1 / 77

บทบาทของพื้นที่ในการคุ้มครองภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและสมุนไพร

บทบาทของพื้นที่ในการคุ้มครองภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและสมุนไพร. ภญ . ดร . สุภาภรณ์ ปิติพร โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร อำเภอเมือง จังหวัดปราจีนบุรี. การแพทย์แผนไทยและสมุนไพร … หลากมิติ. มี ส่วนที่มีการบันทึกอย่างเป็นระบบ เช่น ตำราแพทย์ศาสตร์สังเคระห์ของภาคกลาง ปั๊บสาของล้านนา ใบลานของยาอิสาน

zena
Download Presentation

บทบาทของพื้นที่ในการคุ้มครองภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและสมุนไพร

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทบาทของพื้นที่ในการคุ้มครองภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและสมุนไพรบทบาทของพื้นที่ในการคุ้มครองภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและสมุนไพร ภญ.ดร.สุภาภรณ์ ปิติพร โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร อำเภอเมือง จังหวัดปราจีนบุรี

  2. การแพทย์แผนไทยและสมุนไพร…หลากมิติการแพทย์แผนไทยและสมุนไพร…หลากมิติ • มีส่วนที่มีการบันทึกอย่างเป็นระบบ เช่น ตำราแพทย์ศาสตร์สังเคระห์ของภาคกลาง ปั๊บสาของล้านนา ใบลานของยาอิสาน • ส่วนที่อยู่ในตัวหมอไม่มีการบันทึก • ส่วนที่ใช้ในครัวเรือน ในโรคและอาการง่ายๆ • การใช้ขึ้นกับตัวหมอ วัฒนธรรมและ พืชพรรณที่มีอยู่ในท้องถิ่น

  3. ยาหม้อใหญ่ในหมู่บ้าน

  4. ทำไป…ทำไม • เพื่อการพึ่งตนเองในด้านสุขภาพในทุกระดับ ครอบครัว ชุมชน และระดับประเทศ • เพื่อเพิ่มโอกาสในการแข่งขัน • เพื่อเผชิญหน้ากับภัยพิบัติ

  5. พื้นที่ทำอะไรได้บ้าง • บันทึกสิ่งที่มีอยู่ • จัดระบบและตรวจสอบข้อมูล • ประกาศการเป็นเจ้าของ การสร้างอัตตลักษณ์ให้ท้องถิ่น • ดูแลและอนุรักษ์สิ่งที่มีอยู่ • พัฒนาให้เกิดการนำมาใช้ได้จริง • สร้างทุกให้คนเห็นความสำคัญและสร้างการยอมรับในสังคม

  6. เก็บรวบรวมความรู้อย่างเป็นระบบเพื่อเป็นฐานข้อมูลในการพัฒนาเก็บรวบรวมความรู้อย่างเป็นระบบเพื่อเป็นฐานข้อมูลในการพัฒนา • มีพรรณพืช พรรณสัตว์ที่ใช้อะไรบ้าง • ใช้อย่างไร • มีประโยชน์ทางยาอย่างไร • จะกินจะใช้เมื่อใด • ปลูกอย่างไร เก็บเกี่ยวอย่างไร • ชอบขึ้นบริเวณไหน • จะอนุรักษ์ถิ่นที่อยู่ได้อย่างไร • จะขยายพันธุ์ได้อย่างไร • ผู้รู้ในท้องถิ่นคือใคร จะดูแลท่านได้อย่างไร การบันทึกและเผยแพร่คือการแสดงความเป็นเจ้าของ

  7. การพัฒนาการแพทย์แผนไทยและสมุนไพรการพัฒนาการแพทย์แผนไทยและสมุนไพร • การเก็บรวบรวมความรู้เดิม • การจัดทำฐานข้อมูล • การรวบรวมตำรายาโบราณ • การอนุรักษ์ป่า • และแหล่งพันธุกรรม • สมุนไพร การอนุรักษ์และรวบรวม • การพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้ • ได้มาตรฐาน • พัฒนาการบริการ • พัฒนาการวิจัย • การพัฒนาคน • จัดทำวิทยาลัย การนำมาใช้จริงในสังคม • การส่งเสริมการใช้ใน • ชุมชน • ส่งเสริมการปฏิบัติ • ของหมอพื้นบ้าน • ส่งเสริมการใช้ในสังคมเมือง การส่งเสริมการใช้ทุกระดับ

  8. ต้องรู้ว่าเรามีอะไรเสียก่อน จึงรู้ว่าจะไปคุ้มครองอะไร แล้วจะรู้ได้อย่างไร เสาะหาครู สืบค้นข้อมูล การบันทึกข้อมูล

  9. ห้ามผิดครู “การเป็นหมอยานั้น ต้องยึดมั่นในคำของอาจารย์เพิ่น ถ้าไม่ตั้งในคำสอนจะทำให้การรักษาไม่หาย ไม่มีความขลังด้วย”

  10. เมื่อลงไปสัมผัส… ประเทศไทยร่ำรวยภูมิปัญญาในการใช้สมุนไพร…ทรัพย์สินทางปัญญาที่สั่งสมมาหลายชั่วคน

  11. ด้วยเชื่อมั่นว่าความรู้ที่สั่งสมมาหลายชั่วคน จะได้รับการสืบสาน ส่งต่อ สู่คนรุ่นหลัง ต้องทำงาน แข่งกับเวลา หมอยา.. ล้วนอายุมาก

  12. รวบรวมความรู้ และฟื้นฟูการใช้สมุนไพร 4 ภาค ปัจจุบัน…ยังดั้นดันค้นหา ครูยาสมุนไพร

  13. ต้องรู้จักและรักในการเป็นหมอยาต้องรู้จักและรักในการเป็นหมอยา องค์ประกอบของหมอยาพื้นบ้าน หมอยามีความเชี่ยวชาญด้านการรักษา มีศีลธรรม มีจรรยาบรรณ เป็นผู้นำทาง จิตวิญญาณ พื้นบ้านระบบวัฒนธรรม ระบบนิเวศน์ สังคม สิ่งแวดล้อม

  14. ตัวหมอยา มีวินัยในบทบาทของหมอพื้นบ้าน เช่น ห้ามกินเนื้อ 10 อย่าง ได้แก่ เนื้อมนุษย์ ช้าง เสือ สิงโต หมา ลิงค่าง งู หมี ม้า เลียงผา ห้ามกินผักอีเละ(ผักปัง) เพราะจะทำให้ของเสื่อม ในทุกวันพระวันศีล ต้องเก็บดอกไม้ไว้พระบูชาครู และถือศีล

  15. สมุนไพรคือ…เทวดา การเก็บยา ต้องมีคำกล่าวและข้อปฏิบัติ จะมีคำกล่าวเพื่อขอยากับนางไม้เทวดาผู้รักษาต้นไม้เพราะต้นไม้ทุกต้นมีเจ้าของ เอโก เอกา ข้าพเจ้ามาขอไม้นำเจ้า เอามาปัวผู้ปัวคน ให้หายไข้หายป่วย ให้เป็นผู้เป็นคน แต่วันนี้มื้อนี่เป็นต้นไปเด้อ สาธุ ห้ามข้ามต้นยาตัวเอง เพราะถือว่าเราลบหลู่ต้นยา ต้นยาจะเสื่อม

  16. การเก็บยาต้อง…ขอ . คำกล่าวขอยาหมอยา บางท่าน เรียกการกล่าวพิษณุยา ซึ่งต้องครอบครูเสียก่อนถึงจะได้คำกล่าวมา บางคนเมื่อครอบครูแล้วไม่มีคำกล่าวพิษณุที่แน่นอน เพียงแต่กล่าวแต่สิ่งดี ๆ เพื่อขอยาก็ได้ หากไปเก็บยามาโดยไม่มีการกล่าวพิษณุยา ยาที่ได้มาจะไม่ดีรักษาคนไข้ไม่หาย

  17. การเก็บยา ต้องมีวัน เวลา เวลาเก็บยา เก็บได้วันอังคาร วันพฤหัสบดี เท่านั้นเพราะเป็นวันดี และช่วงเวลาจะเป็นช่วงเช้าถึงบ่ายสามเท่านั้น เพราะ เป็นวันแข็งแม้แต่เผาผีคนก็จะไม่เผาสองวันนี้ และที่เป็นช่วงเวลาเช้าไม่เกินบ่ายสามเพราะเวลาบ่ายสามเป็นช่วงเวลาที่คนเอาผีไปป่าหรือเวลาเผาปี จึงมีความเชื่อว่าหากเก็บช่วงเวลานั้นยาจะรักษาไม่หาย

  18. การเก็บยา ต้องระวัง ห้ามให้เงาทับยาเวลาเก็บการเก็บยาจะให้เงาของตัวหมอยาทับยาหรือเงาต้นยาไม่ได้ต้องยืนในทิศที่เงาจะไม่ทับเพราะหากเงาทับต้นยา ยาจะไม่ดีรักษาไม่หาย

  19. ยาดี ต้องปลุกเสก เมื่อได้ยามาแล้วต้องปลุกเสก หลังจากที่เก็บยามาไว้แล้ว ต้องมีการปลุกเสก ซึ่งคาถาปลุกเสกก็แล้วแต่ละคน แต่ละอาจารย์ ซึ่งก็จะไม่เหมือนกัน และไม่เปิดเผยหากไม่มีการครอบครูก่อน เพื่อให้ยามีความศักสิทธิ์มากขึ้น

  20. บูชายาที่เก็บไว้ หรือหมั่นตรวจตราคุณภาพยา มื่อดับ วันเพ็ญ ก็บูชายา ที่เก็บไว้ในบ้าน เมื่อถึงวันขึ้นสิบห้าค่ำ หรือแรมสิบห้าค่ำ หมอยาจะทำการบูชายา โดยใช้ขันห้า ขันแปด บูชาและมีคาถากล่าวกำกับ เพื่อให้ความเคารพยาทำให้ยามีประสิทธิภาพรักษาก็หาย และแสดงถึงความเชื่อ ความศรัทธาในตัวยาของตัวเองด้วย

  21. รอบรู้เรื่องต้นไม้ใบยา

  22. เมตตาเปี่ยมล้น เมตตาดั่งมหาสมุทร

  23. สำนึกในบุญคุญของสรรพสิ่งสำนึกในบุญคุญของสรรพสิ่ง สวดมนต์เช้าเย็น หรือทุกวันบุญเพื่อแผ่เมตตาให้กับต้นยา และสรรพสัตว์ที่อาศัยต้นไม้ ที่ต้องตายไปจากการนำต้นยามารักษาคนที่มาช่วยรักษาคนหรือ สวดมนต์ของคุณคนที่ยกพาข้าวมาให้

  24. จิตสำนึกต่อสังคมสูง เป็นที่พึ่งของชุมชน ในด้านวัฒนธรรม รอบรู้ประเพณี พิธีกรรม เป็นผู้ค้ำวัดค้าวา

  25. ลมหายใจของหมอยาพื้นบ้านอยู่ที่…สำนึกของคนในสังคมลมหายใจของหมอยาพื้นบ้านอยู่ที่…สำนึกของคนในสังคม การมีสัจจะ ความรอบรู้ ความเคารพและสำนึกในบุญคุญของธรรมชาติและสรรพสิ่ง ความเมตตตา จิตสาธารณะ

  26. กรอบการวิจัย…การน้อมรับจิตวิญญาณของหมอยาพื้นบ้านข้ามใส่ตัวของเรากรอบการวิจัย…การน้อมรับจิตวิญญาณของหมอยาพื้นบ้านข้ามใส่ตัวของเรา

  27. จากภูมิปัญญาพื้นบ้าน…สู่การสร้างนวตกรรมจากภูมิปัญญาพื้นบ้าน…สู่การสร้างนวตกรรม ยาสมุนไพร 36 รายการ ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร 5 รายการ เครื่องสำอาง 60 รายการ เครื่องดื่ม 7 รายการ

  28. ว่านหอม…ปราบมาร สู่การเป็น แป้งพัฟพ์ แป้งฝุ่น สบู่นางพญา ครีมกันแดด เจลแต้มสิว

  29. จากความรู้พื้นบ้าน…สู่การใช้จริงจากความรู้พื้นบ้าน…สู่การใช้จริง

  30. จากตำนาน สู่ • ผลิตภัณฑ์ แชมพูและครีมนวด นางผมหอม

  31. มังคุด

  32. มะขามป้อม แก้ไอ ช่วยดูแลหัวใจและหลอดเลือด ต้านอนุมูลอิสระ กำจัดพิษโลหะ อายุวัฒนะ

  33. ยาแก้ไอมะขามป้อม ผลิตภัณฑ์ขายดีของอภัยภูเบศร แก้หวัด แก้ไอ แก้เจ็บคอ มะขามป้อม สมุนไพร ตั้งแต่สมัยพุทธกาล ได้กลับมาดูลสุขภาพ ของคนไทยต่อไป

  34. ผลิตภัณฑ์จากมะขามป้อมผลิตภัณฑ์จากมะขามป้อม ครีมบำรุงผิวหน้าเอมบริกาพลัส อายเจลสมุนไพร

  35. การทดสอบด้วยเครื่อง Cutometer วัดค่า Elasticity และ Whitening

  36. ผลิตภัณฑ์จากมะขามป้อมผลิตภัณฑ์จากมะขามป้อม Emblica Products

  37. อบรมและฟื้นฟูการใช้สมุนไพรอบรมและฟื้นฟูการใช้สมุนไพร ...ส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทั้งรับ…และให้

  38. รายงานการศึกษาวิจัยการเก็บรวบรวมข้อมูลสมุนไพรพื้นบ้านรายงานการศึกษาวิจัยการเก็บรวบรวมข้อมูลสมุนไพรพื้นบ้าน เอาประสปการณ์มาแลก เจือจานแจกจ่าย ให้คนนำมาใช้พึ่งตนเองด้านสุขภาพ

  39. ถ้าสมุนไพรมีคุณภาพ สมุนไพรก็จะยังยอุ่ • GAP (Good Agriculture Practice) GHP (Good Harvesting Practice) • GMP (Good ManufacturingPractice) • GLP (Good LaboratoryPractice) • GCP (Good ClinicalPractice)

  40. พัฒนาการควบคุมคุณภาพทุกขั้นตอนพัฒนาการควบคุมคุณภาพทุกขั้นตอน ส่งเสริมชุมชน ผลิตวัตถุดิบสมุนไพรเกษตรอินทรีย์ บ้านดงบังและอีกหลายชุมชน

  41. ทำให้ชุมชนมีความสุข มีการทำสัญญาซื้อล่วงหน้า กำหนดราคาร่วมกัน

  42. เพื่อให้เกษตรกรและผู้บริโภค รวมถึงสิงแวดล้อมปลอดภัยจากสารเคมี ที่ใช้ในยาฆ่าแมลงและปุ๋ยเคมี จึงมุ่งผลิตวัตถุดิบ ได้รับการรับรองมาตรฐาน “เกษตรอินทรีย์” จาก มกท. (IFOAM)

  43. เกษตรอินทรีย์ รู้แหล่งที่มาของสมุนไพร การพึ่งพาตนเอง สารสำคัญที่เหมาะสม ดูแลระบบนิเวศ ลดสิ่งแปลกปลอมปนเปื้อน เกษตรกรมีความรู้ ลดสารตกค้าง สารหนู มีการวางแผนร่วมกัน คุณภาพวัตถุดิบ • ผู้บริโภคปลอดภัย • เกษตรกรปลอดภัย • สิ่งแวดล้อมที่ดี ลดปัญหาโลกร้อน

  44. พัฒนาการแพทย์แผนไทย เพื่อให้สมุนไพรกลับมา

  45. งานบริการแพทย์แผนไทย คลินิคแพทย์แผนไทยประยุกต์ การดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตแบบผสมผสาน • เป็นไปตามมาตรฐานการให้บริการแพทย์แผนไทยในสถานบริการสาธารณสุขของรัฐ ปี 2551กระทรวงสาธารณสุข • ตรวจวินิจฉัยโดยแพทย์แผนไทยประยุกต์ • ให้บริการโดยผู้ช่วยแพทย์แผนไทย(430 ชั่วโมง) ตามมาตรฐานคณะกรรมการวิชาชีพ • ทำงานเป็นทีมสหสาขาวิชาชีพในหอผู้ป่วยเปรมสุขและประสาทวิทยา • แพทย์แผนไทย แพทย์แผนปัจจุบัน กายภาพบำบัด ฝังเข็ม ออกกำลังกาย สมาธิ

  46. บริการแพทย์แผนไทยในสถานีอนามัย บริการแพทย์แผนไทยในสถานีอนามัย บริการทัวร์สุขภาพ งานบริการแพทย์แผนไทย • มีหมอนวดแผนไทยประจำสถานีอนามัย • เยี่ยมบ้าน นวดฟื้นฟูผู้พิการในชุมชน ทับหม้อเกลือ สอนทำฤาษีดัดตน • ร่วมมือกับภาคเอกชนหรือราชการ เช่น ภาพสำนักงาน กพ. หลักสูตรนักบริหารระดับสูง มารับบริการด้านการแพทย์แผนไทยที่ปราจีนบุรี เฉลี่ย2-3 ครั้ง/เดือน • บรรยายความรู้การดูแลสุขภาพตนเองด้วยการแพทย์แผนไทย • การใช้สุคนธบำบัด • อาหารเพื่อสุขภาพ

  47. การศึกษาดูงานด้านการแพทย์แผนไทยและสมุนไพรการศึกษาดูงานด้านการแพทย์แผนไทยและสมุนไพร ปี 2548 : 31,756 คน ปี 2549 : 25,279 คน ปี 2550 : 23,510 คน ปี 2551 : 30,152 คน ปี 2552 : คน 35,999

  48. วิทยาลัยการแพทย์แผนไทยอภัยภูเบศรวิทยาลัยการแพทย์แผนไทยอภัยภูเบศร • ให้การอบรมด้านการแพทย์แผนไทย โดยมีหลักสูตรที่เปิดสอนดังนี้ • หลักสูตรการแพทย์แผนไทยประยุกต์บัณฑิต โดยความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยบูรพา เปิดสอนระดับปริญญาตรี • หลักสูตรที่ผ่านการรับรองจากคณะกรรมการวิชาชีพ ได้แก่ • หลักสูตรผู้ช่วยแพทย์แผนไทย 430 ชั่วโมง • หลักสูตรนวดไทย 800 ชั่วโมง

  49. การส่งเสริมการใช้สมุนไพรการส่งเสริมการใช้สมุนไพร • หนังสือรวบรวมความรู้สมุนไพร • รายการวิทยุ “สุขภาพสู่เศรษฐกิจ” AM819 และรายการวิทยุ ม.เกษตรศาสตร์ AM1107 • รายการโทรทัศน์ ชีวิตชีวา (ช่อง 3) • จัดทำ “อภัยภูเบศรสาร” วารสารความรู้สมุนไพรและภูมิ ปัญญาแพทย์แผนไทย • จัดสวนสมุนไพรเพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ • ส่งเสริมการปลูกสมุนไพร แจกเมล็ดพันธุ์

More Related