประมาทเป็นเหตุให้ ผู้อื่นเสียชีวิต ป.พ.พ. ม.420 1. กระทำโดยประมาท 2. มีหน้าที่ต้องกระทำแต่ งดเว้นไม่กระทำ 3. กระทำให้บุคคลอื่นเสีย หายแก่ชีวิต,ร่างกาย,อนามัย, เสรีภาพ,ทรัพย์สิน ป.อาญา ม.300 ประมาทเป็นเหตุให้ ผู้อื่นรับอันตรายสาหัส พ.ร.บ.สถานพยาบาล2541 ป.อาญา ม.59 วรรค 3 กระทำผิดโดยมิใช่เจตนา พ.ร.บ.หลักประกัน สุขภาพแห่งชาติ

  47. การฟ้องร้อง ๑. ผู้ประกอบวิชาชีพ ๗ สาขาวิชา ๒. ก่อนถูกฟ้องร้อง ๓. เมื่อถูกฟ้องร้อง ๔. หนังสือสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ๕. ข้อเท็จจริงทางการแพทย์ ๖. ตัวอย่างคำฟ้องแพ่ง

  48. ๗. ตัวอย่างคำพิพากษาฎีกาคดีแพ่ง การกระทำโดยประมาทเลินเล่อ ๘. คำพิพากษาคดีอาญาเกี่ยวกับพยาบาล ๙. รัฐธรรมนูญ พ.ศ. ๒๕๕๐

  49. ๑ ผู้ประกอบวิชาชีพ ๗ สาขาวิชา • แพทย์ ๔. พยาบาล • ๒. ทันตแพทย์ ๕. เทคนิคการแพทย์ • ๓. เภสัช ๖. เอกซเรย์ • ๗. กายภาพบำบัด

  50. ๒. ก่อนถูกฟ้องร้อง ๒.๑ สาเหตุทั่วไปของการฟ้องร้อง ๒.๒ การร้องเรียนและการฟ้องคดี ๒.๓ การป้องกันการฟ้องร้องจากการประกอบวิชาชีพฯ

More Related