500 likes | 681 Views
รองศาสตราจารย์รัตนา ณ ลำพูน. บทบาทห้องสมุดกับการจัดการความรู้. 26 ตุลาคม 2548. ณ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย. ขอบเขตการนำเสนอ. ความหมาย - เศรษฐกิจฐานความรู้ - สังคมฐานความรู้ - การจัดการความรู้ 2. สิ่งที่เกี่ยวข้องกับการจัดการความรู้
E N D
รองศาสตราจารย์รัตนา ณ ลำพูน บทบาทห้องสมุดกับการจัดการความรู้ 26 ตุลาคม 2548 ณ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย
ขอบเขตการนำเสนอ ความหมาย - เศรษฐกิจฐานความรู้ - สังคมฐานความรู้ - การจัดการความรู้ 2. สิ่งที่เกี่ยวข้องกับการจัดการความรู้ 3. กิจกรรมที่แสดงถึงความสำเร็จของการจัดการความรู้ของห้องสมุด
ขอบเขตของการนำเสนอ (ต่อ) 4. บรรณารักษ์ ; นักจัดการความรู้ 5. หลักสูตร - ศศ.ม. การจัดการสารสนเทศและความรู้ - Master of Knowledge Management
ความหมาย : เศรษฐกิจฐานความรู้ (knowledge-based economy); เศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด้วยความรู้ (knowledge-driven economy) สังคมฐานความรู้ (knowledge-based society) การจัดการความรู้ (knowledge management)
ความหมาย :เศรษฐกิจฐานความรู้ ; เศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด้วยความรู้ • สภาพที่เศรษฐกิจก้าวหน้าโดยใช้พลังของความรู้ • เศรษฐกิจที่อาศัยการผลิต การแพร่กระจาย และการใช้ความรู้เป็นตัวขับเคลื่อนหลักที่ทำให้เกิดความเติบโต ความมั่งคั่งและการสร้างงานในอุตสาหกรรมทุกรูปแบบ
ความหมาย :สังคมฐานความรู้ สังคมที่เป็นผลของการใช้ความรู้ขยายอิทธิพล จากด้านเศรษฐกิจไปสู่การปรับเปลี่ยนทางสังคม ทั้งได้อาศัยความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีการสื่อสารและสารสนเทศ ทำให้ข้อมูล สารสนเทศและความรู้ กระจายไปได้อย่างกว้างขวางและรวดเร็ว จนสามารถข้ามข้อจำกัดช่วงเวลาและสถานที่ (จรัส สุวรรณเวลา)
ความหมาย :สังคมฐานความรู้ (ต่อ) สังคมที่มีการเข้าถึงและใช้ประโยชน์อย่างมาก จากเครือข่ายสารสนเทศ มีการสร้างมูลค่าเพิ่มและนวัตกรรมใหม่ ๆ จากความรู้ของบุคลากรที่ทำงานในภาคเศรษฐกิจที่ต้องใช้ทักษะและความรู้สูง รวมทั้งสนับสนุนแรงงานที่มีความรู้ (นโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศ)
ความหมาย :การจัดการความรู้ “หลักปฏิบัติที่สนับสนุนแนวทางบูรณาการเพื่อการจำแนก ครอบครอง ประเมิน ค้นคืน จัดการ และแบ่งปันสินทรัพย์สารสนเทศขององค์กร สินทรัพย์เหล่านี้อาจรวมฐานข้อมูล เอกสาร นโยบาย กระบวนการ ความรู้และทักษะของผู้เชี่ยวชาญที่ไม่เป็นลายลักษณ์ ตลอดจนประสบการณ์ของสมาชิกในองค์กร” (การ์ทเนอร์ กรุป, 1998)
ความหมาย :การจัดการความรู้(ต่อ) กระบวนการขับเคลื่อนนวัตกรรม โดยใช้ปัญญาและประสบการณ์ของบุคลากร ใน องค์กรเป็นทุน (แจน ดัฟฟี, 2000)
สิ่งที่เกี่ยวข้องกับการจัดการความรู้สิ่งที่เกี่ยวข้องกับการจัดการความรู้ Value added of information Human tacit Organization memory Knowledge Management Learning organization Innovation IT application Leverage of knowledge
ความเข้าใจผิดเกี่ยวกับการจัดการความรู้ความเข้าใจผิดเกี่ยวกับการจัดการความรู้ การจัดการความรู้เป็นความนิยมชั่วขณะ การจัดการความรู้และคลังข้อมูลเป็นสิ่งเดียวกัน การจัดการความรู้เป็นแนวคิดใหม่ การจัดการความรู้เป็นเรื่องของเทคโนโลยี เทคโนโลยีสามารถเผยแพร่ปัญญาของมนุษย์ การจัดการความรู้เป็นรูปแบบอื่นของการรื้อปรับองค์กร (Re-engineering)
ความเข้าใจผิดเกี่ยวกับการจัดการความรู้ความเข้าใจผิดเกี่ยวกับการจัดการความรู้ สมาชิกในองค์กรไม่สามารถเข้าใจและมีความ ยุ่งยากในการแบ่งปันความรู้ การจัดการความรู้ทำกันเฉพาะภายในองค์กร เทคโนโลยีเป็นทางเลือกที่ดีกว่าการพบปะกัน ไม่มี “brainer” ที่จะแบ่งปันสิ่งที่ตนรู้ (อาแวด และ กาซารี, 2004)
Evolution of Knowledge Management Integrating Intellectual Capital
เป้าหมายของการจัดการความรู้เป้าหมายของการจัดการความรู้ ให้แน่ใจว่าความรู้ทั้งหมดที่เกี่ยวข้องและเป็นประโยชน์ต่อองค์กรจะได้รับการ - ค้นพบ - เข้าถึงได้ - คัดเลือก - แบ่งปัน - จำแนก - ปรับแต่งและสงวนรักษา - วิเคราะห์ - จัดทำและสร้างความรู้ใหม่ - จัดระเบียบ
กระบวนการจัดการความรู้กระบวนการจัดการความรู้ • การรวบรวมและจัดเก็บความรู้ • การสร้างความรู้ • การทำเป็นรูปแบบสำเร็จ • การแลกเปลี่ยนความรู้ • การสังเคราะห์ความรู้
กระบวนการจัดการความรู้ (ต่อ) • การพัฒนาความรู้ • การใช้หรือประยุกต์ความรู้ • การนำความรู้มาใช้ซ้ำเพื่อวัตถุประสงค์ใหม่
ขั้นตอนการจัดการความรู้ขั้นตอนการจัดการความรู้ การจัดหาและรวบรวมความรู้จากแหล่งต่าง ๆ การแลกเปลี่ยนความรู้ การใช้ประโยชน์จากความรู้ การประเมินต้นทุนทางปัญญา และผลสำเร็จของการจัดการความรู้
หุ้นส่วนของการจัดการความรู้หุ้นส่วนของการจัดการความรู้ • ผู้ใช้ • ผู้ประกอบวิชาชีพเกี่ยวกับความรู้ (Knowledge professionals) : บรรณารักษ์ นักจดหมายเหตุ นักสารสนเทศเฉพาะสาขาวิชา ฯลฯ • ผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยี
กิจกรรมที่แสดงถึงความสำเร็จของการจัดการความรู้ของห้องสมุดกิจกรรมที่แสดงถึงความสำเร็จของการจัดการความรู้ของห้องสมุด การจัดการทรัพยากรความรู้ การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ เครือข่ายและการแบ่งปันทรัพยากร การบริการผู้ใช้ การจัดการทรัพยากรบุคคล การบริหารองค์กร
ตำแหน่งงานสำหรับการจัดการความรู้ตำแหน่งงานสำหรับการจัดการความรู้ • ผู้จัดการความรู้ (Knowledge Manager) • ผู้เชี่ยวชาญการจัดการความรู้ (Knowledge Management Specialist) • ผู้จัดการโอนถ่ายความรู้ (Knowledge Transfer Manager) • ประธานฝ่ายความรู้ (Chief Knowledge Officer – CKO)
ตำแหน่งงานใหม่ สำหรับการจัดการความรู้ (ต่อ) • นักวิเคราะห์ความรู้ (Knowledge Analysts) • วิศวกรความรู้ (Knowledge Engineer) • ผู้ปฏิบัติจัดการความรู้ (Knowledge Practitioner) • Knowledge Librarian • Knowledge Facilitator • ฯลฯ
คุณสมบัติของนักจัดการความรู้คุณสมบัติของนักจัดการความรู้ สามารถเป็นผู้นำระดับแนวหน้า คิดเป็นระบบ ; สร้างสิ่งใหม่ ๆ มีวิสัยทัศน์เชิงกลยุทธ์ ผู้จัดการการเปลี่ยนแปลง มีประสบการณ์การจัดการโครงการ และบุคลากร
คุณสมบัติของนักจัดการความรู้ (ต่อ) มีประสบการณ์ในการพัฒนาโครงการทางธุรกิจ รู้จักการประนีประนอมและการอำนวยความสะดวก นักการสื่อสาร เข้าใจเทคโนโลยี รู้วิธีการทำงานเป็นทีม ; การทำงานร่วมกัน
ผู้ที่ควรดำรงตำแหน่งประธานฝ่ายความรู้ผู้ที่ควรดำรงตำแหน่งประธานฝ่ายความรู้ บรรณารักษ์ นักจดหมายเหตุ ผู้ประกอบวิชาชีพสารสนเทศ วิสัยทัศน์ ความเป็นผู้นำ ความสามารถรู้ว่า ต้องปฏิบัติอย่างไร (Know-how)
บทบาทและความรับผิดชอบของบรรณารักษ์ในการจัดการความรู้บทบาทและความรับผิดชอบของบรรณารักษ์ในการจัดการความรู้ ผู้ให้คำปรึกษา (Consultant) นักวิเคราะห์ (Analyst) ผู้อำนวยความสะดวก / ผู้ฝึกฝน (Facilitator / Trainer) ผู้จัดการเนื้อหาในอินทราเนต (Intranet content manager)
บทบาทและความรับผิดชอบของบรรณารักษ์ในการจัดการความรู้ (ต่อ) นักวางแผนการผลิตและนักการตลาด (Product Planner and marketer) นักจัดการความรู้ขององค์กร (Corporate knowledge manager)
ทักษะของนักจัดการความรู้ที่มีประสิทธิผลทักษะของนักจัดการความรู้ที่มีประสิทธิผล ทักษะการจัดการความรู้ที่บรรณารักษ์มีอยู่แล้ว 1.1 ความยืดหยุ่น 1.2 ทักษะการทำงานเป็นทีม 1.3 ทักษะการติดต่อผู้อื่น 1.4 ทักษะการสื่อสาร 1.5 ความสามารถเข้าถึงและประเมินสารสนเทศ
ทักษะของนักจัดการความรู้ที่มีประสิทธิผลทักษะของนักจัดการความรู้ที่มีประสิทธิผล ทักษะการจัดการความรู้ที่บรรณารักษ์มีอยู่แล้ว (ต่อ) 1.6 ทราบวิธีการสร้าง บันทึก และจัดเก็บ สารสนเทศ 1.7 ทราบวิธีใช้เครื่องมือและเทคโนโลยี สารสนเทศ 1.8 ทราบวิธีการฝึกฝนและให้ความรู้ผู้ใช้ 1.9 การปฏิบัติงานที่มุ่งเน้นการให้บริการผู้ใช้
ทักษะของนักจัดการความรู้ที่มีประสิทธิผลทักษะของนักจัดการความรู้ที่มีประสิทธิผล ทักษะที่บรรณารักษ์อาจจะต้องเพิ่มเติม 2.1 การคิดนอกกรอบ 2.2 การคิดในลักษณะภาพรวมขององค์กร มากกว่าการทำงานตามหน้าที่ 2.3 พลังที่จะชักชวน แสดงตนและทักษะในบริบทขององค์กร
ทักษะของนักจัดการความรู้ที่มีประสิทธิผลทักษะของนักจัดการความรู้ที่มีประสิทธิผล ทักษะที่บรรณารักษ์อาจจะต้องเพิ่มเติม (ต่อ) 2.4 สมรรถนะด้านการจัดการ 2.5 ความสามารถในการวางแผนเชิงกลยุทธ์ 2.6 สมรรถนะด้านการตลาด
ทักษะของนักจัดการความรู้ที่มีประสิทธิผลทักษะของนักจัดการความรู้ที่มีประสิทธิผล ทักษะที่บรรณารักษ์อาจจะต้องเพิ่มเติม (ต่อ) 2.7 ความสามารถในการวิเคราะห์บทบาทของตนและจำแนกสิ่งที่ตนต้องปรับปรุง 2.8 สมรรถนะด้านการจัดการโครงการ (Coina, 2002)
ทางเลือกของบรรณารักษ์ทางเลือกของบรรณารักษ์ เพิ่มพูนทักษะที่จำเป็น รวมทั้งการส่งเสริมตน หาจุดสมดุลย์และเน้นบทบาทที่เป็นจุดแข็งของตน ไม่สนใจการเพิ่มพูนทักษะ การฝึกอบรมและการศึกษาด้านการจัดการความรู้เป็นสิ่งสำคัญและจำเป็นยิ่ง เพื่อให้บรรณารักษ์สามารถ ทวีบทบาท ศักยภาพและเป็นผู้นำในการจัดการความรู้ ได้อย่างแท้จริง ในสังคมฐานความรู้
หลักสูตร ศศ.ม. สาขาวิชาการจัดการ สารสนเทศและความรู้ (พ.ศ.2546) กระบวนวิชาบังคับ 18 หน่วยกิต (024) 701 การจัดการสารสนเทศและความรู้ (024) 706 เทคโนโลยีและระบบสารสนเทศสำหรับการ จัดการสารสนเทศและความรู้ (024) 707 การเข้าถึงและการบริการสารสนเทศและ ความรู้
หลักสูตร ศศ.ม. สาขาวิชาการจัดการ สารสนเทศและความรู้ (พ.ศ.2546) กระบวนวิชาบังคับ 18 หน่วยกิต (ต่อ) (024) 708 สถาปัตยกรรมและการจัดระเบียบสารสนเทศ และความรู้ (024) 709 การออกแบบและระเบียบวิธีวิจัยสำหรับการ จัดการสารสนเทศและความรู้ (024) 791 สัมมนาการจัดการสารสนเทศและความรู้ สารสนเทศและความรู้
หลักสูตร ศศ.ม. สาขาวิชาการจัดการ สารสนเทศและความรู้ (พ.ศ.2546) กระบวนวิชาเลือก (024) 711 การจัดการห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศหรือ ศูนย์ความรู้ (024) 715 การจัดการสิ่งพิมพ์และเอกสารรัฐบาล (024) 716 บรรณารักษศาสตร์เปรียบเทียบและ บรรณารักษศาสตร์นานาชาติ
หลักสูตร ศศ.ม. สาขาวิชาการจัดการ สารสนเทศและความรู้ (พ.ศ.2546) กระบวนวิชาเลือก (ต่อ) (024) 717 การคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญาและ ลิขสิทธิ์ (024) 718 การฝึกอบรมและการให้ความรู้ผู้ใช้ (024) 719 ประเด็นและแนวโน้มการพัฒนาห้องสมุด ดิจิทัล (024) 723 ทรัพยากรสารสนเทศไทยภาคเหนือศึกษา
หลักสูตร ศศ.ม. สาขาวิชาการจัดการ สารสนเทศและความรู้ (พ.ศ.2546) กระบวนวิชาเลือก (ต่อ) (024) 731 การจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศ (024) 732 การจัดการฐานข้อมูลสำหรับห้องสมุดและ ศูนย์สารสนเทศหรือศูนย์ความรู้ (024) 733 ระบบสารสนเทศสำหรับห้องสมุดและศูนย์ สารสนเทศหรือศูนย์ความรู้
หลักสูตร ศศ.ม. สาขาวิชาการจัดการ สารสนเทศและความรู้ (พ.ศ.2546) กระบวนวิชาเลือก (ต่อ) (024) 735 การจัดการระบบสารสนเทศและเครือข่าย สำหรับห้องสมุดฯ (024) 737 การออกแบบและการจัดการเว็บไซต์ (024) 788 กรณีศึกษาการจัดการความรู้ (024) 789 หัวข้อเลือกสรรทางการจัดการสารสนเทศ และความรู้
หลักสูตร ศศ.ม. สาขาวิชาการจัดการ สารสนเทศและความรู้ (พ.ศ.2546) วิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต (024) 799 วิทยานิพนธ์ การค้นคว้าแบบอิสระ 6 หน่วยกิต (024) 798 การค้นคว้าแบบอิสระ หน่วยกิตรวม 42 หน่วยกิต
The University of MelbourneMaster of Knowledge Management (2003) Course Structure Students must complete : 482-860 Principles of KM. 325-664 Strategic Management OR 325-672 Managing in Information Societies 482-866 Work Placement Project 325-492 Business Fundamentals for Knowledge Managers
The University of MelbourneMaster of Knowledge Management Plus all seven of 482-861 Creating Knowledge Cultures 482-862 Contextualising KM. 482-863 Applying Knowledge Management 482-865 Developing Knowledge in the Systematic Enterprise
The University of MelbourneMaster of Knowledge Management Plus all seven of 615-656 Knowledge Management Systems 615-652 Connected Technologies in Organizations 615-662 Information Systems Change Management