1 / 57

หลักเกณฑ์ และวิธีการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ของข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา

หลักเกณฑ์ และวิธีการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ของข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา. ระบบจำแนกตำแหน่งข้าราชการ พลเรือน ในสถาบันอุดมศึกษา. ระบบใหม่ : จำแนกตามกลุ่มลักษณะงานเป็น 4 ประเภท. ระบบ P.C. เดิม : 11 ระดับ. ระดับ 11. ระดับ 10. ระดับ 9. ระดับ 8. ระดับ 7. ระดับ 3-5 หรือ 6

zyta
Download Presentation

หลักเกณฑ์ และวิธีการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ของข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลการปฏิบัติราชการของข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษาหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลการปฏิบัติราชการของข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา

  2. ระบบจำแนกตำแหน่งข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษาระบบจำแนกตำแหน่งข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา ระบบใหม่ : จำแนกตามกลุ่มลักษณะงานเป็น 4 ประเภท ระบบ P.C. เดิม : 11 ระดับ ระดับ 11 ระดับ 10 ระดับ 9 ระดับ 8 ระดับ 7 ระดับ 3-5 หรือ 6 ระดับ 2-4 หรือ 5 ระดับ 1-3 หรือ 4 - 2518 : นำระบบ PC มาใช้ในการบริหาร ทรัพยากรบุคคลภาครัฐ - 2550 : รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 : ให้ใช้ระบบคุณธรรม - 2551 : ก.พ.ปรับระบบการบริหารทรัพยากรบุคคลของข้าราชการ พลเรือนไทย : 4 ประเภท - 2553 : ก.พ.อ.ปรับระบบการบริหารงานบุคคล และกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลการปฏิบัติราชการของ ขรก.ก.พ.อ. 2

  3. การบริหารผลการปฏิบัติราชการการบริหารผลการปฏิบัติราชการ (Performance Management : PM) - กระบวนการ ที่ดำเนินการ อย่างเป็นระบบ - ผลักดัน / เชื่อมโยงเป้าหมาย องค์กร /หน่วยงาน /บุคคลเข้าด้วยกันผ่าน KPI วางแผน Performance Management : PM ให้รางวัล ติดตาม - นำไปใช้ประกอบ การพิจารณาความดีความชอบ • พัฒนา /ติดตาม/ ประเมินผลอย่างเป็นระบบ พัฒนา ประเมิน 3

  4. ความหมายของการประเมินผลการปฏิบัติราชการความหมายของการประเมินผลการปฏิบัติราชการ หมายถึง“การประเมินค่าของผลการปฏิบัติงานของข้าราชการ โดยพิจารณาผลสัมฤทธิ์ของงานในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ซึ่งต้องมีการกำหนดดัชนีชี้วัด หรือหลักฐานบ่งชี้ความสำเร็จของ งานร่วมกัน ระหว่างผู้ประเมินและผู้รับการประเมิน และ พิจารณาพฤติกรรมในการปฏิบัติราชการของข้าราชการตาม สมรรถนะที่สภาสถาบันอุดมศึกษากำหนด” 4

  5. รอบการประเมิน  ปีละ 2 รอบ (รอบละ 6 เดือน) • รอบที่ 1 : 1 ต.ค. – 31 มี.ค. • รอบที่ 2 : 1 เม.ย. – 30 ก.ย. หรือสภาสถาบันอุดมศึกษา อาจกำหนดช่วงเวลา ตามรอบของการประเมินผลการปฏิบัติราชการได้ ตามความเหมาะสมกับลักษณะงานของสถาบันอุดมศึกษา เช่น ตำแหน่งวิชาการอาจจะกำหนดช่วงเวลาตามภาคการศึกษา 5

  6. ผู้ประเมินผลการปฏิบัติราชการ หลักเกณฑ์ได้กำหนดไว้ในข้อ 11 (2) ว่า ผู้ประเมิน ได้แก่ ผู้บังคับบัญชาโดยตรงดังนั้น สภาสถาบันอุดมศึกษาจะต้องกำหนดผู้ประเมินผลการปฏิบัติราชการของข้าราชการให้ชัดเจน ไว้ในข้อบังคับของสถาบัน เช่น อธิการบดี มีหน้าที่ประเมินรองอธิการบดี คณบดี และผู้ช่วยอธิการบดี คณบดี มีหน้าที่ประเมินรองคณบดี เป็นต้น กรณีที่สถาบันอุดมศึกษาได้กำหนดไว้ในข้อบังคับให้มีการมอบอำนาจให้จัดทำเป็นคำสั่งมอบอำนาจให้ชัดเจน 6

  7. องค์ประกอบและสัดส่วนของการประเมินองค์ประกอบและสัดส่วนของการประเมิน 7

  8. ตัวอย่างสมรรถนะของข้าราชการสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ตัวอย่าง 8

  9. การจัดกลุ่มระดับและช่วงคะแนนประเมินการจัดกลุ่มระดับและช่วงคะแนนประเมิน 9

  10. แบบประเมินผลการปฏิบัติราชการแบบประเมินผลการปฏิบัติราชการ 10 ให้สภากำหนดแบบประเมินให้ชัดเจน : แบบข้อตกลงการประเมินผลสัมฤทธิ์ของงาน แบบข้อตกลงการประเมินพฤติกรรม การปฏิบัติราชการ แบบสรุปการประเมินผลการปฏิบัติราชการ

  11. แบบข้อตกลงการประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานของข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา (องค์ประกอบที่ 1) รอบการประเมิน รอบที่ 1 รอบที่ 2 ชื่อผู้รับการประเมิน .......................................................... ตำแหน่ง/ระดับ .................................................. สังกัด ..................................................................... ชื่อผู้บังคับบัญชา/ผู้ประเมิน ................................................................ ตำแหน่ง/ระดับ................................................................................................................. ตัวอย่างแบบประเมินผลสัมฤทธิ์ของงาน 11

  12. แบบข้อตกลงการประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติราชการของข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา (องค์ประกอบที่ 2) รอบการประเมิน รอบที่ 1 รอบที่ 2 ชื่อผู้รับการประเมิน .......................................................... ตำแหน่ง/ระดับ .................................................. สังกัด ..................................................................... ชื่อผู้บังคับบัญชา/ผู้ประเมิน ................................................................ ตำแหน่ง/ระดับ................................................................................................................. ตัวอย่างแบบประเมินสมรรถนะ หน้าแรก 12

  13. แบบข้อตกลงการประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติราชการของข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา (องค์ประกอบที่ 2) (ต่อ) ตัวอย่างแบบประเมินสมรรถนะ หน้าสอง 13

  14. ตัวอย่างแบบสรุปการประเมินการประเมินผลการปฏิบัติราชการตัวอย่างแบบสรุปการประเมินการประเมินผลการปฏิบัติราชการ 14

  15. การจัดเก็บผลการประเมินและหลักฐานการจัดเก็บผลการประเมินและหลักฐาน  สถาบันอุดมศึกษา • จัดให้มีระบบการจัดเก็บผลการประเมินพร้อมหลักฐานเพื่อใช้ประกอบการบริหารทรัพยากรบุคคลในด้านต่างๆ เช่น เลื่อนเงินเดือน พัฒนา แต่งตั้ง ฯลฯ ผู้บังคับบัญชา/หน่วยงานสังกัด • เก็บสำเนาแบบสรุปผลการประเมินผลการปฏิบัติราชการฯ เป็นเวลาอย่างน้อย 2 รอบการประเมิน หน่วยงานการเจ้าหน้าที่ • จัดเก็บต้นฉบับแบบสรุปฯ ไว้ในแฟ้มประวัติข้าราชการ หรือ จัดเก็บในรูปแบบอื่นที่เหมาะสม 15

  16. กลไกสนับสนุนความโปร่งใส/เป็นธรรมกลไกสนับสนุนความโปร่งใส/เป็นธรรม • อธิการบดีแต่งตั้งคณะกรรมการกลั่นกรองผลการประเมินฯ เพื่อเสนอความเห็นเกี่ยวกับมาตรฐานและความเป็นธรรมของการประเมิน โดยมีองค์ประกอบตามที่สภากำหนด เช่น อาจประกอบด้วย • รองอธิการบดีผู้รับผิดชอบงาน HR เป็นประธาน • คณบดี/ผู้บริหารที่เกี่ยวข้อง เป็นกรรมการ • กจ. ม/ส เป็นฝ่ายเลขานุการ • สภาสามารถกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลฯ เพิ่มเติมเป็นการ เฉพาะในกรณีที่มีเหตุผลอันสมควร 16

  17. วิธีการและขั้นตอนของการประเมินวิธีการและขั้นตอนของการประเมิน ก่อนเริ่ม /ต้นรอบการประเมิน สถาบันอุดมศึกษาประกาศข้อบังคับว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลฯ ให้ ขรก. ทราบโดยทั่วกัน (ภายในเดือน ........ 2554) ผู้ประเมิน/ผู้รับการประเมิน จัดทำข้อตกลงและลงนามร่วมกันตามแบบที่สภากำหนด (ภายในเดือน ส.ค. 2554) ข้อตกลงการประเมินผลสัมฤทธิ์ของงาน -กิจกรรมโครงการตัวชี้วัดค่าเป้าหมาย และน้ำหนักในการประเมินให้เหมาะสมกับลักษณะงาน -การกำหนดตัวชี้วัดของ ขรก.ตำแหน่งวิชาการต้องสอดคล้องกับมาตรฐานภาระงานตามประกาศ ก.พ.อ.ลว. 29 ต.ค.51 ข้อตกลงการประเมินพฤติกรรมฯ 17

  18. ตัวอย่าง แบบข้อตกลงการประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานของข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา (องค์ประกอบที่ 1) รอบการประเมินรอบที่ 1 รอบที่ 2 ชื่อผู้รับการประเมิน นาย ก. เชื่อฟังดี ตำแหน่ง/ระดับ นักวิชาการศึกษาชำนาญการ สังกัด สำนัก ก. ชื่อผู้บังคับบัญชา/ผู้ประเมิน นาย ข บังคับบัญชาดี ตำแหน่ง/ระดับ นักวิชาการศึกษาชำนาญการพิเศษ 18

  19. ตัวอย่าง หน้า 1 แบบข้อตกลงการประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติราชการ (สมรรถนะ) ของ ข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา (องค์ประกอบที่ 2) รอบการประเมินรอบที่ 1 รอบที่ 2 ชื่อผู้รับการประเมิน นาย ก. เชื่อฟังดี ตำแหน่ง/ระดับ นักวิชาการศึกษาชำนาญการ สังกัด สำนัก ก. ชื่อผู้บังคับบัญชา/ผู้ประเมิน นาย ข บังคับบัญชาดี ตำแหน่ง/ระดับ นักวิชาการศึกษาชำนาญการพิเศษ หน้า 2 19

  20. ระหว่างรอบการประเมิน ระหว่างรอบการประเมิน ผู้ประเมินให้คำปรึกษาแนะนำแก่ผู้รับการประเมินเพื่อการปรับปรุงแก้ไข พัฒนา เพื่อนำไปสู่ผลสัมฤทธิ์ของงานและสมรรถนะที่คาดหวังตามที่กำหนด หากมีกิจกรรม โครงการ หรืองานที่มีความสำคัญ หรือเร่งด่วนผู้ประเมินและผู้รับการประเมินอาจปรับปรุงข้อตกลงใหม่ได้ ทั้งนี้ จะต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์ต่อทางราชการเท่านั้น 20

  21. สิ้นรอบการประเมิน ผู้ประเมิน/ผู้รับการประเมิน ร่วมกันวิเคราะห์ผลสำเร็จของงานและพฤติกรรมการปฏิบัติราชการ เพื่อร่วมกันประเมินตามข้อตกลงการประเมินที่กำหนด ตัวอย่างการประเมิน ข้อตกลงการประเมินผลสัมฤทธิ์ของงาน ข้อตกลงการประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติราชการ 21

  22. ตัวอย่างที่ 1 แบบข้อตกลงการประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานของข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา (องค์ประกอบที่ 1) รอบการประเมินรอบที่ 1 รอบที่ 2 ชื่อผู้รับการประเมิน นาย ก. เชื่อฟังดี ตำแหน่ง/ระดับ นักวิชาการศึกษาชำนาญการ สังกัด สำนัก ก. ชื่อผู้บังคับบัญชา/ผู้ประเมิน นาย ข บังคับบัญชาดี ตำแหน่ง/ระดับ นักวิชาการศึกษาชำนาญการพิเศษ 22

  23. ตัวอย่างแบบประเมินผลการปฏิบัติงานตำแหน่งวิชาการตัวอย่างแบบประเมินผลการปฏิบัติงานตำแหน่งวิชาการ ตัวอย่างที่ 2 ส่วนที่ 1 ข้อมูลส่วนบุคคล ชื่อ .................................................................................. ตำแหน่ง .................................................................. สังกัด .................................................................................. คณะ/เทียบเท่า .................................................................. ช่วงเวลาการประเมิน  ครั้งที่ 1 (1 ต.ค. 2553 – 30 เม.ย. 2554)  ครั้งที่ 2 (1 เม.ย. 2554 – 30 ก.ย. 2554) ผู้ประเมิน (ผู้บังคับบัญชาชั้นต้น) ....................................................... ส่วนที่ 2 การประเมินผลรายงาน (performance) : ให้ผู้บังคับบัญชาชั้นต้นเป็นผู้ประเมินผลการปฏิบัติราชการตามข้อตกลง การปฏิบัติงานที่กำหนดร่วมกันล่วงหน้า โดยพิจารณาตามข้อมูลตัวชี้วัดที่กำหนดไว้ 23

  24. ตัวอย่างที่ 2 ส่วนที่ 1 ข้อมูลส่วนบุคคล (ต่อ) 24

  25. ตัวอย่างที่ 2 ส่วนที่ 1 ข้อมูลส่วนบุคคล (ต่อ) วิธีคิดคะแนนประเมินผล 1. คะแนนประเมินในแต่ละข้อคูณน้ำหนักของตัวชี้วัดในข้อนั้น 2. รวมคะแนนประเมินทั้งหมดที่คำนวณแล้วทุกข้อ 3. เทียบบัญญัติไตรยางศ์คะแนนประเมินรวม เพื่อหา 80% เท่ากับเท่าไร 25

  26. ตัวอย่างที่ 2 ส่วนที่ 3 การประเมินสมรรถนะ (Competency) ให้ผู้ประเมินพิจารณาประเมินสมรรถนะหลัก โดยประเมินตามคำจำกัดความสมรรถนะที่แนบ 26

  27. ส่วนที่ 3 การประเมินสมรรถนะ(ต่อ) ตัวอย่างที่ 2 * การคำนวณคะแนนสมรรถนะ ให้เทียบเกณฑ์ที่คาดหวัง = 100 และเทียบบัญญัติไตรยางศ์ผลการประเมินที่ได้ หากระดับคะแนนที่ได้สูงกว่าเกณฑ์ที่คาดหวังให้คิดว่าได้คะแนนเต็ม เช่น เกณฑ์ที่คาดหวัง = 4 เท่ากับ 100 คะแนน ระดับสมรรถนะที่ประเมินได้ = 3 เท่ากับ 75 คะแนน แต่หากระดับสมรรถนะที่ประเมินได้ = 5 คะแนนที่ได้จะเท่ากับ 100 คะแนน ** ส่วนงานอาจกำหนดสมรรถนะสายอาชีพ (Functional Competency) เพิ่มเติมได้ โดยให้คิดคะแนนรวมอยู่ในส่วนของการประเมินสมรรถนะ (Competency) 27

  28. ตัวอย่างที่ 2 28

  29. ตัวอย่าง ข้อตกลงการประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติราชการข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา (องค์ประกอบที่ 2) รอบการประเมินรอบที่ 1 รอบที่ 2 ชื่อผู้รับการประเมิน นาย ก. เชื่อฟังดี ตำแหน่ง/ระดับ นักวิชาการศึกษาชำนาญการ สังกัด สำนัก ก. ชื่อผู้บังคับบัญชา/ผู้ประเมิน นาย ข บังคับบัญชาดี ตำแหน่ง/ระดับ นักวิชาการศึกษาชำนาญการพิเศษ หน้า 1 29

  30. ข้อตกลงการประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติราชการของข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษาข้อตกลงการประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติราชการของข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา (องค์ประกอบที่ 2) (ต่อ) ตัวอย่าง หน้า 2 30

  31. สิ้นรอบการประเมิน (ต่อ) 31 ผู้ประเมินประมวลผลคะแนนแบบอิงเกณฑ์ หรืออิงกลุ่ม ตามที่สภากำหนด และประเมินผลตามช่วงคะแนนที่กำหนดในแต่ละระดับ และระบุผล การประเมินในแบบสรุปผลการปฏิบัติราชการ ผู้ประเมินแจ้งผลการประเมินให้ ขรก. ทราบเป็นรายบุคคล และลงนามรับทราบผลการประเมิน กรณีผู้รับการประเมินไม่ยินยอมลงนามรับทราบ ให้ขรก.ในสังกัด ลงลายมือชื่อเป็นพยาน

  32. ตัวอย่างแบบสรุปการประเมินการประเมินผลการปฏิบัติราชการตัวอย่างแบบสรุปการประเมินการประเมินผลการปฏิบัติราชการ 32

  33. แบบสรุปประเมินผล แบบประเมินผลสัมฤทธิ์ 0.90 63.0 0.88 26.4 89.4 ตัวอย่าง 0.90 แบบประเมินพฤติกรรมฯ 0.88 33

  34. สิ้นรอบการประเมิน (ต่อ) ผู้ประเมิน ประกาศรายชื่อผู้มีผลการประเมินอยู่ในระดับดีเด่น/ดีมาก จัดส่งผลการประเมินของ ขรก. ลูกจ้างประจำ พนักงานมหาวิทยาลัย พนักงานราชการ และลูกจ้างชั่วคราว ในสังกัด ตามแบบสรุปให้หน่วยงานบริหารบุคคลและนิติการภายในระยะเวลาที่กำหนดเพื่อรวบรวมเสนอคณะกรรมการกลั่นกรอง และอธิการบดีพิจารณาให้ความเห็นชอบ นำผลการประเมินไปใช้ในการบริหารทรัพยากรบุคคลในด้านต่างๆ เช่น การเลื่อนเงินเดือน และพัฒนาบุคลการ การเลื่อนตำแหน่ง ต่อไป 34

  35. แนวทางการกำหนดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายแนวทางการกำหนดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย ความหมายตัวชี้วัด (Key PerformanceIndicator:KPI) ข้อมูลที่แสดงหรือบอกให้รู้ว่าผลการดำเนินงานสำเร็จ ตามเป้าหมายที่กำหนด สิ่งที่ถูกกำหนดขึ้นเพื่อใช้วัด ติดตามหรือประเมินว่า ผลการปฏิบัติงานได้ผลเป็นอย่างไร สิ่งที่ใช้เป็นเครื่องมือของผู้ประเมินในการกำกับ ติดตาม การปฏิบัติงานของผู้รับการประเมินเพื่อให้ได้ผลงาน เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนด 35

  36. ประเภทของตัวชี้วัด  ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ : ตัวชี้วัดที่กำหนดขึ้นเพื่อวัดสิ่งที่นับได้ เป็นตัวเลข โดยมีหน่วยวัด เช่น จำนวน ร้อยละ และระยะเวลา เป็นต้น  ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ : ตัวชี้วัดที่กำหนดขึ้นเพื่อวัดสิ่งที่ไม่สามารถวัดได้ใน เชิงปริมาณ ซึ่งเป็นคำอธิบาย หรือเกณฑ์ในการประเมิน เช่น ระดับความสำเร็จ เป็นต้น 36

  37. หน่วย/วัน • จำนวนโทรศัพท์/ชั่วโมง • จำนวนShipment/ไตรมาส • จำนวนหน่วยที่ผลิต • ปริมาณการให้บริการ • จำนวนโครงการที่สำเร็จ • จำนวนชิ้นงานที่ผลิตได้ • จำนวนโทรศัพท์ที่รับสาย ลักษณะของตัวชี้วัด • Specification • ข้อร้องเรียน • คำชม • ความพึงพอใจของลูกค้า KPIs : ด้านคุณภาพ (Quality) KPIs : ด้านปริมาณ (Quantity) KRA KPIs : ด้านกำหนดเวลา (Timeliness) KPIs : ด้านความคุ้มค่าของต้นทุน (Cost-Effectiveness) • ตารางการทำงานสำเร็จตามแผน • งานเสร็จตามวันครบกำหนด • ส่งงานตามกำหนดการ • งานเสร็จภายใน Cycle time • จำนวนเงินที่ใช้จ่าย • จำนวนคำแนะนำที่มีการปฏิบัติตาม • จำนวนเงินที่ใช้จ่ายเกินงบประมาณที่ตั้งไว้ • ค่าใช้จ่ายนอกเหนืองบประมาณ

  38. วิธีการถ่ายทอดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายรายบุคคลวิธีการถ่ายทอดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายรายบุคคล • วิธีการถ่ายทอดเป้าหมายและตัวชี้วัดผลงาน • จากบนลงล่าง (Goal Cascading Method) •  วิธีการสอบถามความคาดหวังของผู้รับบริการ • (Customer-Focused Method) •  วิธีการไล่เรียงตามผังการเคลื่อนของงาน • (Work Flow Charting Method) • การพิจารณาจากประเด็นสำคัญที่ต้องปรับปรุง (Issue- Driven) 38

  39. ลักษณะการถ่ายทอดเป้าหมายและตัวชี้วัดผลงานจากบนลงล่าง (Goal Cascading Method) อธิการบดี เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ เป้าหมายตามภารกิจ/งานประจำ รองอธิการบดี * เป็นตัวเดียวกับ ผู้ประเมินได้ * แบ่งส่วนตัวชี้วัดและ เป้าหมายจากผู้ประเมิน * เป็นคนละตัวกับ ผู้ประเมินได้ คณบดี รองคณบดี ผู้ปฏิบัติงาน 39

  40. หัวหน้า ส่วนราชการ ผอ. กองวิชาการ หัวหน้ากลุ่ม วิชาการและวิเทศสัมพันธ์ • ตัวอย่างการถ่ายทอดตัวชี้วัดผลสำเร็จของงานจากบนลงล่าง 1) การถ่ายทอดลงมาโดยตรง • มอบหมายความรับผิดชอบทั้ง ตัวชี้วัด (KPIs) และ ค่าเป้าหมาย ในแต่ละข้อ จากผู้บังคับบัญชาสู่ผู้ใต้บังคับบัญชาทั้งหมด • มักใช้ในกรณีที่เป็นการมอบหมายจากผู้บังคับบัญชาระดับสูง

  41. เกษตรจังหวัด เกษตรอำเภอ ผู้ปฏิบัติงานที่รับผิดชอบตำบล • ตัวอย่างการถ่ายทอดตัวชี้วัดผลสำเร็จของงานจากบนลงล่าง 2) การถ่ายทอดโดยการแบ่งค่าตัวเลขเป้าหมาย • ยังใช้ตัวชี้วัดเดิมเป็นหลัก แต่อาจกำหนดระบุพื้นที่หรือขอบเขตความรับผิดชอบ และมีการกำหนดตัวเลขเป้าหมายที่ลดลงตามส่วน • มักใช้ในกรณีการแบ่งพื้นที่รับผิดชอบ หรือการแบ่งการปฏิบัติงานตามกลุ่มเป้าหมาย ค่าตัวเลขเป้าหมายของผู้ใต้บังคับบัญชาทุกคน ในระดับเดียวกันรวมแล้ว เท่ากับหรือมากกว่า ค่าตัวเลขเป้าหมายของผู้บังคับบัญชา  41

  42. ตัวอย่างการถ่ายทอดตัวชี้วัดผลสำเร็จของงานจากบนลงล่างตัวอย่างการถ่ายทอดตัวชี้วัดผลสำเร็จของงานจากบนลงล่าง 3) การถ่ายทอดที่ผู้ใต้บังคับบัญชาได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติงาน เพียงบางด้าน (แบ่งเฉพาะด้านที่มอบ) • มอบหมายงานเพียงบางด้าน หรือบางส่วนแก่ผู้ใต้บังคับบัญชา • จำเป็นต้องกำหนด ผลสัมฤทธิ์หลัก และตัวชี้วัดที่ต้องการจากผู้ใต้บังคับบัญชาใหม่ • มักใช้ในกรณีที่ เป้าหมายผลการปฏิบัติงานของตนที่ต้องการถ่ายทอด ประกอบขึ้นด้วย เป้าหมายการปฏิบัติงานย่อยหลายประการ และต้องการมอบหมายเป้าหมายผลการปฏิบัติงานย่อยในแต่ละส่วนให้ผู้ใต้บังคับบัญชาแต่ละคนรับผิดชอบ • จำเป็นต้องมีความเข้าใจในกระบวนการทำงานที่จะส่งผลต่อเป้าหมายผลการปฏิบัติงานของตนก่อน ผู้อำนวยการ ศูนย์เทคโนโลยี สารสนเทศฯ ผู้ดูแลระบบ เครือข่ายฯ ผู้รับผิดชอบ การอบรม

  43. ตัวอย่างของตัวชี้วัดที่ถ่ายทอดค่าเป้าหมายจากบนลงล่างตัวอย่างของตัวชี้วัดที่ถ่ายทอดค่าเป้าหมายจากบนลงล่าง 40

  44. ลักษณะการสอบถามความคาดหวังของผู้รับบริการ(Customer-Focused Method) ความคาดหวังของผู้รับบริการ เช่น ต้องการความรวดเร็ว / ความพึงพอใจสูงสุด เป็นต้น • ใครคือผู้รับบริการ? • ผู้รับบริการต้องการ/คาดหวังอะไร? • จะตั้งเป้าหมายในการให้บริการอย่างไร? • จัดทำข้อตกลงการให้บริการ (Service Level Agreement) • ประเมินผลตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ ผู้รับบริการ ก ผลผลิต บริการ ผลผลิต บริการ ผลผลิต บริการ ผู้ปฏิบัติงาน ผู้รับบริการ ง ผู้รับบริการ ข ผลผลิต บริการ ผู้รับบริการ ค 41

  45. ขั้นตอนดำเนินการ 1. เลือกภาระงานบริการของผู้รับการประเมิน เช่น การให้บริการแก่ลูกค้าภายนอก และการให้บริการแก่ลูกค้าภายใน 2. เลือกมิติการบริการที่จะประเมิน เช่น เลือกประเมินความรวดเร็ว ความถูกต้องในการให้บริการ และความสุภาพในการให้บริการของผู้ให้บริการ 3. ตัดสินใจเกี่ยวกับรายละเอียดการประเมิน ช่วงเวลาที่จะประเมิน กำหนดกลุ่มตัวแทนผู้ให้ข้อมูล ออกแบบวิธีการและแบบฟอร์มสำหรับการประเมิน 4. ประมวลและสรุปผล ให้ผู้รับบริการกรอกแบบสำรวจ หรือการสัมภาษณ์ผู้รับบริการ และประมวลผลข้อมูล 5. สรุปผลการประเมิน สรุปผลการประเมินผลการปฏิบัติราชการของผู้ให้บริการ

  46. ตัวอย่างตัวชี้วัดจากการสอบถามความหวังของผู้รับบริการตัวอย่างตัวชี้วัดจากการสอบถามความหวังของผู้รับบริการ 42

  47. ลักษณะการไล่เรียงตามผังการเคลื่อนของงาน (Work Flow Charting Method) Key Process Key Results Role-Result Matrix จัดทำข้อเสนอโครงการวิจัย เริ่มต้น เสนออนุมัติโครงการ ตัวอย่าง กระบวนการวิจัย ดำเนินการวิจัยตามแผน จัดทำรายงานผลการวิจัย ผลผลิต 43

  48. การไล่เรียงตามผังการเคลื่อนของงาน (Work Flow Charting Method) ตัวอย่าง งาน : การจัดทำระบบศูนย์ข้อมูลกลางมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร KPI : ระดับความสำเร็จของการจัดทำฐานข้อมูลกลางมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร

  49. การพิจารณาจากประเด็นสำคัญที่ต้องปรับปรุง (Issue- Driven) ตัวอย่างที่ 1

  50. 4. การพิจารณาจากประเด็นสำคัญที่ต้องปรับปรุง (Issue- Driven) (ต่อ) ตัวอย่างที่ 2

More Related