1 / 49

รู้จักกับตราสารหนี้และตลาดตราสารหนี้

รู้จักกับตราสารหนี้และตลาดตราสารหนี้. สันติ กีระนันทน์. ตราสารหนี้ (Debt instruments). “ สัญญา (ตราสาร) ที่แสดงการกู้ยืมเงินระหว่างผู้กู้ (บริษัทผู้ออก ตราสารหนี้) กับผู้ให้กู้ (นักลงทุนในตราสารหนี้) โดยในสัญญาจะมีรายละเอียดเกี่ยวกับการกู้ยืมนั้นๆ

Samuel
Download Presentation

รู้จักกับตราสารหนี้และตลาดตราสารหนี้

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. รู้จักกับตราสารหนี้และตลาดตราสารหนี้รู้จักกับตราสารหนี้และตลาดตราสารหนี้ สันติ กีระนันทน์

  2. ตราสารหนี้ (Debt instruments) “ สัญญา (ตราสาร) ที่แสดงการกู้ยืมเงินระหว่างผู้กู้ (บริษัทผู้ออก ตราสารหนี้) กับผู้ให้กู้ (นักลงทุนในตราสารหนี้) โดยในสัญญาจะมีรายละเอียดเกี่ยวกับการกู้ยืมนั้นๆ ทั้งนี้ กองหนี้สิน (สินทรัพย์) จะถูกแบ่งออกเป็นหน่วยย่อย ซึ่งแต่ละหน่วยย่อยจะมีมูลค่าเท่ากัน”

  3. ระบบการเงิน (Financial system) ระบบการเงิน สถาบันการเงิน Financial Institution ตลาดการเงิน Financial Institution ตลาดเงิน Money Market ตลาดทุน Capital Market ตลาดอนุพันธ์ Derivatives Market

  4. ตลาดตราสารหนี้ ตลาดเงิน Money Market ตลาดทุน Capital Market ตลาดตราสารหนี้ เป็นส่วนหนึ่งของตลาดทุน (ตราสารหนี้ระยะยาว) และตลาดเงิน (ตราสารหนี้ระยะสั้น)

  5. ตลาดตราสารหนี้ • ตลาดตราสารหนี้ แบ่งตามผู้ที่เกี่ยวข้องในการซื้อขาย • ตลาดแรก (Primary market) • ตลาดรอง (Secondary market) • ตลาดตราสารหนี้ แบ่งตามวิธีการซื้อขาย • ตลาดทางการ Exchange • ตลาดเจรจาต่อรอง (Over the counter – OTC) • ตลาดตราสารหนี้ แบ่งตามขนาดของการซื้อขาย • ตลาดค้าปลีก (Retail market) • ตลาดค้าส่ง (Wholesale market)

  6. บทบาทและประโยชน์ของตลาดตราสารหนี้บทบาทและประโยชน์ของตลาดตราสารหนี้ ลดการพึ่งพาเงินทุนจากต่างประเทศ ลดช่องว่างระหว่างเงินลงทุนและ เงินออม สร้างความสมดุลของตลาดการเงิน สร้างเสถียรภาพของอัตราดอกเบี้ยในประเทศ ลดความเสี่ยงโดยรวมของระบบเศรษฐกิจ แหล่งระดมทุน ขององค์กรผู้ออกตราสารทั้งภาครัฐและเอกชน แหล่งลงทุน เป็นทางเลือกของนักลงทุน บทบาทจุลภาค บทบาทมหภาค

  7. ตราสารหนี้ (Debt instruments) เครื่องมือเพื่อการจัดการสภาพคล่อง และการระดมทุนระยะยาว

  8. องค์ประกอบของตราสารหนี้องค์ประกอบของตราสารหนี้ มูลค่าที่ตราไว้ (Par Value) อัตราดอกเบี้ย (Coupon Rate) งวดการจ่ายดอกเบี้ย (Coupon Frequency) วันครบกำหนดไถ่ถอน (Maturity Date) ชื่อผู้ออก (Issue Name) ประเภทของตราสารหนี้ ข้อสัญญา ( Covenants)

  9. ประเภทของตราสารหนี้ แบ่งตามองค์กรผู้ออกตราสาร แบ่งตามลักษณะการถือกรรมสิทธิ์ แบ่งตามวิธีการจ่ายดอกเบี้ย แบ่งตามสิทธิในการเรียกร้อง แบ่งตามชนิดของอัตราดอกเบี้ย แบ่งตามชนิดของสิทธิแฝงที่ติดมาพร้อมกับตราสารหนี้

  10. ประเภทของตราสารหนี้ ตราสารหนี้ภาครัฐ พันธบัตรรัฐบาล พันธบัตรรัฐวิสาหกิจ ตั๋วเงินคลัง พันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ฯลฯ ตราสารหนี้ภาคเอกชน หุ้นกู้ไม่มีประกัน หุ้นกู้มีประกัน หุ้นกู้ด้อยสิทธิ หุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิ ฯลฯ แบ่งตามองค์กรผู้ออก Supranational Issuers

  11. แบ่งตามลักษณะการถือกรรมสิทธิ์แบ่งตามลักษณะการถือกรรมสิทธิ์ ตราสารหนี้ชนิดจ่ายเงินแก่ผู้ถือ (Bearer Bond) ตราสารหนี้ชนิดจดทะเบียน (Registered Bond) ตราสารหนี้ชนิดจดบัญชี (Inscribed Bond) แบ่งตามวิธีการจ่ายดอกเบี้ย ตราสารหนี้ชนิดจ่ายดอกเบี้ยประจำ (Fix-Interest Bond) ตราสารหนี้ชนิดทบดอกเบี้ย ตราสารหนี้ที่ไม่มีการจ่ายดอกเบี้ย (Zero-Coupon Bond) ประเภทของตราสารหนี้

  12. แบ่งตามสิทธิในการเรียกร้องแบ่งตามสิทธิในการเรียกร้อง หุ้นกู้ด้อยสิทธิ(Subordinate Bond) หุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิ(Senior Bond) แบ่งตามการใช้สินทรัพย์ค้ำประกัน หุ้นกู้มีหลักประกัน(Secured Bond) หุ้นกู้ไม่มีหลักประกัน (Unsecured Bond) ประเภทของตราสารหนี้

  13. ประเภทของตราสารหนี้ แบ่งตามชนิดของอัตราดอกเบี้ย หุ้นกู้จ่ายดอกเบี้ยคงที่(Fix-rate Bond) หุ้นกู้จ่ายดอกเบี้ยแบบลอยตัว (Floating rate Bond) แบ่งตามชนิดของสิทธิแฝง หุ้นกู้ปกติ (straight and option free Bond) หุ้นกู้แปลงสภาพ(Convertible Bond) หุ้นกู้ที่ผู้ออกมีสิทธิขอไถ่ถอนก่อนครบกำหนด(Callable or Puttable Bond)

  14. ประโยชน์ของตราสารหนี้: นักลงทุน • ผู้ลงทุนสามารถคาดการณ์ผลตอบแทนได้ค่อนข้างแน่นอน หรืออีกนัยหนึ่ง เมื่อเปรียบเทียบกับผลตอบแทนที่คาดหวังในการลงทุนในตราสารทุน • มีความเสี่ยงในการลงทุน น้อยกว่านักลงทุนในตราสารทุน • กระแสเงินสดที่นักลงทุนได้รับค่อนข้างแน่นอน • นักลงทุนสามารถใช้ตราสารหนี้ ประกอบใน Portfolio เพื่อประโยชน์ในการกระจายความเสี่ยงจากการลงทุน (Diversification) • ผลประโยชน์อื่นๆ เช่น เป็นหลักประกันในการทำสัญญาใดๆ กับองค์กรภาครัฐและ/หรือเอกชน

  15. ประโยชน์ของตราสารหนี้: บริษัทผู้ออก • ผู้ออกสามารถที่จะกำหนดกระแสเงินสดจ่าย ทั้งสำหรับดอกเบี้ย และมูลค่าไถ่ถอน ค่อนข้างแน่นอน ตั้งแต่วันออกตราสาร • ต้นทุนในการระดมเงินทุนต่ำกว่าระดมเงินทุนจากเจ้าของ • ความเสี่ยงของนักลงทุนที่ต้องแบกรับ น้อยกว่าลงทุนในตราสารทุน • มีผลประโยชน์ที่เกิดขึ้นจากการประหยัดภาระภาษี (Gain from leverage)

  16. กระบวนการออกตราสารหนี้ในตลาดแรกกระบวนการออกตราสารหนี้ในตลาดแรก • พันธบัตรรัฐบาลและตั๋วเงินคลัง • ธปท. เป็นผู้ดำเนินการประมูล • พันธบัตรรัฐวิสาหกิจ • กรมบัญชีกลางเป็นผู้ดำเนินการจัดประมูล ผ่านสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ • ส่วนใหญ่ สถาบันการเงินจะเป็นผู้จัดจำหน่าย • หุ้นกู้ภาคเอกชน • สถาบันการเงินเป็นผู้ดำเนินการจัดจำหน่าย

  17. การจัดอันดับความน่าเชื่อถือการจัดอันดับความน่าเชื่อถือ • อันดับความน่าเชื่อถือ • Sovereign credit rating • Company rating • Issue rating • ทำไมต้องจัดอันดับความน่าเชื่อถือ • นักลงทุนทราบระดับความเสี่ยงประเภท Credit risk • ใช้ในการพิจารณาต้นทุนในการออกตราสารหนี้

  18. ผู้จัดอันดับความน่าเชื่อถือ (Credit rating agency - CRA) บริษัท ทริส เรทติ้ง จำกัด (TRIS) บริษัท ฟิทช์เรทติ้ง (ประเทศไทย) จำกัด (FITCH)

  19. อันดับความน่าเชื่อถือของ TRIS • ผลการจัดอันดับความน่าเชื่อถือจำนวน 8 อันดับ AAA ความน่าเชื่อถือสูงสุด,ความเสี่ยงต่ำสุด AA A BBB BB B C Dความน่าเชื่อถือต่ำสุด,ความเสี่ยงสูงสุด หมายเหตุ: +แสดงความแตกต่างอันดับความน่าเชื่อถือระดับเดียวกัน BBB- ขึ้นไป คือ หุ้นกู้ที่เหมาะสมสำหรับการลงทุน กองทุนบำนาญและบริษัทประกันภัยไม่แนะนำให้ลงทุนหุ้นกู้อันดับต่ำกว่า BBB-

  20. ผลตอบแทนและราคาตราสารหนี้Price and Yield calculation

  21. ผลตอบแทนจากการลงทุนในตราสารหนี้ผลตอบแทนจากการลงทุนในตราสารหนี้ • จากการซื้อ/ขายตราสารหนี้ (Capital Gain) • จากดอกเบี้ย (Interest Income) • จากส่วนลด (Discount) • จากการนำไปลงทุนต่อ (Interest on Interest)

  22. ภาษีของนักลงทุน

  23. มูลค่าของตราสารหนี้ มูลค่าของตราสารหนี้ คือมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดที่นักลงทุนจะได้รับตลอดอายุตราสารหนี้ นั่นเอง

  24. หลักการ • ทำไมมูลค่าที่เหมาะสม (Intrinsic value)ของตราสารหนี้ จึงเป็น ผลรวมของมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดที่จะได้รับทั้งหมด อันเนื่องมาจากการถือครองตราสารหนี้นั้น ตลอดอายุ • เหตุผล นักลงทุนย่อมต้องวิเคราะห์ถึงประโยชน์ที่จะได้รับจากการลงทุน เทียบกับต้นทุนที่ต้องลงทุนไป มูลค่าปัจจุบันของผลประโยชน์ทั้งหมดนั้น จึงเป็นต้นทุนสูงสุดที่ผู้ซื้อจะยอมจ่าย และเป็นมูลค่าต่ำสุดที่ผู้ขายจะยอมขาย

  25. อัตราผลตอบแทนจากการลงทุนในตราสารหนี้อัตราผลตอบแทนจากการลงทุนในตราสารหนี้ อัตราผลตอบแทนที่ผู้ถือตราสารหนี้ต้องการ (required rate of return หรือ Yield) • อัตราผลตอบแทนปัจจุบัน (Current Yield) • อัตราผลตอบแทนถึงวันครบกำหนด (Yield to Maturity) • อัตราผลตอบแทนถึงวันเรียกคืน (Yieldto Call) • Yield to worst • อัตราผลตอบแทนเมื่อนับรวมผลประโยชน์ที่ได้รับจากการนำดอกเบี้ยไปลงทุน (Realized Compounded Yield)

  26. การวัดอัตราผลตอบแทนที่ผู้ถือตราสารหนี้ต้องการได้รับการวัดอัตราผลตอบแทนที่ผู้ถือตราสารหนี้ต้องการได้รับ Current Baht Coupon Payment Current Yield = Market Price • อัตราผลตอบแทนปัจจุบัน (Current Yield) • อัตราผลตอบแทนถึงวันครบกำหนด (Yield to Maturity)

  27. การวัดอัตราผลตอบแทนที่ผู้ถือตราสารหนี้ต้องการได้รับการวัดอัตราผลตอบแทนที่ผู้ถือตราสารหนี้ต้องการได้รับ • อัตราผลตอบแทนถึงวันเรียกคืน (Yield to Call) • อัตราผลตอบแทนเมื่อนับรวมผลประโยชน์ที่ได้รับจากการนำดอกเบี้ยไปลงทุน (Realized Compounded Yield)

  28. เส้นอัตราผลตอบแทน (Yield Curve) “เส้นแสดงความสัมพันธ์ระหว่างอัตราผลตอบแทน (Yield) กับอายุคงเหลือของตราสารหนี้ (Time to Maturity) โดยทุกๆจุดบน Yield Curve จะแสดงอัตราผลตอบแทน ตามอายุที่เหลือของตราสารหนี้ ”

  29. รูปร่างของเส้นอัตราผลตอบแทนรูปร่างของเส้นอัตราผลตอบแทน อัตราผลตอบแทน % (Yield) อายุคงเหลือ (TTM) • โดยทั่วไปมีอยู่ 4 รูปแบบ 1.แบบปกติ (Normal Yield Curve) - อัตราผลตอบแทนระยะยาวสูงกว่าระยะสั้น

  30. รูปร่างของเส้นอัตราผลตอบแทนรูปร่างของเส้นอัตราผลตอบแทน อัตราผลตอบแทน % (Yield) แบบลาดลง(Inverted Yield Curve) อายุคงเหลือ (TTM) 2. แบบลาดลง (Inverted Yield Curve) - อัตราผลตอบแทนระยะสั้นสูงกว่าระยะยาว

  31. รูปร่างของเส้นอัตราผลตอบแทนรูปร่างของเส้นอัตราผลตอบแทน อัตราผลตอบแทน % (Yield) แบบหลังเขา(Humped Yield Curve) 3. แบบหลังเขา (Humped Yield Curve) - อัตราผลตอบแทนเพิ่มขึ้น จากนั้นลดลงเมื่ออายุตราสารหนี้เพิ่มขึ้น อายุคงเหลือ (TTM)

  32. รูปร่างของเส้นอัตราผลตอบแทนรูปร่างของเส้นอัตราผลตอบแทน อัตราผลตอบแทน % (Yield) แบบราบ (Flat Yield Curve) อายุคงเหลือ (TTM) 4. แบบราบ (Flat Yield Curve) - อัตราผลตอบแทนเท่ากันทุกช่วงอายุคงเหลือ

  33. ความสัมพันธ์ระหว่างราคาและอัตราผลตอบแทนความสัมพันธ์ระหว่างราคาและอัตราผลตอบแทน Price ราคา ดอกเบี้ย Yield ราคาพันธบัตรและอัตราผลตอบแทนก็มีทิศทางตรงข้ามกัน

  34. ความสัมพันธ์ของราคาและอัตราผลตอบแทนความสัมพันธ์ของราคาและอัตราผลตอบแทน • มีความสัมพันธ์เชิงผกผัน • ถ้า yield เพิ่มขึ้น 1%ราคาลดลงx บาท และถ้า yield ลดลง 1%ราคาเพิ่มขึ้น y บาท : x จะน้อยกว่า yเราเรียกคุณสมบัตินี้ว่า Convexity • ตราสารหนี้อายุยาว มีความเสี่ยงในเรื่อง price risk สูงกว่า ตราสารหนี้อายุสั้น • การวัด Price risk (Market risk, Interest rate risk) อาจจะใช้ตัววัด PVBP (DV01), YVCP, Duration (Macaulay and Modified)

  35. ความสัมพันธ์ของราคาและอัตราผลตอบแทนความสัมพันธ์ของราคาและอัตราผลตอบแทน • ความเสี่ยง price risk ที่เพิ่มขึ้นตามอายุของตราสารหนี้ที่เพิ่มนั้น เพิ่มขึ้นในอัตราที่ลดลง (decreasing rate) • ตราสารหนี้ที่จ่าย coupon มาก มีความเสี่ยง price risk น้อย

  36. ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อมูลค่าและผลตอบแทนจากการลงทุนในตราสารหนี้ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อมูลค่าและผลตอบแทนจากการลงทุนในตราสารหนี้ • อายุคงเหลือของตราสารหนี้ (Time to Maturity) • อัตราดอกเบี้ยหน้าตั๋วของตราสารหนี้ (Coupon Rate) • อัตราดอกเบี้ยในตลาด (Interest Rate) • การรายงานการจัดอันดับความน่าเชื่อถือ

  37. ความผันผวนของราคาตราสารหนี้ความผันผวนของราคาตราสารหนี้ • Duration : อายุเฉลี่ยของตราสารหนี้ โดยให้น้ำหนักตามมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินแต่ละงวด • ประโยชน์: เป็นตัววัดการเปลี่ยนแปลงของราคาตราสารหนี้ ตราสารหนี้ที่มี Duration สูง จะมีการเปลี่ยนแปลงของราคามากกว่า • การใช้งาน: หากคาดว่าราคาของตราสารหนี้จะสูงขึ้น ควรเลือกซื้อตราสารหนี้ที่มี Duration สูง ซึ่งจะให้กำไรจากส่วนต่างของราคาสูง เนื่องจากราคาจะเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นมากกว่าตราสารหนี้ที่มี Duration ต่ำ

  38. Macaulay duration • เป็นการวัดอายุเฉลี่ยคงเหลือของตราสารหนี้ เพื่อสามารถเปรียบเทียบอายุคงเหลือของตราสารหนี้ ที่มีการจ่ายดอกเบี้ยไม่เท่ากัน • คำนวณจากอายุเฉลี่ยคงเหลือ ถ่วงน้ำหนักด้วยมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดที่ได้รับแต่ละงวด • ปกติ duration จะสั้นกว่า time to maturity สำหรับตราสารหนี้ประเภทที่จ่ายดอกเบี้ย แต่ zero-coupon bond จะมี duration เท่ากับ time to maturity

  39. Duration and Convexity Price Pricing Error from convexity Duration Yield

  40. ความเสี่ยงจากการลงทุนในตราสารหนี้ความเสี่ยงจากการลงทุนในตราสารหนี้

  41. ความเสี่ยงคืออะไร • ความเสี่ยงคือความไม่แน่นอน (Uncertainty) • ความเสี่ยง หมายถึง อัตราผลตอบแทนที่เกิดขึ้นจริง (Realized return) มีโอกาสที่จะผิดไปจากอัตราผลตอบแทนที่คาดหวังจากการลงทุน (Expected return)

  42. ความเสี่ยงจากการลงทุนในตราสารหนี้ความเสี่ยงจากการลงทุนในตราสารหนี้ • Interest Rate Risk/Price Risk ความเสี่ยงเกิดจากการเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ย • Default Risk ความเสี่ยงจากการผิดนัดชำระดอกเบี้ยหรือเงินต้น • Reinvestment Rate Risk ความเสี่ยงจากการนำดอกเบี้ยไปลงทุนต่อในอัตราดอกเบี้ยที่ลดลง • Event Risk ความเสี่ยงที่เกิดจากเหตุการณ์ มีผลต่อราคาตราสารหนี้

  43. ความเสี่ยงจากการลงทุนในตราสารหนี้ความเสี่ยงจากการลงทุนในตราสารหนี้ • Liquidity Risk ความเสี่ยงเกิดจากสภาพคล่องของตราสารหนี้ • Inflation Risk ความเสี่ยงเนื่องจากการลดลงของอำนาจซื้อ • Option–Embedded Risk ความเสี่ยงเนื่องจากสิทธิแฝงในตราสารหนี้ • Risk–Risk / Black–Box Risk ความเนื่องจากการไม่ทราบราคาและอัตราผลตอบแทนที่แท้จริง

  44. การซื้อขายในตลาดรอง BEX

  45. Bond Electronic Exchange (BEX) BEX Retail bond market ETP Wholesale bond market - Exchange manner - Facilitate retail investor (small and larger order) - Trade through broker - Over-the-counter manner - Facilitate institutions (investors and dealers) - Proprietary trading

  46. BEX Website

  47. ข้อมูลข่าวสารเรื่องตราสารหนี้ข้อมูลข่าวสารเรื่องตราสารหนี้

  48. Investment Information

  49. Thank youFor further information please contact Bond Electronic ExchangeTel 0-2229-2783-91bex@set.or.th

More Related