1 / 87

METHOD VALIDATION

METHOD VALIDATION. การตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีทดสอบ. ความหมาย. METHOD VALIDATION การยืนยันโดยการทดสอบและมีหลักฐานแสดงว่าวิธีทดสอบเหมาะสมกับความต้องการเฉพาะ. METHOD VERIFICATION การยืนยันโดยการทดสอบและมีหลักฐานแสดงว่าเป็นไปตามข้อกำหนดที่ระบุ. วิธีทดสอบที่ดีจะต้อง.

Lucy
Download Presentation

METHOD VALIDATION

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. METHOD VALIDATION การตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีทดสอบ

  2. ความหมาย • METHOD VALIDATION • การยืนยันโดยการทดสอบและมีหลักฐานแสดงว่าวิธีทดสอบเหมาะสมกับความต้องการเฉพาะ • METHOD VERIFICATION • การยืนยันโดยการทดสอบและมีหลักฐานแสดงว่าเป็นไปตามข้อกำหนดที่ระบุ

  3. วิธีทดสอบที่ดีจะต้อง • ได้ผลที่ถูกต้อง • เมื่อทดสอบซ้ำ ยังได้ผลที่ไม่ต่างกัน • ใช้ทดสอบสารที่มีความเข้มข้นน้อยๆ ได้ • บอกได้ว่าความเข้มข้นต่ำสุดที่มีความถูกต้องและแม่นยำเป็นเท่าไร

  4. วิธีทดสอบที่ดีจะต้อง (ต่อ) • บอกได้ถึงช่วงความเข้มข้นที่สามารถทดสอบได้อย่างถูกต้อง แม่นยำ โดยที่ความสัมพันธ์ของค่าที่อ่านได้กับความเข้มข้นมีความเป็นเส้นตรง • สามารถทดสอบได้เฉพาะสารที่ต้องการทดสอบโดยไม่ถูกรบกวนจากสารอื่นที่อยู่ในตัวอย่าง • เมื่อเปลี่ยนเงื่อนไข (condition) ในการทดสอบเล็กน้อย ผลไม่แตกต่าง

  5. ทำไมจึงต้องมีการทำ method validation • ข้อกำหนดของ ISO/IEC 17025 • ความน่าเชื่อถือของผลการทดสอบ • ทราบ conditions ที่ใช้ในการทดสอบ • ทราบข้อจำกัดของวิธีทดสอบ

  6. วิธีทดสอบที่ต้องทำ method validation • วิธีทดสอบที่ใช้ไม่ใช่วิธีมาตรฐาน • - ห้องปฏิบัติการพัฒนาขึ้นเอง • วิธีทดสอบที่ใช้เป็นวิธีมาตรฐาน แต่ • - มีการใช้นอกขอบข่ายของวิธีมาตรฐาน • - มีการดัดแปลงจากวิธีมาตรฐาน

  7. จะต้องทำ method validation เมื่อไร • ก่อนนำไปใช้จริง • เมื่อวิธีที่เคย validate นั้นมีการเปลี่ยนแปลง condition เช่น เปลี่ยนเครื่องมือเป็นต้น • เมื่อมีการทดสอบนอกขอบข่ายจากที่เคย validate

  8. สิ่งที่ต้องเตรียมในการทำ method Validation • เครื่องมือ : ผ่านการสอบเทียบและเหมาะสมต่อการใช้งาน • วิธีทดสอบ : เขียนเป็นลายลักษณ์อักษร • สารมาตรฐาน / สารเคมี : ใบรับรอง สามารถสอบกลับได้ เหมาะสม • ผู้ทดสอบ: ความสามารถ ประสบการณ์ วิเคราะห์ข้อมูล • ตัวอย่าง • งบประมาณ

  9. สิ่งที่ใช้ในการทำ method Validation • Blank : Reagent blank / Sample blank • Fortified sample / Spiked sample • Certified reference material (CRM) • Reference material (RM) • Interlaboratory comparison / Proficiency testing

  10. Blank • Reagent blank - ทดสอบทุกขั้นตอนเช่นเดียวกับการทดสอบตัวอย่าง แต่ไม่ต้องมีตัวอย่าง - interfere จากสารเคมี • Sample blank - วัตถุที่มี matrix เหมือนกับตัวอย่าง แต่ไม่มีสารที่ทดสอบอยู่ในตัวอย่างนั้น - interfere จาก matrix

  11. Fortified / Spiked sample • Fortified sample เติมสารที่ต้องการทดสอบลงในตัวอย่าง • Spiked sample เติมสารใดๆ ลงในตัวอย่าง

  12. Certified reference material (CRM) - วัสดุหรือสารที่มีสมบัติอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างซึ่งได้รับการรับรองโดยวิธีที่ถูกต้องตามหลักวิชาการ พร้อมกับมีใบรับรองที่สามารถสอบกลับได้ - มี matrix เช่นเดียวกับตัวอย่าง - มีการระบุค่าจริงและค่าความไม่แน่นอน - ผลิตจากหน่วยงานที่หน่วยให้การรับรองยอมรับ

  13. Reference material (RM) - วัสดุหรือสารที่มีสมบัติอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างซึ่งมีความเป็นเนื้อเดียวกันและจัดเตรียมมาอย่างดี เพื่อใช้ประเมินวิธีทดสอบ สอบเทียบเครื่องมือ หรือใช้ในการกำหนดค่าให้กับวัสดุอื่น - มี matrix เช่นเดียวกับตัวอย่าง - ห้องปฏิบัติการสามารถเตรียมเอง - ผ่านการทดสอบอย่างน้อย 20 ซ้ำ คำนวณค่าเฉลี่ย และ SD - มีปริมาณเหมาะสมต่อการใช้งานในช่วงอายุการเก็บ

  14. Interlaboratory comparison / Proficiency testing - การเปรียบเทียบผลการทดสอบระหว่างห้องปฏิบัติการ โดยใช้ตัวอย่างเดียวกัน แต่อาจจะใช้วิธีทดสอบแตกต่างกัน

  15. Interlaboratory comparison • ห้องปฏิบัติการสามารถเตรียมตัวอย่างเอง • จำนวนห้องปฏิบัติการที่เข้าร่วมโครงการจะเป็นเลขคี่ และมักไม่เกิน 10 แห่ง • ห้องปฏิบัติการที่เข้าร่วมโครงการ ควรจะ - ได้รับการรับรอง ISO / IEC 17025 หรือ - มีแนวทางการดำเนินงานตามระบบคุณภาพ หรือ - มีความชำนาญเฉพาะทาง

  16. Proficiency testing • มีหน่วยงานที่ทำหน้าที่จัดเตียมตัวอย่าง ประเมินผลการทดสอบ และจัดส่งผลการประเมิน • ห้องปฏิบัติการจะต้องซื้อตัวอย่างมาทดสอบ • จำนวนห้องปฏิบัติการที่เข้าร่วมโครงการมีจำนวน 10 แห่ง ขึ้นไป • มักเป็นโครงการระดับนานาชาติ

  17. วิธีการคำนวณในการเตรียมสารละลาย standard

  18. สารละลาย (solution) ประกอบด้วย ตัวทำละลาย (solvent) กับ ตัวถูกละลาย (solute) ความเข้มข้นของสารละลาย (concentration) บ่งบอกจำนวนของตัวถูกละลายที่มีอยู่ในสารละลายจำนวนหนึ่งสามารถบอกได้หลายวิธี ได้แก่ 1. %, ppm, ppb:- w/w, v/v, w/v 2. Molarity (Molar = M) :- โมล/ลิตร 3. Normality (Normal = N) :- กรัมสมมูลย์/ลิตร 4. Molality (Molal = m):- โมล/ตัวทำละลาย 1 กิโลกรัม

  19. สารละลายเข้มข้น 5 % สารละลาย 100 ml มีตัวถูกละลาย 5 กรัม สารละลายเข้มข้น 5 ppm สารละลาย 1 ml มีตัวถูกละลาย 5 ไมโครกรัม (g) หรือ สารละลาย 1 L มีตัวถูกละลาย 5 มิลลิกรัม สารละลายเข้มข้น 5 ppb สารละลาย 1 ml มีตัวถูกละลาย 5 นาโนกรัม (ng) หรือ สารละลาย 1 L มีตัวถูกละลาย 5 ไมโครกรัม (g)

  20. สารละลายเข้มข้น 5 M สารละลาย 1000 ml มีตัวถูกละลาย 5 โมล สารละลายเข้มข้น 5 N สารละลาย 1000 ml มีตัวถูกละลาย 5 กรัมสมมูลย์ สารละลายเข้มข้น 5 m มีตัวทำละลาย 1 Kg มีตัวถูกละลาย 5 โมล

  21. Molar จำนวนโมล = นน.สาร / นน.โมเลกุล จำนวนกรัมสมมูลย์ = (นน.สาร / นน.โมเลกุล) x ประจุ = จำนวนโมล x ประจุ Normal N = M x ประจุ หรือ M = N / ประจุ M1V1 = M2V2 เฉพาะกรณีปฏิกิริยา 1:1 N1V1 = N2V2 ใช้ได้ทุกกรณี

  22. สมการเคมี กลุ่มสูตรเคมีที่เขียนขึ้น เพื่ออธิบายการเปลี่ยน แปลงทางเคมีของสารในอัตราส่วนอย่างต่ำที่สุดของจำนวนโมเลกุลของสารเหล่านั้น โดยเขียนสารที่เข้าทำปฏิกิริยาเคมีไว้ทางด้านซ้าย และสารที่เกิดขึ้นใหม่ไว้ทางด้านขวา ใช้เครื่องหมาย + คั่นระหว่างสารและเขียนลูกศรไว้ระหว่างกลางของสาร 2 พวก 2HCl + Ba(OH)2 BaCl2 + 2H2O

  23. กรณีหาความเข้มข้นของสารละลายโดยการไตเตรตกรณีหาความเข้มข้นของสารละลายโดยการไตเตรต

  24. สารละลาย HCl 3 M จำนวน 15 ml ทำปฏิกิริยาพอดีกับสารละลาย Ba(OH)2จำนวน 10 ml จงหาความเข้มข้นของสารละลาย Ba(OH)2เป็น M และ N 2HCl + Ba(OH)2 BaCl2 + 2H2O HCl 3 M =HCl 3 N จาก N1V1 = N2V2 ดังนั้น N1 = N2V2 / V1= 3 x 15 / 10 = 4.5 Normal จาก M = N / ประจุ จะได้ว่า M = 4.5 / 2 = 2.25 Molar

  25. กรณีเตรียมสารละลายจากของเหลว concentrate

  26. กรณีที่สารตั้งต้นที่นำมาเตรียมเป็นของเหลวและระบุค่าความหนาแน่นกรณีที่สารตั้งต้นที่นำมาเตรียมเป็นของเหลวและระบุค่าความหนาแน่น ใช้สูตร V = 100M(MW) / pd โดยที่ V = ปริมาตรของสารที่ต้องใช้ในการเตรียม M = ความเข้มข้นเป็น Molar MW= น้ำหนักโมเลกุล p = เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนักของสารที่นำมาเตรียม d = ความหนาแน่น (ความถ่วงจำเพาะ) ของสารที่นำมาเตรียม สูตรนี้ใช้สำหรับเมื่อเตรียมเป็นสารละลายจำนวน 1 ลิตร

  27. จงคำนวณหาปริมาตรของ HCl เข้มข้นที่ต้องใช้ เพื่อเตรียมเป็นสารละลายเข้มข้น 0.1 M จำนวน 1 ลิตร (MW ของ HCl = 36.46, % โดยน้ำหนัก = 37.5 %, ความหนาแน่น = 1.19 จาก V = 100M(MW) / pd = ( 100 x 0.1 x 36.46 ) / ( 37.5 x 1.19 ) = 8.17 ml

  28. กรณีเตรียมสารละลายจากของแข็งกรณีเตรียมสารละลายจากของแข็ง

  29. ต้องการเตรียมสารละลายโซเดียมคลอไรด์เข้มข้น 0.1 M จำนวน 2000 ml จะต้องใช้โซเดียมคลอไรด์หนักกี่กรัม ( MW = 58 ) สารละลายโซเดียมคลอไรด์เข้มข้น 0.1 M หมายถึง สารละลาย 1000 ml มี NaCl 0.1 โมล สารละลาย 2000 ml มี NaCl 0.1 x 2000 / 1000 = 0.2 โมล NaCl 1 โมล หนัก 58 กรัม NaCl 0.2 โมล หนัก 58 x 0.2 = 11.6 กรัม หรือใช้สูตร W = MW x M x V / 1000 = 58 x 0.1 x 2000 / 1000 = 11.6 กรัม

  30. ต้องการเตรียมสารละลาย oxolinic acid เข้มข้น 50 ppm จำนวน 100 ml จะต้องใช้ oxolinic acid กี่กรัม สารละลาย oxolinic acid เข้มข้น 50 ppm หมายถึง สารละลาย 1 ml มี oxolinic acid 50 g สารละลาย 100 ml มี oxolinic acid 50 x 100 = 5000g = 5000 / 106= 0.005 g

  31. กรณีเตรียมสารละลายจากสารละลายความเข้มข้นต่างๆกรณีเตรียมสารละลายจากสารละลายความเข้มข้นต่างๆ

  32. ต้องการเตรียมสารละลาย oxolinic acid เข้มข้น 0.1 ppm จำนวน 25 ml จะต้องใช้สารละลาย oxolinic acid เข้มข้น 10 ppm กี่ ml และกี่ l จาก M1V1 = M2V2 0.1 x 25 = 10 x V2 V2 = 0.1 x 25 / 10 = 0.25 ml จาก 1 ml = 1000 l ดังนั้น 0.25 ml = 1000 x 0.25 = 250 l

  33. กรณีเตรียม fortified sample ที่ความเข้มข้นต่างๆ

  34. ต้องการเตรียม fortified sample ที่ความเข้มข้น 10g / g โดยในวิธีการทดสอบฮีสตามีนจะต้องใช้ตัวอย่าง 5 กรัม ต้องการเตรียม fortified sample ที่ความเข้มข้น 10 g / g หมายความว่า ตัวอย่าง 1 กรัม จะมีฮีสตามีน 10 g ดังนั้น ตัวอย่าง 5 กรัม จะมีฮีสตามีน 10 x 5 = 50 g นั่นคือ จะต้องเติมฮีสตามีนจำนวน 50 g ลงไปในตัวอย่าง 5 กรัม

  35. ซึ่งการเติมฮีสตามีน ทำได้หลายอย่าง เช่น - เติมสารละลายฮีสตามีนเข้มข้น 50g / ml จำนวน 1 ml ลงในตัวอย่าง 5 กรัม หรือ - เติมสารละลายฮีสตามีนเข้มข้น 500g / ml จำนวน 0.1 ml ลงในตัวอย่าง 5 กรัม เป็นต้น โดยคำนวณจาก สารละลายฮีสตามีนเข้มข้น 500 g / ml หมายความว่า มีฮีสตามีน 500 g ในสารละลาย 1 ml ดังนั้น มีฮีสตามีน 50 g ในสารละลาย 1 x 50 / 500 ml = 0.1 ml = 100 l

  36. แบบฝึกหัดการเตรียมสารละลายแบบฝึกหัดการเตรียมสารละลาย 1. ชั่งโซเดียมไฮดรอกไซด์ 80 กรัม ละลายน้ำและปรับปริมาตรเป็น 500 ml อยากทราบความเข้มข้นเป็นโมลาร์ของสารละลายนี้ (น้ำหนักโมเลกุลของโซเดียมไฮดรอกไซด์ = 40) 2. ชั่งกรดเบนโซอิก 1 กรัม ละลายด้วยเมธานอลและปรับปริมาตรเป็น 100 ml อยากทราบความเข้มข้นเป็น ppm ของสารละลายนี้

  37. แบบฝึกหัดการเตรียมสารละลายแบบฝึกหัดการเตรียมสารละลาย 3. มีสารละลายคลอแรมฟินิคอลเข้มข้น 2 ppb อยู่ 3 ml ต้องการเตรียมเป็นสารละลายคลอแรมฟินิคอลเข้มข้น 0.3 ppb จำนวน 10 ml จะต้องใช้สารละลายคลอแรมฟินิคอลเข้มข้น 2 ppb กี่ ml 4. จะเตรียม fortified sample ที่ความเข้มข้น 0.2 g / g ได้อย่างไร (ในวิธีการทดสอบ oxolinic acid จะต้องใช้ตัวอย่าง 5 กรัม)

  38. รายการที่ต้อง Validate (Performance characteristic)

  39. Range&Linearity • Range ช่วงความเข้มข้นที่สามารถทดสอบได้อย่างถูกต้องและแม่นยำ • Linearity ความสัมพันธ์ระหว่างค่าที่อ่านได้กับความเข้มข้นในช่วงที่กำหนด

  40. Range • ทดสอบ reagent blank 1 ซ้ำ • ทดสอบ fortified sample blank  6 ความเข้มข้นๆ ละ1 ซ้ำ • เขียนกราฟระหว่างความเข้มข้น (แกน X) กับค่าที่อ่านได้ (แกน Y) • correlation coefficient (r)  0.995

  41. Range ค่าที่อ่านได้ x x x x x x x ความเข้มข้น 1 2 3 4 5 6 7

  42. แบบฝึกหัด Range ทดสอบ reagent blank, sample blank และ fortified sample blanks ที่ความเข้มข้นต่างๆ ความเข้มข้นละ 1 ซ้ำ ผลเป็นดังตาราง ให้ตรวจสอบช่วงความเข้มข้นที่เป็นเส้นตรง

  43. Linearity • ทดสอบ reagent blank 3ซ้ำ • ทดสอบ fortified sample blank  6 ความเข้มข้นๆ ละ 3ซ้ำ (ภายในช่วง range) • เขียนกราฟระหว่างความเข้มข้น (แกน X) กับค่าที่อ่านได้ (แกน Y) • correlation coefficient (r)  0.995

  44. Linearity ค่าที่อ่านได้ x x x x x x x x x x x x x x x x x x x ความเข้มข้น 1 2 3 4 5 6 7

  45. แบบฝึกหัด Linearity ทดสอบ reagent blank, sample blank และ fortified sample blanks ที่ความเข้มข้นต่างๆ ความเข้มข้นละ 3 ซ้ำ ผลเป็นดังตาราง ให้ตรวจสอบความเป็นเส้นตรง

  46. Outlier • ค่าที่แตกต่างจากค่าอื่นๆ ในกลุ่มข้อมูล • ทดสอบโดยใช้ Grubb’s test Tn = ( Xn – X ) / SD โดยที่ Xn = ค่าที่สงสัย X = ค่าเฉลี่ยของกลุ่มข้อมูล SD = ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของกลุ่มข้อมูล ถ้า Tn < Tc แสดงว่าไม่แตกต่าง

  47. ตัวอย่าง Outlier ผลการทดสอบฮีสตามีน 11 ซ้ำ เป็นดังนี้ 35, 34, 37, 42, 31, 36, 34, 37, 36, 35 และ 34 ppm จงหาว่ามีค่าใดเป็น outlier หรือไม่ ค่าเฉลี่ย = 35.5 ppm SD = 2.7 ppm Tc ที่ 11 ซ้ำ = 2.23 ค่าสงสัย = 31 และ 42 ppm Tn= ( 31 – 35.5 ) / 2.7 = 1.66 ดังนั้น 31 ไม่เป็น outlier Tn= ( 42 – 35.5 ) / 2.7 = 2.36 ดังนั้น 42 เป็น outlier

  48. Relationship between accuracy and precision Inaccurate imprecise Accurate Precise Inaccurate Accurate precise imprecise

  49. Accuracy / Trueness • การแสดงความใกล้เคียงกันระหว่างค่าเฉลี่ยของผลการทดสอบที่ได้ ( X ) กับค่าอ้างอิง (  ) ของตัวอย่างนั้น • ทั้ง X และ  เป็นค่าเฉลี่ยของกลุ่มข้อมูล แตกต่างกันที่ •  เป็นค่าเฉลี่ยของกลุ่มข้อมูลใหญ่ (ประชากร) เช่น ทดสอบ 50 ซ้ำ • X เป็นค่าเฉลี่ยของกลุ่มข้อมูลเล็ก (ตัวอย่าง) เช่น ทดสอบ 10 ซ้ำ

  50. Accuracy / Trueness x2 x4 x1 x3 N = 50  = (x1 + x2 + … + x50) / 50 x5 x6 xi n = 10 X = (x1 + x2 + … + x10) / 10

More Related