520 likes | 771 Views
รัฐวิสาหกิจ ไทย: อดีต ปัจจุบัน และอนาคต. พรายพล คุ้มทรัพย์. เอกสารอ้างอิง : “The Privatization Challenge: A Strategic, Legal, and Institutional Analysis of International Experience” by Pierre Guislain, The World Bank, 1997. เอกสารอ้างอิง : “ การแปรรูปรัฐวิสาหกิจ ”
E N D
รัฐวิสาหกิจไทย:อดีต ปัจจุบัน และอนาคต พรายพล คุ้มทรัพย์
เอกสารอ้างอิง: “The Privatization Challenge: A Strategic, Legal, and Institutional Analysis of International Experience” by Pierre Guislain, The World Bank, 1997
เอกสารอ้างอิง: • “การแปรรูปรัฐวิสาหกิจ” • ฝ่ายวิชาการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2542 • “สาระน่ารู้: การปฏิรูปรัฐวิสาหกิจ” • สำนักรัฐวิสาหกิจและหลักทรัพย์ของรัฐ • กระทรวงการคลัง และคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2543
เอกสารอ้างอิง: • “สัมปทานในกิจการสาธารณูปโภค” • พรายพล คุ้มทรัพย์ และสมัย โกรธินทาคม 2544 • “State Enterprises and Privatization • in Thailand: Problems, Progress andProspects” by Praipol Koomsup 2003
เค้าโครงการบรรยาย 2 ส่วน: • ความเป็นมา ปัญหา และความพยายามปรับปรุงรัฐวิสาหกิจไทย • การปฏิรูปรัฐวิสาหกิจ
บทบาทของภาครัฐในด้านเศรษฐกิจบทบาทของภาครัฐในด้านเศรษฐกิจ • นโยบายและแผน • บริหารและกำกับดูแล • ผลิตสินค้าและบริการ
บทบาทของภาครัฐในด้านเศรษฐกิจบทบาทของภาครัฐในด้านเศรษฐกิจ • หน่วยราชการ: นโยบายและบริหาร บริการ/สินค้าสาธารณะ (ใช้เงินภาษี) • รัฐวิสาหกิจ: ผลิตสินค้าและบริการ (คิดค่าสินค้าและบริการโดยตรง)
โดยปกติภาคเอกชนผลิตสินค้าและบริการได้ ทำไมจึงต้องมีรัฐวิสาหกิจ? • รัฐวิสาหกิจลงทุนและผลิต ในกรณีที่สินค้าและบริการมีความสำคัญต่อเศรษฐกิจและสังคม โดย • ไม่ควรให้เอกชนทำ (เพื่อ “ความมั่นคง”) • ผูกขาดธรรมชาติ (natural monopoly) และจำเป็นต่อการครองชีพ (สาธารณูปโภค)
โดยปกติภาคเอกชนผลิตสินค้าและบริการได้ ทำไมจึงต้องมีรัฐวิสาหกิจ? • รัฐวิสาหกิจลงทุนและผลิต ในกรณีที่สินค้าและบริการมีความสำคัญต่อเศรษฐกิจและสังคม โดย • ไม่คุ้มค่าเชิงพาณิชย์ • ใช้เงินลงทุนสูง • เป็นอบายมุข (ต้องควบคุม และเพื่อรายได้)
แบ่งรัฐวิสาหกิจไทยได้ 5 ประเภท • สาธารณูปโภค (ไฟฟ้าประปา โทรศัพท์ขนส่ง) • รายได้จากอบายมุข (บุหรี่ สลากกินแบ่งสุรา) • ส่งเสริมบางสาขา/สวัสดิการ (กีฬา สวนสัตว์ ท่องเที่ยว นิคมอุตสาหกรรม โคนม ยาง ยา วิจัย)
แบ่งรัฐวิสาหกิจไทยได้ 5 ประเภท • สถาบันการเงิน (ธนาคารพาณิชย์ ธนาคารพัฒนาเฉพาะด้าน: ออมสิน ธกส. ธอส. Exim SME) • ความมั่นคงทางทหาร (หนัง ทอผ้า แก้ว อาหารสำเร็จ แบตเตอรี่ อู่เรือ)
ความสำคัญของรัฐวิสาหกิจไทยความสำคัญของรัฐวิสาหกิจไทย • 60 แห่ง • สินทรัพย์ 2 ล้านล้านบาท (40% ของ GDP) โดยไม่รวมสถาบันการเงิน • รายจ่ายสูงกว่างบประมาณของรัฐบาล
ความสำคัญของรัฐวิสาหกิจไทยความสำคัญของรัฐวิสาหกิจไทย • หนี้ =1/3 ของหนี้สาธารณะ • ส่วนใหญ่มีกระทรวงการคลังค้ำประกัน • พนักงาน 250,000 คน (1% ของกำลังแรงงาน) • ส่งรายได้เป็น 6% ของรายได้รวมรัฐบาล
ปัญหาของรัฐวิสาหกิจไทยปัญหาของรัฐวิสาหกิจไทย • บริการไม่น่าพอใจ • กรณีตัวอย่าง: รถไฟ ขสมก. ท่าเรือ ประปา • ภาระการเงินสำหรับภาครัฐ • ไม่ขาดทุน • แต่ต้องกู้ยืมเพื่อลงทุนทุกปี • ภาระหนี้สำหรับภาครัฐ
สาเหตุของปัญหา 3 ประการ • ข้อจำกัดทางการเงิน • ข้อบกพร่องของระบบและองค์กร • การผูกขาด (ขาดการแข่งขัน)
สาเหตุของปัญหา • ข้อจำกัดทางการเงิน • การปรับราคาและแรงกดดันทางการเมือง • ความจำเป็นในการลงทุนและการกู้ยืม • การขาดทุนและการปรับปรุงคุณภาพบริการ
สาเหตุของปัญหา • ข้อบกพร่องทางระบบและองค์กร: • กฎ ระเบียบ ไม่คล่องตัว • ระบบเงินเดือน สวัสดิการ และแรงจูงใจในการทำงาน • ความเหมาะสมของคณะกรรมการ/ผู้บริหาร
สาเหตุของปัญหา • ข้อบกพร่องทางระบบและองค์กร: • โครงสร้างการควบคุมและกำกับดูแล • การแทรกแซงทางการเมือง
สาเหตุของปัญหา • การผูกขาด • ผูกขาดโดยธรรมชาติ หรือ โดยนโยบาย • ผู้บริโภคมีทางเลือกน้อย --> คุณภาพบริการต่ำ • การให้สัมปทานกับเอกชน แต่รัฐวิสาหกิจเป็นคู่แข่งที่ทำหน้าที่กำกับดูแลด้วย
การปรับปรุงกิจการรัฐวิสาหกิจไทยการปรับปรุงกิจการรัฐวิสาหกิจไทย • เริ่มตั้งแต่แผนพัฒนาที่ 1 • แต่จริงจังในช่วงกว่า 20 ปีที่ผ่านมา • ในทศวรรษ 1990 ให้สัมปทานเอกชนในสาขา ไฟฟ้า โทรคมนาคม ทางด่วน ท่าเรือ ประปา
การปรับปรุงกิจการรัฐวิสาหกิจไทยการปรับปรุงกิจการรัฐวิสาหกิจไทย • อำนาจการผูกขาดและอำนาจการกำกับดูแลของรัฐวิสาหกิจ ยังเป็นอุปสรรคต่อการแข่งขันจากธุรกิจเอกชน • การขยาย - ยุบรัฐวิสาหกิจบางแห่ง
การปรับปรุงกิจการรัฐวิสาหกิจไทยการปรับปรุงกิจการรัฐวิสาหกิจไทย • การปรับปรุง “ธรรมาภิบาล” ของรัฐวิสาหกิจ • รัฐวิสาหกิจชั้นดี • การสรรหา แต่งตั้ง และดำรงตำแหน่งของผู้บริหาร
การปรับปรุงกิจการรัฐวิสาหกิจไทยการปรับปรุงกิจการรัฐวิสาหกิจไทย • ความจำเป็นในการแปรรูปรัฐวิสาหกิจอย่างจริงจัง (เพิ่มบทบาทของเอกชน)
กระบวนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจกระบวนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ • หลักการของการแปรรูปรัฐวิสาหกิจไทย: • ส่วนหนึ่งของแผนฟื้นฟูเศรษฐกิจหลังวิกฤต • เปิดโอกาสให้เอกชนเข้ามาลงทุนและให้บริการ เพื่อแข่งขันกับรัฐวิสาหกิจ (Privatization, Capitalization, Peopleization, Equitization,Commercialization)
กระบวนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ: Privatization • การเพิ่มบทบาทเอกชน (Privatization) 2 แนวทาง: • ขายหุ้นให้เอกชน • ให้สัมปทานแก่เอกชน (ช่วงเวลาหนึ่ง)
กระบวนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ: Privatization • การขายหุ้น มีหลายวิธี/มิติ • ขายให้ใคร อย่างไร: • ประชาชน IPO และ voucher • นักลงทุนสถาบัน • พนักงาน/ผู้บริหารรัฐวิสาหกิจ • พันธมิตรร่วมทุน (strategicpartners)
กระบวนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ: Privatization • การขายหุ้น มีหลายวิธี/มิติ • ข้อจำกัดในการขายหุ้นให้ต่างชาติ • “หุ้นทอง”(golden shares)ถือโดยรัฐบาล • ก่อนขาย ต้องมีการประเมินมูลค่าทรัพย์สิน • บางกรณี ต้องมีการจัดองค์กรใหม่ • ระดับการพัฒนาของตลาดหลักทรัพย์ และวิธีการขายหุ้น
กระบวนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ: Privatization • การให้สัมปทาน (สิทธิชั่วคราวหรือ concession) ใช้กับ natural monopoly
กระบวนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ: Privatization • การให้สัมปทาน มีหลายแบบ: จากเอกชนมีบทบาทน้อย ไปถึงมาก • Service/Management Contracts • Leases
กระบวนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ: Privatization • การให้สัมปทาน (Concessions) : • ระยะเวลายาว 20 - 30 ปี • เอกชนลงทุน บริหาร และดำเนินงานเอง • มีสิทธิแต่ผู้เดียวในช่วงสัมปทาน
กระบวนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ: Privatization • การให้สัมปทาน (Concessions): • จ่ายค่าสัมปทานให้ภาครัฐ • เอกชนรับความเสี่ยงด้านตลาด แต่รัฐอาจประกันตลาดในบางกรณี
กระบวนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ: Privatization • การให้สัมปทาน (Concessions) : • B = Build • T = Transfer • O = Operate
กระบวนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ: Privatization • การให้สัมปทาน (Concessions) : • มี 3 รูปแบบ: 1) BTO โอนให้รัฐเมื่อสร้างเสร็จ ทางด่วนขั้น 2 ดอนเมืองโทลเวย์ โทรศัพท์
กระบวนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ: Privatization • การให้สัมปทาน (Concessions) : • มี 3 รูปแบบ: 2) BOT โอนให้รัฐเมื่อสิ้นสุดสัมปทาน รถไฟฟ้า BTS ท่าเรือแหลมฉบัง ประปาปทุม-รังสิต
กระบวนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ: Privatization • การให้สัมปทาน (Concessions) : • มี 3 รูปแบบ: 3) BOO ไม่ต้องโอนให้รัฐ ผู้ผลิตไฟฟ้าอิสระ (IPP)
กระบวนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ: Privatization • การให้สัมปทาน (Concessions) : • มี 3 รูปแบบ: 3) BOO ไม่ต้องโอนให้รัฐ ผู้ผลิตไฟฟ้าอิสระ (IPP)
วัตถุประสงค์ของการแปรรูปรัฐวิสาหกิจวัตถุประสงค์ของการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ วัตถุประสงค์สำคัญ คือประสิทธิภาพ ไม่ใช่เพียงเปลี่ยนเจ้าของ แต่สำคัญที่ การส่งเสริมการแข่งขัน
กระบวนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจกระบวนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ • แยกงานเป็น 3 ส่วน • นโยบายและแผน (policy and planning) โดยรัฐบาล • การกำกับดูแล (regulation) โดยองค์กรกำกับอิสระ • การให้บริการ (service provision) โดยเอกชนและรัฐวิสาหกิจ
กระบวนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจกระบวนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ • กิจการใดควร/ไม่ควรแปรรูป? • สินค้า/บริการที่เอกชนผลิตได้อยู่แล้ว • สาธารณูปโภคที่มีผู้ผลิตได้หลายราย • สาธารณูปโภคที่ “ผูกขาดโดยธรรมชาติ” (กรณีก้ำกึ่ง) • บริการเชิงสังคม ไม่ใช่เชิงพาณิชย์ (แปรรูปไม่ได้)
กระบวนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจกระบวนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ • กิจการสาธารณูปโภคมักมีรัฐวิสาหกิจ เป็นผู้ผูกขาด (ไฟฟ้า ประปา โทรศัพท์ ท่าเรือ) • ปรับเพื่อเพิ่มการแข่งขัน และมีการกำกับดูแล ผู้ผูกขาด
กระบวนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจกระบวนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ • กิจการสาธารณูปโภคผูกขาดต้องปรับโดย “การแยกส่วน” (unbundling) และคำนึงถึง ประโยชน์/ต้นทุนของการกำจัดการผูกขาด
กระบวนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจกระบวนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ • แยกแบบแนวตั้ง:upstream/ downstream เช่น generationtransmission distributionในไฟฟ้า • แยกแบบแนวนอน: แยกกิจการผูกขาดตามพื้นที่
กระบวนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจกระบวนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ • แยกระหว่าง โครงสร้างพื้นฐานทางกายภาพ (physical infrastructure) และการให้บริการ
กระบวนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจกระบวนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ • โครงสร้างพื้นฐานทางกายภาพ: • แข่งขันได้ เช่น โรงไฟฟ้า โรงพักสินค้า ท่าเทียบเรือ เครือข่ายโทรศัพท์ทางไกล • ต้องผูกขาด เช่น ระบบสายส่ง/จำหน่ายไฟฟ้า ถนน รางรถไฟ โทรศัพท์พื้นฐาน ท่าเรือ ร่องน้ำ ท่าอากาศยาน
กระบวนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจกระบวนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ • การให้บริการ: • แข่งขันได้ เช่น โทรศัพท์ การขนส่ง การขนยกสินค้า การขายปลีกไฟ/น้ำ • ต้องผูกขาด เช่น การขุดลอกร่องน้ำ การจัดระเบียบจราจร
กระบวนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ: ปรับโครงสร้างตลาด • ข้อเสนอการแยกส่วนกิจการไฟฟ้าไทย: • เคยผูกขาดโดย กฟผ. กฟน. กฟภ. • แยกส่วนโดยให้ผลิตไฟโดยเอกชนแข่งกัน ขายเข้าตลาดกลาง ผ่านระบบสายส่ง/สาย จำหน่ายซึ่งผูกขาดโดยรัฐวิสาหกิจ และแข่งกันขายปลีก
กระบวนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ: ปรับโครงสร้างตลาด • การแยกส่วนกิจการไฟฟ้าไทยในปัจจุบัน: • แยกส่วนโดยให้ผลิตไฟโดยเอกชนแข่งกัน ขายให้ กฟผ. ผ่านระบบสายส่ง/สาย จำหน่ายซึ่งผูกขาดโดยรัฐวิสาหกิจ และขายปลีกก็ยังผูกขาด (กฟน. และ กฟภ.)
ผลการแปรรูปรัฐวิสาหกิจไทยผลการแปรรูปรัฐวิสาหกิจไทย • กิจการไฟฟ้าไทยในปัจจุบัน: • นโยบาย: กระทรวงพลังงาน • กำกับดูแล: คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน • ให้บริการ: ผลิตไฟฟ้าโดยเอกชนและ กฟผ. กฟผ. ระบบสายส่ง กฟน. และ กฟภ. ระบบสายจำหน่าย และขายปลีก
ผลการแปรรูปรัฐวิสาหกิจไทยผลการแปรรูปรัฐวิสาหกิจไทย • กิจการโทรคมนาคมไทยในปัจจุบัน: • นโยบาย: กระทรวงเทคโนโลยีสื่อสารฯ (ICT) • กำกับดูแล: คณะกรรมการสื่อสารและ • โทรคมนาคมแห่งชาติ • ให้บริการ: TOT กสท. และเอกชน (AIS DTAC • TRUE)