620 likes | 932 Views
Terrorism. นพ. วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย หน่วยระบาดวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. 2551: Dirty bomb threat, New York. นิยาม.
E N D
Terrorism นพ. วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย หน่วยระบาดวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
นิยาม • Terrorism is an anxiety-inspiring method of repeated violent action, employed by (semi-) clandestine individual, group or state actors, for idiosyncratic, criminal or political reasons, whereby — in contrast to assassination — the direct targets of violence are not the main targets. The immediate human victims of violence are generally chosen randomly (targets of opportunity) or selectively (representative or symbolic targets) from a target population, and serve as message generators. Threat- and violence-based communication processes between terrorist (organization), (imperilled) victims, and main targets are used tomanipulate the main target (audience(s)), turning it into a target of terror, a target of demands, or a target of attention, depending on whether intimidation, coercion, or propaganda is primarily sought (Schmid, 1988).
ลักษณะสำคัญ ใช้ความรุนแรง หรือการขู่ ปฏิบัติการโดยบุคคลหรือองค์กรลับ เลือกเป้าหมายที่เป็นพลเรือนหรือเป็นสัญลักษณ์ ส่งผลกระทบต่อจิตใจ สร้างความกลัว เรียกร้องความสนใจ หวังผลทางการเมือง
อุบัติการณ์ของการก่อการร้ายทั่วโลกอุบัติการณ์ของการก่อการร้ายทั่วโลก ที่มา: Office of the Coordinator for Counterterrorism
2545: ระเบิดบาหลีเสียชีวิต 202 คน
2546: การรุกรานอิรัก เสียชีวิต: ชาวอิรัก 655,000 + ทหารอเมริกัน 3,698 คน
2549: ระเบิดลอนดอน เสียชีวิต 52 คน
ความรุนแรงในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ความรุนแรงในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้
จำนวนเหตุการณ์ตั้งแต่ 2536 - 2547 > 800 Deaths เสียชีวิต > 800 ราย ที่มา: ผศ.ดร.ศรีสมภพ จิตร์ภิรมย์ศรี : คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 11
เหตุการณ์ความรุนแรงระหว่างการเดินทางเหตุการณ์ความรุนแรงระหว่างการเดินทาง
ระเบิด Show room รถ 9 จุดอ.เมือง ยะลา 9 พ.ย. 49
เปลี่ยนแปลงความสัมพันธ์ของคนในสังคม ความหวาดระแวงอคติ ความเกลียดชัง การบาดเจ็บ เสียชีวิต ความรุนแรง • ยุทธวิธี “สร้างอาณาจักรแห่งความกลัว” • การเมืองว่าด้วยอัตลักษณ์: - ชาติพันธุ์มลายู - ศาสนาอิสลาม - ประวัติศาสตร์รัฐปาตานี • การครอบงำทางวัฒนธรรม • โครงสร้างการจัดการของรัฐที่ผิดพลาด • ความไม่เป็นธรรม การแย่งชิงฐานทรัพยากร ความขัดแย้ง
การเฝ้าระวังการบาดเจ็บจากความรุนแรงในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้(Violence-related Injury Surveillance - VIS)มกราคม - มิถุนายน 2550
Violence-related Injury Surveillance (VIS)http://medipe.psu.ac.th/vis • ความร่วมมือของกระทรวงสาธารณสุข กรมแพทย์ทหารบก และมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ • เพื่อพัฒนาระบบข้อมูลให้เอื้อต่อการนำไปใช้พัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน กำหนดนโยบายและวางแผน จัดสรรทรัพยากร ควบคุมป้องกันการบาดเจ็บ และช่วยเหลือเยียวยาผู้สูญเสีย • เริ่มเก็บข้อมูลตั้งแต่เดือนมกราคม 2550 • กลุ่มประชากรที่เฝ้าระวัง คือ ผู้ได้รับบาดเจ็บหรือเสียชีวิต จากการบาดเจ็บจากสาเหตุภายนอกแบบตั้งใจ (Intentional injury) ทุกราย ที่มารับการรักษาหรือชันสูตรพลิกศพที่โรงพยาบาลของรัฐจำนวน 47 แห่งของจังหวัดสงขลา สตูล ปัตตานี ยะลา และนราธิวาส • โดยนำข้อมูลระบบเฝ้าระวังฯ เฉพาะเหตุการณ์ที่มีสาเหตุจากความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้มาวิเคราะห์ 18
จำนวนเหตุการณ์รายเดือนตั้งแต่ มกราคม 2547 19
จำนวนเหตุการณ์จำแนกตามจังหวัดและอำเภอที่เกิดเหตุจำนวนเหตุการณ์จำแนกตามจังหวัดและอำเภอที่เกิดเหตุ 21
Spot Map แสดงจำนวนเหตุการณ์ตามที่เกิดเหตุ(1 จุดแทน 1 เหตุการณ์)
การกระจายของลักษณะสถานที่เกิดเหตุจำแนกตามเดือนการกระจายของลักษณะสถานที่เกิดเหตุจำแนกตามเดือน ม.ค. ก.พ. เม.ย. พ.ค. มี.ค. มิ.ย. ลักษณะสถานที่เกิดเหตุ ถนนหรือทางหลวง บ้าน ที่อยู่อาศัยส่วนตัว สถานที่ค้าขายสินค้าและบริการ สถานที่อื่นๆ นา ไร่ สวน สถานศึกษา / สถานที่สาธารณะ 23 เดือน
เหตุการณ์ความรุนแรงระหว่างการเดินทางเหตุการณ์ความรุนแรงระหว่างการเดินทาง
สถานที่ :ผู้บาดเจ็บและเสียชีวิต
จำนวนและอัตรา (/แสนประชากร/6 เดือน) ของการบาดเจ็บและเสียชีวิต และอัตราป่วยตาย (%) ตามจังหวัดที่เกิดเหตุ 26
จำนวนผู้บาดเจ็บและเสียชีวิต ตามจังหวัดที่เกิดเหตุ
จำนวนผู้บาดเจ็บและเสียชีวิต จำแนกตามจังหวัดและเดือนที่เกิดเหตุ
จำนวนและอัตรา (/แสนประชากร/ 6 เดือน) ของการบาดเจ็บและเสียชีวิต และอัตราป่วยตาย (%) ตามอำเภอที่เกิดเหตุ
จำนวน จำนวนผู้บาดเจ็บและเสียชีวิต 5 อันดับแรกจำแนกตามอำเภอและเดือนที่เกิดเหตุ
Area map แสดง อัตราการบาดเจ็บเฉลี่ยและ จำนวนการบาดเจ็บรายเดือนตามอำเภอที่เกิดเหตุการณ์ 31
จำนวนเหตุการณ์จำแนกตามจังหวัดและเวลาที่เกิดเหตุการณ์จำนวนเหตุการณ์จำแนกตามจังหวัดและเวลาที่เกิดเหตุการณ์
จำนวนเหตุการณ์จำแนกตามจังหวัดและวันใน 1 สัปดาห์
จำนวนเหตุการณ์รายเดือน-เฉลี่ยตั้งแต่ มกราคม 2547
บุคคล :ผู้บาดเจ็บเสียชีวิต
ลักษณะของผู้บาดเจ็บและเสียชีวิตจำแนกตามกลุ่มอายุ ศาสนา และเพศ 38 38
ลักษณะของผู้บาดเจ็บและเสียชีวิตจำแนกตามอาชีพลักษณะของผู้บาดเจ็บและเสียชีวิตจำแนกตามอาชีพ จำนวน 39
ลักษณะของผู้บาดเจ็บและเสียชีวิตจำแนกตามอาชีพและเดือนที่เกิดเหตุลักษณะของผู้บาดเจ็บและเสียชีวิตจำแนกตามอาชีพและเดือนที่เกิดเหตุ
ลักษณะกิจกรรมขณะเกิดเหตุ (ICD-10 activity code) 41
การบาดเจ็บเสียชีวิตและการดูแลรักษาการบาดเจ็บเสียชีวิตและการดูแลรักษา
การรักษาผู้บาดเจ็บในโรงพยาบาลการรักษาผู้บาดเจ็บในโรงพยาบาล การชันสูตรพลิกศพนอกโรงพยาบาล 43
จำนวนผู้บาดเจ็บและเสียชีวิต และอัตราป่วยตาย (%) 5 อันดับแรก ตามโรงพยาบาลที่เข้ารับการรักษา 44
จำนวนผู้บาดเจ็บและเสียชีวิต และอัตราป่วยตาย (%) 5 อันดับแรก ตามโรงพยาบาลที่เข้ารับการรักษา 45
สาเหตุภายนอกของการบาดเจ็บ 10 อันดับแรก
สาเหตุภายนอกของการบาดเจ็บ 10 อันดับแรก
เหตุการณ์ระเบิดในที่สาธารณะเหตุการณ์ระเบิดในที่สาธารณะ 48
การวินิจฉัยสุดท้าย 10 อันดับแรก
การนำส่งจากจุดเกิดเหตุ • ในผู้บาดเจ็บจำนวน 1,291 ราย • มีผู้เสียชีวิตในที่เกิดเหตุจำนวน 153 ราย • มาโรงพยาบาลเอง 247 ราย • หน่วย EMS นำส่ง 79 ราย • ไม่ระบุ 823 ราย • ค่ามัธยฐานของระยะเวลาจากจุดเกิดเหตุถึงโรงพยาบาล 30 นาที (IQR = 15-60 นาที)