1 / 9

การอ่านค่าความจุของคาปาซิเตอร์

การอ่านค่าความจุของคาปาซิเตอร์. การอ่านค่าความจุของคาปาซิเตอร์. คาปาซิเตอร์มีหน่วยเป็น ฟารัด ( F ) ไมโครฟารัด ( uF ) หรือ MFD และ นาโนฟารัด ( nF ). ดังนั้น         1 F   = 1,000,000 uF         1 uF = 1,000 nF         1 nF = 1,000 pF. การอ่านค่าความจุของคาปาซิเตอร์.

zeus-rivers
Download Presentation

การอ่านค่าความจุของคาปาซิเตอร์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การอ่านค่าความจุของคาปาซิเตอร์การอ่านค่าความจุของคาปาซิเตอร์

  2. การอ่านค่าความจุของคาปาซิเตอร์การอ่านค่าความจุของคาปาซิเตอร์ • คาปาซิเตอร์มีหน่วยเป็น ฟารัด (F) • ไมโครฟารัด (uF) หรือ MFD และ นาโนฟารัด (nF) ดังนั้น        1 F   = 1,000,000 uF        1 uF = 1,000 nF        1 nF = 1,000 pF

  3. การอ่านค่าความจุของคาปาซิเตอร์การอ่านค่าความจุของคาปาซิเตอร์ • การอ่านค่าความจุของคาปาซิเตอร์ตัวเก็บประจุจะบอกลักษณะอยู่ทั้งหมด 3 แบบ คือ   1. บอกเป็นตัวเลขค่าความจุ   2. บอกเป็นตัวเลข   3. บอกเป็นแถบสี

  4. การอ่านแบบที่บอกเป็นตัวเลขการอ่านแบบที่บอกเป็นตัวเลข • คาปาซิเตอร์ประเภทนี้ส่วนใหญ่จะมีความจุสูง และบอกอัตราทนแรงดันไฟฟ้าสูงสุดมาด้วย จากรูปสามารถอ่านได้ 1500 ไมโครฟารัดทนแรงดันสูงสุดที่ 35 โวลท์

  5. ตัวที่ 1 สามารถอ่านได้ 10 ไมโครฟารัด ทนแรงดันสูงสุดที่ 100 โวลท์ ตัวที่ 2 สามารถอ่านได้ 10 ไมโครฟารัด ทนแรงดันสูงสุดที่ 250 โวลท์

  6. คาปาซิเตอร์ชนิดนี้จะบอกเป็นตัวเลขมา 3 ตำแหน่งด้วยกัน โดยที่ ตัวที่หนึ่งจะเป็นตัวตั้งหลักที่หนึ่ง ตัวที่สองจะเป็นตัวตั้งหลักที่สอง และตัวเลขตัวที่สามจะเป็นตัวเติมเลขศูนย์ลงไป(หรือตัวคูณก็ได้) หน่วยที่ได้จะเป็นพิโกฟารัด เสมอ จากรูป 10 และเติมศูนย์อีกสองตัว จะได้ 1000 pF หรือ 1 nF(หารด้วย1,000) หรือ 0.001 uF (หารด้วย 1,000,000)

  7. 150000 pF150 nF0.15 uF ตัวอย่างการอ่านค่าตัวเก็บประจุ

  8. การอ่านแบบที่บอกเป็นตัวเลขการอ่านแบบที่บอกเป็นตัวเลข

  9. การอ่านแบบที่บอกเป็นแถบสีการอ่านแบบที่บอกเป็นแถบสี • การอ่านแบบที่บอกเป็นแถบสี หลักอ่านจะคล้ายกับตัวต้านทาน การอ่านค่าสีตัวคาปาซิเตอร์ เหลือง จะเป็นตัวตั้งหลักที่หนึ่ง มีค่า    4 ม่วงจะเป็นตัวตั้งหลักที่สอง มีค่า    7 เหลืองจะเป็นตัวคูณ                มีค่า    x10000 ขาวจะเป็นเปอร์เซ็นต์ความผิดพลาด มีค่า 10 % แดงจะเป็นอัตราทนแรงดันไฟฟ้ามีค่า 200 V ดังนั้นสามารถอ่านได้ 470000 pF หรือ 0.47 uF

More Related