1.42k likes | 2.99k Views
ความรู้เรื่องโรคเอดส์และการป้องกันการถ่ายทอดเชื้อ เอช ไอวีจากแม่สู่ลูก/ความเข้าใจในการอยู่ร่วมกันกับเด็กที่ติดเชื้อ เอช ไอวีและเด็กได้รับผลกระทบ โดย นายแพทย์บุญแสง บุญอำนวยกิจ ผู้อำนวยการศูนย์อนามัยที่ 3 . เอดส์...รู้จัก....รักษาได้. กลุ่มอาการ ภาวะภูมิคุ้มกัน บกพร่อง.
E N D
ความรู้เรื่องโรคเอดส์และการป้องกันการถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก/ความเข้าใจในการอยู่ร่วมกันกับเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวีและเด็กได้รับผลกระทบความรู้เรื่องโรคเอดส์และการป้องกันการถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก/ความเข้าใจในการอยู่ร่วมกันกับเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวีและเด็กได้รับผลกระทบ โดย นายแพทย์บุญแสง บุญอำนวยกิจ ผู้อำนวยการศูนย์อนามัยที่ 3
เอดส์...รู้จัก....รักษาได้เอดส์...รู้จัก....รักษาได้
กลุ่มอาการ ภาวะภูมิคุ้มกัน บกพร่อง โรคเอดส์ คืออะไร..? A = Acquired I = Immuno D = Deficiency S = Syndrome
โรคเอดส์...เกิดจาก? เกิดจากการติดเชื้อไวรัสHIV (Human Immunodeficiency Virus)สามารถแบ่งตัวได้ในเซลล์ของคน เช่น เซลล์เม็ดเลือดขาว, เซลล์สมอง เมื่อร่างกายติดเชื้อ จะสร้างภูมิต้านทาน (Antibody)ต่อต้านเชื้อไวรัส แต่ไม่สามารถกำจัดให้หมด เชื้อยังคงอยู่ในเม็ดเลือดและแพร่ต่อไปได้และจะไปทำลายเม็ดเลือดขาว T4 Lymphocyteซึ่งมีความสำคัญอย่างยิ่ง ในการควบคุมระบบภูมิต้านทานของร่างกายทำให้ภูมิต้านทานลดลง
คุณสมบัติของเชื้อไวรัสHIVคุณสมบัติของเชื้อไวรัสHIV • แบ่งตัวอย่างรวดเร็ว ในร่างกายมนุษย์เท่านั้น • ต้องมีแหล่งที่อยู่ให้อาศัย (เม็ดเลือดขาวซึ่งเป็นระบบภูมิคุมกัน • ของร่างกายอยู่ในกระแสเลือด) • กลายพันธุ์เร็ว ปัจจุบันมีหลายสายพันธุ์ • เมื่อออกนอกร่างกาย ไม่สามารถทนสภาพแวดล้อมภายนอกได้ • อาจมีชีวิตอยู่ได้นานเป็นชั่วโมงหรือเป็นวัน ขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อม • และอุณหภูมิที่เหมาะสม
1. ทางเพศสัมพันธ์ เอดส์ติดต่อได้ 3 ทางหลักๆ • - ชายสู่หญิง • - ชายสู่ชาย • - หญิงสู่หญิง “ ผู้ที่มีเพศสัมพันธ์แบบไม่ป้องกัน ” “ผู้ที่เปลี่ยนคู่นอนบ่อย ”
2. ทางเลือด • การรับเลือดขณะทำผ่าตัดหรือเพื่อรักษา • การรับการปลูกถ่ายอวัยวะ • การใช้เข็ม หรือกระบอกฉีดยาร่วมกับผู้ติดเชื้อ • การสัก การเจาะ
3. ทางมารดาสู่ทารก • ก่อนคลอดทางสายรก • ขณะคลอด • ระยะหลังคลอด
การติดเชื้อเอช ไอ วี จากแม่สู่ลูก
การติดเชื้อจากแม่สู่ลูกการติดเชื้อจากแม่สู่ลูก ระดับโอกาสของการติดเชื้อ ระยะก่อนคลอด ระยะหลังคลอด ระยะคลอด กราฟแสดงโอกาสการติดเชื้อ HIV จากแม่สู่ลูกในระยะต่างๆ
ระยะ : ตั้งครรภ์/ก่อนคลอด Vertical transmission (ติดต่อจากแม่สู่ลูก) • ผ่านทางรก • ช่วง Antigenemia • (ระยะแฝง และ ระยะสุดท้าย) • คลอดก่อนกำหนด (< 34 สัปดาห์) ปัจจัยเสริม • สร้างเสริมสุขภาพแบบองค์รวม • Safe Sex • ป้องการติดเชื้ออื่นๆโดยเฉพาะทางเดินปัสสาวะ • ในยาต้านไวรัส (AZT) ลดปริมาณไวรัส วิธีลดเชื้อ ป้องกันการรับเชื้อ
ระยะ : ระหว่างคลอด • มดลูกหดรัดตัว • ถุงน้ำคร่ำแตก (เชื้อจากช่องคลอดจะเข้าสู่ • โพรงมดลูกได้ • ทารกสัมผัสกับเลือดหรือสารคัดหลั่งในช่องคลอด Vertical transmission (ติดต่อจากแม่สู่ลูก) • มดลูกหดรัดตัวรุนแรง • ถุงน้ำคร่ำแตกยาวนาน • ระยะที่ 2 ของการคลอดมีการบาดเจ็บ/ยาวนาน ปัจจัยเสริม • ป้องกันการหดรัดตัวของมดลูก • ป้องกันไม่ให้ถุงน้ำคร่ำแตกยาวนาน • ช่วยคลอดกรณีคลอดยาก • ให้ยาต้านไวรัส (AZT,NVP) วิธีลดเชื้อ ป้องกันการรับเชื้อ
ระยะ : หลังคลอด Vertical transmission (ติดต่อจากแม่สู่ลูก) • สารคัดหลั่งที่เลอะตัวหลังคลอด • ทางน้ำนม ปัจจัยเสริม • หัวนมแตกมีแผล • อาบน้ำล้างตัวทารกโดยเร็ว • งดเว้นการดูดนม • ให้ยาต้านไวรัสแก่ทารก วิธีลดเชื้อ ป้องกันการรับเชื้อ
สรุป : มาตรการป้องกันการติดเชื้อHIV จากแม่สู่ลูก • การเข้าถึงระบบบริการสำหรับหญิงตั้งครรภ์ : ANC , VCT • ลดปริมาณไวรัสในกระแสเลือดและสารคัดหลั่ง • - การใช้ยาต้านไวรัส • - การบำรุงร่างกายให้แข็งแรง • การลดการสัมผัสเชื้อจากมารดา • - คลอดอย่างระมัดระวัง • - หลีกเลี่ยงการใช้นมมารดา • - การให้ยาต้านไวรัสแก่ทารกหลังคลอด
T M M M M B กลไกเมื่อเชื้อHIV....เข้าสู่ร่างกาย
กลไกเมื่อเชื้อHIV....เข้าสู่ร่างกายกลไกเมื่อเชื้อHIV....เข้าสู่ร่างกาย
ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณซีดี4 กับระยะเวลาที่ติดเชื้อ ปริมาณซีดี4 700 500 วัณโรค งูสวัดรุนแรง เชื้อราในปาก เริมที่อวัยวะเพศ ผู้ติดเชื้อเอชไอวี ริ้วขาวข้างลิ้น ท้องเสียเรื้อรัง ตุ่มพีพีอี 200 ปอดอักเสบพีซีพี ผู้ป่วยเอดส์ เชื้อราเยื่อหุ้มสมอง ฝีในสมอง วัณโรคนอกปอด ซีเอ็มวี 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ระยะเวลา (ปี)
เหมือน: • ทั้งผู้ติดเชื้อเอชไอวี และ ผู้ป่วยเอดส์ต่างได้รับเชื้อ เอชไอวี เข้าสู่ร่างกายเหมือนกัน ต่างกัน: • ผู้ติดเชื้อเอชไอวี หมายถึง ผู้ที่รับเชื้อเอชไอวีเข้าสู่ร่างกายแล้วยังไม่มีอาการเจ็บป่วยด้วยโรคฉวยโอกาสและมีภูมิคุ้มกัน (CD4) มากกว่า 200 เซลล์ • ผู้ป่วยเอดส์ หมายถึง ผู้ที่รับเชื้อเอชไอวีเข้าสู่ร่างกายจนกระทั่งมีอาการเจ็บป่วยด้วยโรคฉวยโอกาสหรือไม่เจ็บป่วยก็ได้แต่ระดับภูมิคุ้มกัน (CD4) น้อยกว่า 200 เซลล์
คุณคิดว่าใครเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวีคุณคิดว่าใครเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวี มากที่สุด • พระ • แม่บ้าน • แม่ชี • พยาบาล • ชายรักร่วมเพศ • หญิงขายบริการ • กรรมกร • นักเรียนพาณิชย์
CD 4……คือ อะไร • เป็นเซลเม็ดเลือดขาวชนิด Lymphocytesที่ทำหน้าที่ในการต่อสู้เชื้อโรค และเป็นเป้าหมายสำคัญที่เชื้อเอชไอวีเข้าไปเจริญเติบโตและแบ่งตัวทำลายเซลล์ • ระดับ CD4 ในคนปกติ มีค่าอยู่ที่ 500-1600 เซลล์ต่อเลือด 1 mm3 • ผู้ติดเชื้อเอชไอวีถ้าไม่ได้รับการรักษา CD4 จะลดลงปีละประมาณ 50-100 เซลล์ต่อปี
Viral load……คือ อะไร • คือ ปริมาณ HIV-RNA ที่มีในกระแสเลือดของผู้ติดเชื้อเอชไอวี แต่ละคน ปริมาณเชื้อจะมากหรือน้อย ขึ้นกับ - การตอบสนองของภูมิคุ้มกันของร่างกาย - คุณสมบัติในการเพิ่มจำนวนของเชื้อไวรัส - ระยะของการติดเชื้อ • การตรวจไวรัสโหลด คือ การนับจำนวนไวรัสเอช ไอ วี อิสระในเลือด 1 ซีซี
นโยบายการดำเนินงานการป้องกันการถ่ายทอดเชื้อเอชไอวี จากแม่สู่ลูก พ.ศ. 2554 • 1. สถานบริการสาธารณสุขทุกเครือข่ายควรจัดให้มีบริการปรึกษาทั้งก่อนและหลังการตรวจหาเชื้อเอชไอวี อย่างมีคุณภาพ ควรให้การปรึกษาแบบคู่ (Couple counseling) และเก็บผลการตรวจเป็นความลับอย่างเคร่งครัด โดยแจ้งให้ทราบเฉพาะบุคคล และผู้ที่ได้รับการตรวจหาเชื้อเอชไอวีอนุญาตเท่านั้น • 2. หญิงตั้งครรภ์ทุกคนและสามีหรือคู่ครองจะได้รับการปรึกษาแบบคู่ และตรวจหาเชื้อเอชไอวีด้วยความสมัครใจ • หญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อเอชไอวีจะได้รับการตรวจเซลล์ CD4 • ได้รับการรักษาด้วยยาต้านไวรัสที่มีฤทธิ์สูง (Highly Active Anti retroviral Therapy : HAART) หรือรักษาด้วยยาต้านไวรัสอื่นๆ ตามแนวทางของกระทรวงสาธารณสุข
นโยบายการดำเนินงานการป้องกันการถ่ายทอดเชื้อเอชไอวี จากแม่สู่ลูก พ.ศ. 2554 • 3. เด็กที่เกิดจากแม่ที่ติดเชื้อเอชไอวี • จะได้รับยาต้านไวรัสเมื่อแรกเกิด • ได้รับนมผสมสำหรับเลี้ยงทารก • ได้รับการตรวจเลือดหาเชื้อเอชไอวีตามแนวทางของกระทรวงสาธารณสุข • 4. แม่ ลูก และสามีหรือคู่ครองที่ติดเชื้อเอชไอวี จะได้รับยาต้านไวรัสตามสภาพของการติดเชื้อ การส่งเสริมสุขภาพและการติดตามการดูแลรักษาอย่างต่อเนื่อง
เป้าหมายของแผนเอดส์ชาติปี พศ. 2555 – 25593-zeros • ไม่มีผู้ติดเชื้อรายใหม่ = ไม่มีเด็กติดเชื้อจากแม่ในระหว่างตั้งครรภ์-คลอด-หลังคลอด = ไม่มีการติดเชื้อระหว่างคู่สามี - ภรรยา • ไม่มีผู้เสียชีวิตจากเอชไอวี/เอดส์ = แม่, เด็ก, พ่อ ที่ติดเชื้อได้รับการส่งต่อเพื่อดูแลรักษาเรื่อง เอชไอวี โดยเร็วที่สุด • ไม่มีการรังเกียจ ตีตรา = ไม่มีอุปสรรคในการเข้ารับบริการของผู้ติดเชื้อฯ จากทัศคติรังเกียจ ตีตราโดยผู้ให้บริการ
อัตราการติดเชื้อเอชไอวี ในหญิงตั้งครรภ์ของจังหวัดในพื้นที่รับผิดชอบศูนย์อนามัยที่ 3จำแนกรายปี 2539 – 2554 % แหล่งข้อมูล : สำนักงานสาธารณสุข /โปรแกรม PHIMS ตั้งแต่ปี 47 รวมนครนายก สมุทรปราการ
จำนวนและอัตราหญิงหลังคลอด /หญิงติดเชื้อเอชไอวี ที่ได้รับยาต้านไวรัสในการป้องกันการถ่ายทอดเชื้อเอชไอวี จากแม่สู่ลูก ภาพรวม 9 จังหวัด ในพื้นที่รับผิดชอบ ของศูนย์อนามัยที่ 3 ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2550 - 2554 แหล่งข้อมูล : สำนักงานสาธารณสุข /โปรแกรม PHIMS
จำนวนและอัตราเด็กที่เกิดจากแม่ที่ติดเชื้อเอชไอวี อายุ 18-24 เดือนทั้งหมด ได้รับการตรวจหาเชื้อเอชไอวี และมีผลเลือดบวก ภาพรวม 9 จังหวัด ในพื้นที่รับผิดชอบของศูนย์อนามัยที่ 3 ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2550 - 2554 แหล่งข้อมูล : รายงานสรุปการติดตามสุขภาพเด็กที่เกิดจากแม่ที่ติดเชื้อเอช ไอ วี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด
ผลการดำเนินงานเอดส์ในแม่และเด็กจำแนกเป็นรายจังหวัดปีงบประมาณ 2554 แหล่งข้อมูล : สำนักงานสาธารณสุข /โปรแกรม PHIMS/รายงานสรุปการติดตามสุขภาพเด็กที่เกิดจากแม่ที่ติดเชื้อเอชไอวี
ผลการดำเนินงานฝากครรภ์แบบคู่ของ 9 จังหวัดในพื้นที่รับผิดชอบของศูนย์อนามัยที่ 3 ปี 2554 (ตุลาคม 2553 - สิงหาคม 2554)
ข้อเท็จจริง 10 ประการเกี่ยวกับเด็กที่ได้รับผลกระทบจากเอชไอวีและเอดส์ ดังนี้ • ลูกที่เกิดจากแม่ที่ติดเชื้อเอชไอวี ไม่ได้ติดเชื้อทุกคน • การรักษาด้วยยาต้านไวรัส เป็นการรักษาที่สามารถช่วยให้เด็กที่มีเชื้อทุกคนมีภูมิคุ้มกันสูงขึ้น ลดปริมาณเชื้อเอชไอวี ลดการเจ็บป่วย มีสุขภาพแข็งแรงขึ้น • เด็กที่ติดเชื้อเอชไอวีสามารถเรียนหนังสือ เติบโต และมีชีวิตตามปกติ • ไม่มีใครติดเชื้อเอชไอวีจากการอยู่ร่วมกันกับเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี • วัณโรคไม่ติดจากการอยู่ร่วมกันกับเด็กที่มีเชื้อเอชไอวี ที่ป่วยเป็นวัณโรคที่กินยามานานกว่า 2 สัปดาห์ • ไม่เหตุผลและความจำเป็นที่ต้องแยกเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี ไปอยู่โรงเรียนหรือสถานที่เฉพาะแยกจากเด็กทั่วไป • การนำเด็กไปตรวจเลือดเป็นการละเมิดสิทธิเด็ก • ไม่จำเป็นต้องบอกให้เด็กรู้ถึงผลเลือดหรือการติดเชื้อเอชไอวี • ไม่จำเป็นต้องให้การดูแลเด็กที่ได้รับผลกระทบจากโรคเอดส์เป็นพิเศษมากกว่าเด็กทั่วไป • เด็กได้รับผลกระทบจากโรคเอดส์ มีศักยภาพในการเรียนรู้และรับรู้เหมือนเด็กทั่วไป