2.03k likes | 5.58k Views
การบริหารโครงการ (Project Management). โดย อาจารย์ สมสุณีย์ ดวงแข สถาบันวิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. การบริหารโครงการ. 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงการ ความหมายโครงการ/ตัวอย่างโครงการ ลักษณะของโครงการ ความแตกต่างระหว่างแผนงาน(Program)และโครงการ (Project)
E N D
การบริหารโครงการ (Project Management) โดย อาจารย์ สมสุณีย์ ดวงแข สถาบันวิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ Page 1
การบริหารโครงการ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงการ • ความหมายโครงการ/ตัวอย่างโครงการ • ลักษณะของโครงการ • ความแตกต่างระหว่างแผนงาน(Program)และโครงการ(Project) • วงจรการพัฒนาโครงการ 2. ขั้นตอนการบริหารโครงการ • การวางแผนโครงการ • การบริหารโครงการและควบคุมโครงการ • ปิดโครงการ • ประเมินผลการดำเนินงาน Page 2
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงการความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงการ ความหมาย โครงการ(Project) หมายถึง - ข้อเสนอที่จะดำเนินงานในเรื่องใดเรื่องหนึ่งให้สำเร็จ โดยมีการตระเตรียม และวางแผนงานไว้ล่วงหน้า - เป็นการจัดการ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ในเรื่องหนึ่ง ในระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง เช่น งานด้านวิจัยเรื่องหนึ่ง, การก่อสร้างถนน,การก่อสร้างเขื่อน,การฝึกอบรม Page 3
การก่อสร้างอาคาร/รถไฟใต้ดินการก่อสร้างอาคาร/รถไฟใต้ดิน การก่อสร้างท่าเรือ/ยานอวกาศ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงการ ตัวอย่าง โครงการทางวิศวกรรม การก่อสร้างถนน Page 4
การจัดงาน/การแข่งกีฬา ฯลฯ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงการ ตัวอย่างโครงการทางสังคม/วัฒนธรรม การสัมมนา /โครงการฝึกอาชีพ /การขุดรอกทางน้ำ Page 5
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงการความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงการ ความแตกต่างระหว่างแผนงาน(Program)และโครงการ(Project) • แผนงาน หนึ่งแผนจะประกอบด้วยโครงการมากกว่า1โครงการ • แผนงาน เป็นการดำเนินงานระยะยาว(5-10ปี) ในขณะที่โครงการจะเป็นการดำเนินงานในระยะสั้น(ไม่เกิน5ปี) • การวางแผนงาน จะมีกระบวนการดำเนินการทั่วทั้งองค์การ แต่การวางแผนโครงการจะจัดทำโดยหน่วยงานเดียว และจะจัดทำโครงการเพื่อสนับสนุนแผนงานหลัก • วิธีการจัดทำแผนงาน จะใช้วิธีการวางแผนเชิงกลยุทธ์ Page 6
Project Time Cost Quality ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงการ ลักษณะของโครงการ • มีวัตถุประสงค์ชัดเจน (เน้นผลลัพธ์) • มีกำหนดเวลาเริ่มต้นและสิ้นสุด • ดำเนินงานอยู่ภายใต้ข้อจำกัด เวลา ต้นทุน คุณภาพ Page 7
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงการความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงการ 1.วิเคราะห์โครงการ 2. การบริหารโครงการ การวางแผน การติดตามควบคุม ปิดโครงการ 3. การบำรุงรักษา วงจรการพัฒนาโครงการ: • 1. ช่วงระยะก่อนการบริหารโครงการ • เสาะหาโครงการ • การวิเคราะห์โครงการเบื้องต้น • ศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ • การประเมินโครงการและตัดสินใจ • 2. ช่วงระยะการบริหารโครงการ • การวางแผนบริหารโครงการ • การติดตามควบคุมโครงการ • ปิดโครงการ • ประเมินผลการดำเนินงาน • 3. ช่วงระยะการบำรุงรักษา • การรับประกันและบำรุงรักษา Page 8
ช่วงระยะการบริหารโครงการช่วงระยะการบริหารโครงการ ช่วงระยะหลัง บริหารโครงการ ช่วงระยะก่อน บริหารโครงการ ปิดโครงการ กิจกรรม กิจกรรม กิจกรรม ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงการ วงจรการพัฒนาโครงการ จัดซื้อ บัญชี-การเงิน วิเคราะห์โครงการ การวางแผนโครงการ ควบคุมติดตามโครงการ บำรุงรักษา วัตถุประสงค์ ประเมินผล Page 9
การใช้ทรัพยากรเพื่อบริหารโครงการการใช้ทรัพยากรเพื่อบริหารโครงการ ปริมาณทรัพยากร ดำเนินการโครงการ ปิดโครงการ ริเริ่มโครงการ วางแผน ปริมาณการใช้ทรัพยากร (เงินทุน,แรงงาน,เครื่องจักร) เวลา Page 10
การวางแผนโครงการ • จุดมุ่งหมายของการวางแผน • กำหนดงานที่จะต้องทำ • ป้องกันก่อนที่ปัญหาจะเกิดขึ้น • เตรียมเกณฑ์ที่จะตรวจสอบประเมินผล • ปัจจัยที่ต้องคำนึงถึงในการวางแผน • ผลิตภัณฑ์ที่ต้องส่งมอบและคุณภาพงาน • เวลา • ทรัพยากร Page 11
การวางแผนโครงการ • ขั้นตอนการวางแผนโครงการ • กำหนดวัตถุประสงค์และขอบเขตของงาน • ผลิตภัณฑ์/บริการที่ต้องส่งมอบและโครงสร้างงาน • การจัดองค์กรและการทำงาน • การจัดองค์กร • ระบุความรับผิดชอบ • ระบบการบันทึกเวลา • ระบบการรายงาน • กำหนดระบบการทำงานและระบบเอกสาร • ระบบการทำงาน • ตารางเวลาและทรัพยากร • จะต้องทำงานอะไรบ้าง, ใช้เวลาเท่าไร,ใช้ทรัพยากรอะไร • ใช้ตาราง แกนท์ชาร์ต(Gantt Chart) • วิเคราะห์ความเสี่ยง Page 12
WBS แผนงาน (Project Plan) ผจก. โครงการ ระบบข้อมูลและเอกสาร x Y Z งบประมาณ-ทรัพยากร แผนหลัก (Main Project) แผนย่อย (Sub Project) แผนแก้ปัญหา การวางแผนโครงการ 1.กำหนดวัตถุประสงค์ 2.รายการส่งมอบและ รายการโครงสร้างงาน 3.จัดองค์กรและการทำงาน 4.กำหนดระบบงาน-เอกสาร 5.ทำตารางเวลา 6.วิเคราะห์ความเสี่ยง Page 13
การวางแผนโครงการ 1.กำหนดวัตถุประสงค์ 1. กำหนดวัตถุประสงค์และขอบเขตของงาน • อธิบายถึงวัตถุประสงค์ของการดำเนินการเพื่อให้บรรลุผล เมื่อสิ้นสุดโครงการ • กำหนดขอบเขตของงานว่า จะครอบคลุมถึงการทำงานด้านใด จากพื้นที่ใดถึงพื้นที่ใด Page 14
การวางแผนโครงการ ตัวอย่าง - กำหนดวัตถุประสงค์และขอบเขตของงาน โครงการหมู่บ้าน/ชุมชนเฉลิมพระเกียรติปลอดยาเสพติด วัตถุประสงค์ของโครงการ • เพื่อรณรงค์ใหประชาชนและทุกหนวยงานทั้งภาครัฐและเอกชนรวมมือรวมใจกันดําเนินการใหชุมชนของตนอย่างน้อย 4,000 แห่งปลอดยาเสพติด โดยถวายเปนพระกุศลเนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 5 ธันวาคม 2542 Page 15
การวางแผนโครงการ 2.รายการส่งมอบและ รายการโครงสร้างงาน 2. กำหนดผลิตภัณฑ์ที่จะต้องส่งมอบและระบุรายการโครงสร้างงาน • ระบุผลิตภัณฑ์(Product) เอกสาร (Documents) ระบบงาน (System) ที่จะต้องส่งมอบให้ชัดเจน • กำหนดรายการโครงสร้างงาน(WBS:Work Breakdown Structure) Page 16
การวางแผนโครงการ • รายการโครงสร้างงาน(WBS) หมายถึง กลุ่มรายการงานที่ต้องทำภายในโครงการหนึ่งๆ งานใดที่ไม่ระบุในรายการโครงสร้างงาน งานนั้นจะอยู่นอกขอบเขตของโครงการ • ลักษณะของรายการโครงสร้างงาน • มักแทนด้วยรูปผังต้นไม้(Tree Structure) • เป็นรายการงานที่ต้องส่งมอบของโครงการขนาดใหญ่ เช่น โครงการสร้างสนามบิน (กรณีโครงการเล็กได้แก่ กิจกรรมที่ต้องทำในโครงการ) • ใช้เป็นรายการฐาน(Baseline)ในการควบคุมโครงการ • ใช้เพื่อมอบหมายงานให้ผู้รับผิดชอบ Page 17
ตัวอย่าง รายการโครงสร้างงาน(WBS) สนามบินสุวรรณภูมิ Page 18
S T U Y V X ตารางเวลา กิจกรรมS-ถมพื้น Inputs - ทราย Outputs- พื้นที่ราบ Cost-23 ล้าน Schedule-12 ก.ค.2545 Resources- บริษัท21 งานก่อสร้างสนามบิน ตัวอย่าง รายการโครงสร้างงาน(WBS) สนามบินสุวรรณภูมิ LS-งานปรับพื้นที่ แต่ละงานสามารถจะนำไปแตกย่อยเป็นกิจกรรมย่อยๆ เพื่อจัดทำตารางเวลาการทำงาน S-ถมพื้น T-ขุดร่องน้ำ U- ฝังท่อ V- ราดยางยะตอย X- รถบดถนน Y- ตีเส้นทางเดินรถ Page 19
การวางแผนโครงการ ตัวอย่าง - ระบุผลิตภัณฑ์ที่ส่งมอบ โครงการมู่บ้าน/ชุมชนเฉลิมพระเกียรติปลอดยาเสพติด รายการส่งมอบเมื่อสิ้นสุดโครงการ • รายชื่อชุมชนอย่างน้อย 4,000 แห่งได้รับการประกาศรับรอง • ประชาคมเครือข่ายอย่างน้อย 4,000 แห่งได้รับการจัดตั้ง • อาสาสมัครประจำหมู่บ้าน 4,000 แห่ง ผ่านการฝึกอบรม Page 20
การวางแผนโครงการ ตัวอย่างรายการโครงสร้างงาน(WBS) Page 21
3.จัดองค์กรและการทำงาน3.จัดองค์กรและการทำงาน 3. การจัดองค์กร • การจัดองค์กรคือ การจัดความสัมพันธ์ระหว่างคนกับหน้าที่ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพมากที่สุดสำหรับโครงการหนึ่งๆ • การจัดองค์กรในลักษณะโครงการ (Project Organization) • กลุ่มงาน/ทีมงาน (Taskforce,Working Team) • ผู้ประสานงาน (Project Coordinator) • องค์กรแบบโครงการถาวร (Pure Project Organization) • องค์กรแบบ2มิติ (Matrix Organization) Page 22
ทีมงานในหน่วยเดียว ประธาน ฝ่ายการตลาด-ขาย ฝ่ายโรงงาน ฝ่ายบัญชี-การเงิน พนักงานขาย เจ้าหน้าที่ เจ้าหน้าที่ คนงาน พนักงานบัญชี เจ้าหน้าที่การเงิน กลุ่มแก้ไขปัญหา • ลักษณะ • เพื่อให้การทำงานประจำรวดเร็วขึ้น • ลักษณะงานชั่วคราว งานที่ต้องการความเร่งด่วน • งานไม่ซับซ้อน • กลุ่มงาน/ทีมงาน (Taskforce,Working Team) Page 23
ประธาน ผู้ประสานงาน ฝ่ายคอมพิวเตอร์ ฝ่ายโรงงาน ฝ่ายบริหาร ผจก.ฝ่ายMIS Project โครงการจัดทำระบบคอมพิวเตอร์ เจ้าหน้าที่บัญชี ผจก.โรงงาน เจ้าหน้าที่ หัวหน้าแผนกQC เจ้าหน้าที่จัดซื้อ • ลักษณะ • เพื่อให้เกิดการประสานงานให้โครงการสำเร็จ • ลักษณะงานเกี่ยวข้องกับหน่วยงานหลายหน่วย • โครงการต้องใช้เวลา • ผู้ประสานงาน (Project Coordinator) Page 24
โครงการก่อสร้างสนามบินโครงการก่อสร้างสนามบิน ผ่ายจัดส่ง ฝ่ายวิศวกรรม ฝ่ายจัดซื้อ • ฝ่ายจัดส่ง • เจ้าหน้าที่ • วิศวกร • วิศวกร • เจ้าหน้าที่จัดซื้อ • เจ้าหน้าที่จัดซื้อ • ลักษณะ • เป็นการดำเนินการแบบโครงการใหญ่ • โครงการซับซ้อน • โครงการต้องใช้เวลา • สลายตัวเมื่อโครงการเสร็จ • องค์การแบบโครงการถาวร (Pure Project Organization) Page 25
ประธาน ฝ่ายโครงการ ฝ่ายวิศวกรรม ฝ่ายจัดซื้อ ผจก.โครงการ - 1 วิศวกร เจ้าหน้าที่จัดซื้อ วิศวกร เจ้าหน้าที่จัดซื้อ ผจก. โครงการ - 2 • ลักษณะ • โครงการซับซ้อน • มีโครงการเกิดขึ้นใหม่จำนวนมากและมีลักษณะคล้ายกัน • บุคลากรย้ายคืนหน่วยงานเมื่อโครงการเสร็จ • ต้องการรักษาบุคลากรให้มีความชำนาญ • องค์การแบบ2มิติ (Matrix Organization) Page 26
ขนาดและความซับซ้อน จัดองค์การโครงการถาวร มาก กลุ่มงาน/ทีมงาน หลายแผนก องค์การ2มิติ (ถาวร) องค์การ2มิติ (ชั่วคราว) ปานกลาง กลุ่มงาน/ทีมงานในแผนกเดียว น้อย ระยะเวลาโครงการ &จำนวนโครงการใหม่ น้อย ปานกลาง มาก ปัจจัยในการพิจารณาในการจัดองค์การในโครงการ Page 27
การวางแผนโครงการ • การกำหนดบทบาทและหน้าที่ความรับผิดชอบ • หน้าที่และบทบาท (Roles and Functions) • การกำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบ (Allocation of Responsibility) ตัวอย่างบทบาทในโครงการ • ผู้ดำเนินงาน,วิศวกร,นักวิจัย,ผู้ช่วยนักวิจัย&ข้อมูล,โปรแกรมเมอร์ • ผู้จัดการโครงการ,ผู้รับผิดชอบโครงการ,ผู้ประสานงาน • เจ้าหน้าที่ทดสอบ,เจ้าหน้าที่ตรวจสอบคุณภาพ,เจ้าหน้าที่ควบคุมข้อมูล,เจ้าหน้าที่ควบคุมงบประมาณ,เจ้าหน้าที่จัดซื้อ • นักออกแบบ,เจ้าหน้าที่วิเคราะห์,สถาปัตยกร,ครีเอทีฟ Page 28
Identity สิ่งยึดเหนี่ยว S5 ระบบบริหารงานองค์กร Intelligence หน่วย ข่าว-วิจัย-ออกแบบ S4 Future Environment Audit สอบภายใน-ประเมินผล Control หน่วยควบคุม S3 S2 Coordination หน่วยประสาน S3* สภาวะ/เงื่อนไข ในอนาคต Local Environment สภาวะท้องถิ่น S1 S1 การติดต่อ-สื่อสาร Environment สภาวะแวดล้อม (ภายนอก) S1 สภาวะแวดล้อมการทำงาน (ภายใน) Operational Elements หน่วยปฎิบัติระดับต่างๆ Viable Systems Model (Stanfford Beer; VSM) Page 29
การควบคุมและติดตามโครงการการควบคุมและติดตามโครงการ • หน้าที่ของผู้จัดการโครงการ • วางแผนและปรับปรุงแผนโครงการ • ติดตาม ควบคุมให้งานเป็นไปตามแผนที่วางไว้ • ประสานงานกับทุกส่วนที่เกี่ยวข้อง • ช่วยเหลือติดตามดูแลการทำงานลูกทีม • สนับสนุนจัดหาสิ่งที่จำเป็นในโครงการ • แก้ไขปัญหาข้อขัดแย้งต่างๆ Page 30
4.กำหนดระบบงาน-เอกสาร 4. กำหนดระบบการทำงานและระบบเอกสาร • ระบบเวลาทำงาน (Time Reporting) • ระบบการรายงาน (Reporting System) • ระบบเอกสาร (Document Management) • ระบบการจัดเก็บเอกสารโครงการ (Project Library) • ระบบการจัดเก็บผลิตภัณฑ์ (Product Library) • ระบบหมายเลขเอกสาร (Document Layouts) • ระบบการเปลี่ยนแปลงเอกสาร (Configuration/Change Management) • ระบบการจ่ายแจกเอกสาร (Information Distribution) • แผนคุณภาพ • วิธีการในการทำงาน - วัสดุอุปกรณ์ที่ต้องใช้ - ผลลัพธ์ที่ต้องการ Page 31
5.ทำตารางเวลา 5. การกำหนดตารางเวลา • จะต้องทำงานอะไรบ้าง • ใช้เวลาเท่าไร • ใช้ทรัพยากรอะไร Page 32
การกำหนดตารางเวลาโครงการการกำหนดตารางเวลาโครงการ • จุดมุ่งหมายของการกำหนดตารางเวลาโครงการ • จะต้องทำงานอะไรบ้าง • ใช้เวลาเท่าไร • ใช้ทรัพยากรอะไร • เครื่องมือที่ใช้ในการจัดทำตารางเวลา • Gantt Chart : by Henry Gantt • ประกอบด้วยกิจกรรมช่วงเวลา กราฟแท่งแนวนอน • Precedence Diagram Method (PDM): by John W. Fondahl, Standford University Page 33
หมายเลข EF ES LS=Late Start เริ่ม ชื่องาน เสร็จ LF LS เวลา ผู้รับผิดชอบ LF=Late Finish ES=Early Start EF=Early Finish TF=Total Float การวางแผนโครงการ การกำหนดตารางเวลาโครงการ ลักษณะแผนผัง PDM • ใช้ กล่องสี่เหลี่ยมแทนงาน • ลูกศรจะแทนความสัมพันธ์ระหว่างงานในหลายๆชนิด Page 34
หมายเลข ES EF 25 35 ชื่องาน เสร็จ งาน D LS LF เวลา ผู้รับผิดชอบ - 9 นายA 0 20 30 10 5 งาน C งาน E งาน A เริ่ม นายB 4 นายB 6 3 นายB 0 - 15 งาน B 7 นายC การกำหนดตารางเวลาโครงการ 12 3 13 13 13 13 4 13 3 9 9 13 0 3 0 0 13 3 9 9 3 0 0 0 0 7 2 9 Page 35
การวิเคราะห์ความเสี่ยงการวิเคราะห์ความเสี่ยง 6.วิเคราะห์ความเสี่ยง • การวิเคราะห์ความเสี่ยง • ความเสี่ยงคือ สิ่งที่มีโอกาสจะทำให้การดำเนินการโครงการล้มเหลว • ขั้นตอนการวิเคราะห์ปัญหา • คำถามเพื่อประเมินความเสี่ยง • การกำหนดและประเมินความเสี่ยง • ประเมินระดับความเสี่ยง (ความเป็นได้ที่จะเกิดและความรุนแรง) • จัดทำแผนฉุกเฉินเพื่อป้องกัน/แก้ไขปัญหา • การจัดการกับความเสี่ยง • ดำเนินการทันที (Act) • ติดตาม (Watch) • โอนย้าย (Transfer) • มอบหมาย (Delegate) • จัดทำแผน (Strategize) Page 36
การวิเคราะห์ความเสี่ยงการวิเคราะห์ความเสี่ยง • คำถามเพื่อการวิเคราะห์ความเสี่ยง • กระบวนการบริหารโครงการ • มีการวางแผน • มีการปฏิบัติตามแผน • มีการจัดองค์กร • ประสบการณ์และความซับซ้อนของโครงการมากน้อย • การติดตามควบคุมมีตัวชี้วัดที่ดีหรือไม่ • มีระบบควบคุมคุณภาพ ระบบควบคุมเอกสาร หรือไม่ • สภาพแวดล้อมในการบริหารโครงการ • ทัศนคติต่อระบบคุณภาพ • ขวัญกำลังใจของบุคลากร • การร่วมมือประสานงาน • การติดต่อสื่อสาร • ข้อจำกัด • ข้อจำกัดด้านเวลา บุคลากร งบประมาณ สิ่งอำนวยความสะดวก • ความเกี่ยวพันกับโครงการอื่น Page 37
การวิเคราะห์ความเสี่ยงการวิเคราะห์ความเสี่ยง ความน่าจะเป็น ผลกระทบ Page 38
การควบคุมและติดตามโครงการการควบคุมและติดตามโครงการ • ช่วงเริ่มดำเนินการ • ดำเนินการติดตามโครงการตามจุดตรวจสอบ • ประเมินผลตามเกณฑ์การวัดผล Page 39
การควบคุมและติดตามโครงการการควบคุมและติดตามโครงการ • ช่วงดำเนินโครงการ • ติดตามการสื่อสารภายในโครงการ • ตารางการรายงาน • รายงานสถานภาพของกิจกรรมในโครงการ • การประชุม • การประชุมเริ่มโครงการ (Kick off Meeting) • ประเภทการประชุม • การประชุมภายในทีมงาน • การประชุมระหว่างกรรมการบริหารและทีมงาน • ประชุมแก้ปัญหาเฉพาะกิจ • ความถี่ในการประชุม Page 40
การควบคุมและติดตามโครงการการควบคุมและติดตามโครงการ • การติดตามดูแลโครงการ (Project Monitoring) • การตรวจติดตาม(Audit) • การติดตามโดยผู้จ้าง • การตรวจติดตามในระดับโครงการเอง • การวัดความก้าวหน้าระหว่างการดำเนินงาน • จัดทำโดยผู้จัดการโครงการ ทุกสัปดาห์ 1 เดือน 3 เดือน • วัดความก้าวหน้า ทบทวนปัญหา หาทางแก้ไขและป้องกัน Page 41
P A D C Plan - Do - Check - Action การควบคุมและติดตามโครงการ แผนงานฐาน (Base Line) ดำเนินการจริง • กระบวนการในการควบคุมและติดตามผล เริ่ม รายงานความก้าวหน้า ไม่มีปัญหา แก้ไขปัญหา ตรวจสอบ ประชุมอนุมัติ มีปัญหา เขียนใบขอแก้ไข ระบุสาเหตุ Page 42
P A D C Plan - Do - Check - Action การควบคุมและติดตามโครงการ การแก้ไขปัญหาและการจัดการความขัดแย้ง • กระบวนการแก้ไขปัญหา • การระบุปัญหา • รวบรวมข้อมูล • วิเคราะห์หาสาเหตุ • ทำแผนปฏิบัติ • กำหนดทางเลือกในการแก้ไขปัญหา • เลือกทางแก้ไขที่ดีที่สุด • นำแผนไปปฏิบัติ • ประเมินผลการแก้ไข Page 43
การควบคุมและติดตามโครงการการควบคุมและติดตามโครงการ การแก้ไขปัญหาและการจัดการความขัดแย้ง • ความขัดแย้งในโครงการ • สาเหตุ • ความแตกต่างระหว่างบุคคล อายุ ประสบการณ์ พื้นฐาน ความรู้ • บุคลิกภาพ • ทัศนคติ • เป้าหมายของโครงการไม่เห็นชอบร่วมกัน • ความรับผิดชอบไม่ชัดเจน • ความไม่ไว้วางใจซึ่งกันและกัน Page 44
การควบคุมและติดตามโครงการการควบคุมและติดตามโครงการ การแก้ไขปัญหาและการจัดการความขัดแย้ง • ประเภทความขัดแย้ง • ความขัดแย้งระหว่างผู้ว่าจ้างและผู้รับจ้าง • ความขัดแย้งภายในโครงการ • ความขัดแย้งระหว่างกลุ่ม • การจัดการความขัดแย้ง • กำหนดหน้าที่ให้ชัดเจน • กำหนดบทบาทในทีม • กำหนดบทบาทโดยการปรึกษาหารือ • แก้ไขปัญหาความขัดแย้งระหว่างกลุ่ม • ความตึงเครียดในโครงการ • สาเหตุ • หาวิธีการจัดการกับความตึงเครียด Page 45
การปิดโครงการ ขั้นตอนการปิดโครงการ • รูปแบบการปิดโครงการ • การปิดโครงการเมื่อแล้วเสร็จตามแผน • การปิดโครงการกลางคัน • การปิดโครงการเดิม และเปิดโครงการใหม่ ข้อกำหนดงานแล้วเสร็จ ประชุมปิดงาน ยอมรับงานส่งมอบ จัดทำรายงานปิดโครงการ/ ประเมินผลโครงการ โครงการเสร็จสมบูรณ์ Page 46
การประเมินผลโครงการ ความหมาย การประเมินผลโครงการ (Project Evaluation) หมายถึง “การใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ เพื่อให้ได้มาซึ่งสารสนเทศ อันจะนำไปสู่การตัดสินใจ (Decision Based) หรือการวินิจฉัยคุณค่า (Value Based) ของโครงการ” Page 47
การประเมินผลโครงการ วัตถุประสงค์ • เพื่อให้ได้การรับรองวิทยฐานะ (Accreditation System) • เพื่อให้ได้รับการสนับสนุนงบประมาณอย่างพอเพียง • ช่วยให้การใช้ทรัพยากรเกิดประโยชน์เต็มที่ (Efficiency) • เพื่อให้ได้สารสนเทศที่สำคัญสำหรับช่วยผู้บริหารในการตัดสินใจ • ช่วยให้โครงการบรรลุวัตถุประสงค์ หรือครบถ้วนตามกระบวนการของการวางแผนโครงการ • ช่วยในการควบคุมคุณภาพของโครงการ • เพื่อให้ทราบผลผลิต หรือผลกระทบจากโครงการ Page 48
หลักการประเมินผลโครงการแบบRBM (Result Based Management) • ความประหยัด (Economy) • การใช้ทรัพยากรน้อยที่สุดในการผลิต โดยใช้ปัจจัยนำเข้า (Inputs) ด้วยต้นทุนต่ำที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ • ความมีประสิทธิภาพ (Efficiency) • การเปรียบเทียบระหว่างปัจจัยนำเข้า(Inputs) กับผลผลิต(Outputs) ได้แก่ การสร้างผลผลิตในระดับที่สูงกว่าปัจจัยนำเข้า ความมีประสิทธิภาพวัดได้จาก การนำปัจจัยนำเข้าหารด้วยผลผลิต (Outputs) • ความมีประสิทธิผล (Effectiveness) • การเปรียบเทียบวัตถุประสงค์กับผลลัพธ์ของโครงการ (ระดับการบรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้) Page 49
ขั้นตอนการประเมินผลโครงการขั้นตอนการประเมินผลโครงการ ขั้นตอนการจัดทำระบบการประเมินผลโครงการ ขั้นที่ 1- กำหนดผลสัมฤทธิ์ที่ต้องการ(ช่วงวางแผนโครงการ) ขั้นที่ 2- กำหนดตัวชี้วัดความสำเร็จของงาน (ช่วงวางแผนโครงการ) ขั้นที่ 3- กำหนดวิธีการรวบรวมข้อมูล (ช่วงวางแผนโครงการ) ขั้นที่ 4- กำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงาน (ช่วงวางแผนโครงการ) ขั้นที่ 5- รายงานผลสัมฤทธิ์ (ช่วงสิ้นสุดโครงการ) ขั้นที่ 6-ใช้ประโยชน์ข้อมูลจากการประเมินผลโครงการ (ช่วงสิ้นสุดโครงการ) Page 50