1.15k likes | 2.22k Views
Medication. Management System. MMS. ระบบการจัดการด้านยา. ภญ . มาศรินทร์ ธรรมสิทธิ์บูรณ์ งานเภสัชสนเทศและพัฒนาระบบยา. Medication Management System. การวางแผนและการจัดการ การเก็บสำรองยา การสั่งใช้ยาและถ่ายทอดคำสั่ง การทบทวนคำสั่ง เตรียมและจัดจ่าย/ส่งมอบยา การบริหารยาและติดตามผล.
E N D
Medication Management System MMS ระบบการจัดการด้านยา ภญ. มาศรินทร์ ธรรมสิทธิ์บูรณ์ งานเภสัชสนเทศและพัฒนาระบบยา
Medication Management System • การวางแผนและการจัดการ • การเก็บสำรองยา • การสั่งใช้ยาและถ่ายทอดคำสั่ง • การทบทวนคำสั่ง เตรียมและจัดจ่าย/ส่งมอบยา • การบริหารยาและติดตามผล
ความสัมพันธ์ระหว่างเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ต่างๆความสัมพันธ์ระหว่างเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ต่างๆ
Medication Error & Reporting System
MMS ความคลาดเคลื่อนทางยา เป็นประเด็นคุณภาพ และเป็นตัวชี้วัด ของรพ. สะท้อนเรื่องความปลอดภัยในกระบวนการใช้ยา ความคลาดเคลื่อนทางยา....................... “ ไม่ใช่เพียงความคลาดเคลื่อน แต่เป็นความผิดพลาด” “นำไปสู่ การสูญเสีย ชีวิต เวลา ค่าใช้จ่ายในการรักษา” “ เกิดขึ้นได้ซ้ำๆ หากขาดความตระหนักของบุคลากร” **** รพ. ต้องสนใจ ต้องมีทีมสหวิชาชีพ ****** เพื่อจัดระบบการค้นหา เฝ้าระวัง รายงาน หาวิธีแก้ไข และป้องกัน
MMS ความคลาดเคลื่อนทางยา (Medication Error) เหตุการณ์ใดๆที่สามารถป้องกันได้ ที่อาจเป็นสาเหตุหรือนำไปสู่การใช้ยาไม่เหมาะสม หรือเป็นอันตรายแก่ผู้ป่วย ในขณะที่ยาอยู่ในความควบคุมของบุคลากรสาธารณสุข ผู้ป่วย หรือผู้รับบริการ เหตุการณ์เหล่านั้นอาจเกี่ยวข้องกับการปฏิบัติทางวิชาชีพ ผลิตภัณฑ์สุขภาพ กระบวนการ และระบบซึ่งรวมถึงการสั่งใช้ยา การสื่อสารคำสั่งใช้ยา การติดฉลาก การบรรจุยา การตั้งชื่อยา การเตรียมยา การส่งมอบยา การกระจายยา การให้ยา การให้ข้อมูล การติดตามและการใช้ยา
MMS ประเภทความคลาดเคลื่อนทางยา • ความคลาดเคลื่อนในการสั่งใช้ยา(Prescribing Error) • ความคลาดเคลื่อนในการคัดลอกคำสั่งใช้ยา(Transcribing Error) • ความคลาดเคลื่อนในการจ่ายยา(Dispensing Error) • ความคลาดเคลื่อนในการให้ยา(Administration Error)
MMS Prescribing Error การเลือกใช้ยาผิด(โดยใช้หลักการเลือกยาตามข้อบ่งใช้ ข้อห้ามใช้ ประวัติการแพ้ยาของผู้ป่วย ยาอื่นๆที่ผู้ป่วยใช้อยู่ การสั่งใช้ยาซ้ำซ้อน การสั่งใช้ยาที่เกิดปฏิกิริยาระหว่างกัน และปัจจัยอื่นๆ) การเลือกขนาดยาผิด การเลือกรูปแบบยาผิด การสั่งยาในจำนวนที่ผิด การเลือกวิถีทางให้ยาผิด การเลือกความเข้มข้นของยาผิด การเลือกอัตราเร็วในการให้ยาผิด หรือการให้คำแนะนำในการให้ยาผิด การสั่งใช้ยาผิดตัวผู้ป่วย หรือการไม่ระบุชื่อยา ความแรง ความเข้มข้น ความถี่ของการใช้ยา ที่ทำให้เกิดความคลาดเคลื่อนที่ส่งผลถึงผู้ป่วย
MMS Transcribing Error ความคลาดเคลื่อนของการส่งต่อหรือถ่ายทอดข้อมูลคำสั่งใช้ยา โดยผ่านบุคคลกลางต่างวิชาชีพ อาจเป็นการคัดลอกคำสั่งใช้ยาจากคำสั่งใช้ยาต้นฉบับที่ผู้สั่งใช้ยาเขียนหรือการรับคำสั่งทางวาจา โดยแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ ไม่ได้คัดลอก และคัดลอกผิด
MMS Dispensing Error ความคลาดเคลื่อนในกระบวนการจ่ายยาของฝ่ายเภสัชกรรม ที่จ่ายยาไม่ถูกต้องตามที่ระบุในคำสั่งใช้ยา ได้แก่ผิดชนิดยา รูปแบบยา ความแรงของยา ขนาดยา วิธีใช้ยา จำนวนยาที่สั่งจ่าย จ่ายผิดตัวผู้ป่วย จ่ายยาที่เสื่อมสภาพหรือหมดอายุ จ่ายยาที่ไม่มีคำสั่งใช้ยา (Unauthorized drug)เตรียมยาผิด เช่นเจือจาง/ผสมผิด ใช้ภาชนะบรรจุยาไม่เหมาะสม ฉลากผิด ชื่อยาผิด หรือชื่อผู้ป่วยผิด เป็นเหตุการณ์หลังจากจ่ายยาออกจากฝ่ายเภสัชกรรม
MMS Administration Error เกิดในขั้นตอนการให้ยาแก่ผู้ป่วยภายในโรงพยาบาล (ไม่รวมที่เกิดจากผู้ป่วยใช้ยาเองที่บ้าน) โดยเป็นผลให้ไม่เป็นไปตามหลักการให้ยาที่ถูกต้อง 6R รวมทั้งการที่ผู้ป่วยไม่ได้รับยาตามที่แพทย์สั่ง หรือได้รับยาที่ไม่ได้อยู่ในคำสั่งแพทย์
MMS ประเภทของAdministration Error • การตัดสินใจทางคลินิกก่อนให้ยาและการเตรียมยา • การให้ยา • หลังการให้ยา แบ่งตามขั้นตอน ดังนี้
MMS Dispensing ก่อน Administration • การตัดสินใจทางคลินิกก่อนให้ยาและการเตรียมยา • การให้ยาที่ทราบว่าแพ้ • การให้ยาที่มีปฏิกิริยาระหว่างกันของยา • การเตรียมยา
MMS • การให้ยาไม่ครบ(omission error) • * ยกเว้น ผป. สมัครใจ หรือได้ข้อมูลว่าไม่ควรใช้ • การให้ยาผิดชนิด (wrong drug error) • การให้ยาที่ผู้สั่งใช้ยาไม่ได้สั่ง(unauthorized drug) • การให้ยา
MMS • การให้ยา(ต่อ) • การให้ยาผิดคน(wrong patients) • การให้ยาผิดขนาด (wrong dose error) • * การกำหนดช่วงความต่าง ขึ้นกับชนิดของยา • การให้ยาผิดวิถีทาง(wrong route error) • * รวมผิดตำแหน่งที่ให้ยา
MMS • การให้ยาผิดเวลา(wrong time error) • การให้ยามากกว่าจำนวนครั้งที่สั่ง (extra dose error) • * รวมทั้งให้ยาที่สั่ง off แล้ว หรือชะลอการใช้ • การให้ยาผิดเทคนิค • อัตราเร็วที่ผิด (wrong rate of administration error) • การให้ยาในอุปกรณ์ที่ไม่เหมาะสม • อื่นๆ • การให้ยา(ต่อ)
ระยะเวลาที่ผู้ป่วยควรได้รับยาระยะเวลาที่ผู้ป่วยควรได้รับยา • Emergencyควรได้รับยาหลังจากแพทย์สั่งยาทันที • Statdoseควรได้รับยาภายในเวลา 30 นาที • Definition (เฉพาะยาเร่งด่วน ฉุกเฉิน /ไม่ใช่ Loadingdose) • กำหนดรายการยา-ข้อบ่งใช้สำหรับ Stat order • General • ควรได้รับยา dose แรกหลังแพทย์สั่งภายในเวลา.....ชม. • เวลาที่ถือว่าคลาดเคลื่อน ต้องนิยามที่ชัดเจน • มาตรฐานรอบเวลาการให้ยา
MMS • การให้ยา(ต่อ) • การให้ยาผิดรูปแบบ (wrong dosage form error)
MMS • หลังให้ยา ขาดการติดตามผล หรืออาการผิดปกติ จากการให้ยา เช่น • อาการอันไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา • ผู้ป่วยที่มีประวัติแพ้ยาแต่จำเป็นต้องใช้ยานั้น
กรณีศึกษา 1 PE • คำสั่งใช้ยาไม่ครบถ้วน • การรับคำสั่งใช้ยาด้วยวาจา • ขาดการทบทวน/ตรวจสอบคำสั่งใช้ยา AE ระดับความรุนแรง : I
กรณีศึกษา 2 PE ? • ได้ยาผิดชนิด • ผู้ป่วยไม่ได้รับยาที่ควรได้รับ • การให้ยาที่แพ้/มีประวัติแพ้ DE ระดับความรุนแรง : F
อุปสรรคของการดำเนินงานเพื่อป้องกันความคลาดเคลื่อนทางยาอุปสรรคของการดำเนินงานเพื่อป้องกันความคลาดเคลื่อนทางยา ความซับซ้อนและขาดความเป็นเจ้าของ ขาดข้อมูลความคลาดเคลื่อนทางยา ความเคยชินการทำงานรูปแบบเดิม และไม่ยอมรับความเปลี่ยนแปลง ความเกรงกลัวต่อการถูกลงโทษ *** MMS
MMS Medication Error Reporting Systemโรงพยาบาลชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ ผู้พบเหตุ บันทึกเหตุการณ์ในแบบฟอร์มรายงานความคลาดเคลื่อนทางยา ส่งแบบฟอร์มรายงานฯไปให้ห้องยา เภสัชกรรวบรวมรายงานบันทึกลงโปรแกรมคอมพิวเตอร์ รายงานสรุปประจำเดือน PTC ศูนย์ความเสี่ยง คณะกก.บริหาร คณะกก.ความปลอดภัยด้านยา กลุ่มงานเภสัชกรรม องค์กรแพทย์ ฝ่ายการพยาบาล PCT
การแก้ไขและป้องกันความคลาดเคลื่อนทางยาการแก้ไขและป้องกันความคลาดเคลื่อนทางยา สร้างวัฒนธรรมความปลอดภัย กำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงาน มีระบบรายงานความคลาดเคลื่อน จัดตั้งคณะทำงานด้านความปลอดภัยในการใช้ยา MMS
หลักการ 6R ชนิดความคลาดเคลื่อนทางยา และแนวทางแก้ไข
The More You Know The Less Med. Error
MMS High-Alert Medication Management(การจัดการยาที่ต้องระวังเป็นพิเศษ)
MMS High-Alert Drug คำจำกัดความ ยาที่มีความเสี่ยงสูงที่จะก่อให้เกิดอันตรายรุนแรงกับผู้ป่วยอย่างมีนัยสำคัญ หรือทำให้เสียชีวิตหากมีการใช้อย่างคลาดเคลื่อน ความคลาดเคลื่อนที่เกิดขึ้นอาจเกิดขึ้นบ่อยหรือไม่บ่อยนัก หากแต่ผลที่เกิดขึ้นตามมาก่อให้เกิดความสูญเสียอย่างมาก
MMS ทำไม....ต้องมีการจัดการ HAD • ความปลอดภัยของผู้ป่วย • ปกป้องเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน • ปฏิบัติตามแนวทาง SIMPLE ของ HA
MMS แนวทางการกำหนดรายการยาที่ต้องระวังพิเศษ • Institute for Safe Medication Practice (ISMP) Version 2008 • กำหนดตามรายงานอุบัติการณ์ของโรงพยาบาล • Medication Error • RM
MMS รายการยาที่ต้องระวังพิเศษ ปี 2550 • Dopamine inj. • NTG inj. • Adrenaline Inj. • Digoxin • Potassium Chloride inj. • Heparin • LMW heparin • Insulin • Morphine • Phenytoin • Chemotherapy ; • Endoxan • 5-FU • Methrotrexate • Diazepam Inj. • Sodium bicarbonate inj. • Magnesium sulfate Inj. • Warfarin
MMS แนวทางการจัดการยาที่ต้องระวังพิเศษ • ในแต่ละกลุ่ม/ขนานไม่จำเป็นต้องเหมือนกัน • ขึ้นกับความเหมาะสมและสอดคล้องกับรายงานอุบัติการณ์ • สิ่งสำคัญคือ “การจัดการความรู้”
แนวทางการจัดการกับยาที่ต้องระวังพิเศษแนวทางการจัดการกับยาที่ต้องระวังพิเศษ HAD Guideline & Monograph HAD warning tool
MMS การจัดการเชิงระบบ • การวางระบบเพื่อลดโอกาสเกิดความคลาดเคลื่อน • การวางระบบเพื่อสร้างเงื่อนไขในการตรวจสอบความคลาดเคลื่อน • การจัดการเพื่อบรรเทาความรุนแรงของอุบัติการณ์
MMS 1. การวางระบบเพื่อลดโอกาสเกิดความคลาดเคลื่อน • กำหนดนโยบายด้านยาที่เกี่ยวข้อง เช่นการระบุตัวผป. และชัดเจนในการส่งเสริมความปลอดภัยของระบบยา • ประกันด้านผลิตภัณฑ์ เน้นคุณลักษณะและความพร้อมในการบริการ ลดความซ้ำซ้อนของขานและรูปแบบ ผ่านคณะกก. PTC • แนวทางการปฏิบัติงานและสื่อสาร เน้นความเป็นมาตรฐานเดียวกัน ระบบการตรวจสอบซ้ำของบุคคล หลีกเลี่ยงการสื่อสารที่เอื้อให้เกิดความเสี่ยง • การให้มีและสามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูลวิชาการและข้อมูลผู้ป่วย
MMS 1. การวางระบบเพื่อลดโอกาสเกิดความคลาดเคลื่อน (ต่อ) • การออกแบบระบบเพื่อลดการถ่ายทอดคำสั่งหลายๆทอด ทั้งในส่วนของแพทย์ผู้สั่งยากับห้องยา และการบริหารยาในหอผู้ป่วย • จำกัดการเข้าถึงยากลุ่มเสี่ยง • การสร้างความตระหนัก เช่นการ feedback อย่างสร้างสรรค์ การปฐมนิเทศ • ทบทวนอุบัติการณ์ แก้ปัจจัยสาเหตุ
MMS 2. การวางระบบเพื่อสร้างเงื่อนไขในการตรวจสอบ • การเข้าถึงข้อมูลผป. ทั้งข้อมูลทั่วไปและการวินิจฉัยโรค • การให้มีและเข้าถึงแหล่งข้อมูลยาที่เป็นปัจจุบัน และง่ายต่อการนำไปใช้ • การตรวจสอบอิสระ • การสร้างจุดเด่นและข้อสังเกต+การทำให้เกิดแรงจูงใจอย่างต่อเนื่อง • การนิเทศ กำกับ ควบคุม เน้นให้คำปรึกษามากกว่าบังคับบัญชา • ผู้ป่วยช่วยทวนสอบ เช่นผป.โรคเรื้อรัง
3. การจัดการเพื่อบรรเทาความรุนแรงของอุบัติการณ์ • ความพร้อมของยาฉุกเฉินหรือยาต้านพิษที่สำคัญ • ระบบที่เอื้อต่อการเข้าถึงแหล่งข้อมูลฉุกเฉินสำคัญ เช่นหน่วยงานที่ช่วยเหลือการส่งต่อ แหล่งข้อมูลพิษวิทยาการแก้ไขภาวะฉุกเฉินจากยา HAD • ความสามารถของทีมในการรับสถานการณ์ • ระบบรับสถานการณ์การที่มีความพร้อม ทดสอบระบบ หาจุดบกพร่อง และซักซ้อมอย่างต่อเนื่อง
อุปสรรคของ HAD management • บุคลากรขาดความเข้าใจที่แท้จริงถึงความสำคัญของ HAD • ระบบที่กำหนดยังไม่รับการปฏิบัติจริง • ระบบที่กำหนดยังไม่สามารถตรวจสอบ/ระบุปัญหาที่เกิดได้ • ขาดความรู้สำคัญในยากลุ่ม HAD • ไม่มีการติดตามและทบทวนระบบ
MMS Adverse Drug Reaction Management(การเฝ้าระวังอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา)
MMS คำนิยาม (WHO 1970) เป็นปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นโดยมิได้ตั้งใจและเป็นอันตรายต่อร่างกายมนุษย์และเกิดขึ้นเมื่อใช้ยาในขนาดปกติเพื่อการป้องกัน วินิจฉัย บรรเทา หรือบำบัดรักษาโรคหรือเพื่อเปลี่ยนแปลงแก้ไขการทำงานของอวัยวะในร่างกายมนุษย์โดยไม่รวมปฏิกิริยาที่เกิดจากการใช้ยาเกินขนาดโดยอุบัติเหตุหรือตั้งใจ ตลอดจนการใช้ยาในทางที่ผิด อุบัติเหตุ หรือจงใจใช้ยาเกินขนาดและผิดวิธี
MMS Type A (augmented) ADR • ทำนายล่วงหน้าจากฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา • อาการจะรุนแรงหรือไม่ ขึ้นอยู่กับขนาดยาและการตอบสนอง ของแต่ละบุคคล • อุบัติการณ์การเกิดสูง (>80%) แต่อัตราการตายต่ำ • แก้ไขโดยการลดขนาดยา หรือเปลี่ยนไปใช้ยาตัวอื่น ตย. • Toxicity of Overdose • Side effect** • Secondary effect • Drug Interaction