470 likes | 889 Views
บทที่ 2 แนวความคิดด้านการบริหารจัดการ. วิวัฒนาการของแนวความคิดด้านการบริหารจัดการ 1. ทฤษฎีการจัดการสมัยดั้งเดิม 2. ทฤษฎีการบริหารจัดการเชิงพฤติกรรมศาสตร์ 3. ทฤษฎีการบริหารจัดการสมัยปัจจุบัน. ทฤษฎีการจัดการสมัยดั้งเดิม. การจัดการตามหลักวิทยาศาสตร์ การจัดการตามระบบราชการ
E N D
บทที่ 2แนวความคิดด้านการบริหารจัดการ
วิวัฒนาการของแนวความคิดด้านการบริหารจัดการวิวัฒนาการของแนวความคิดด้านการบริหารจัดการ • 1. ทฤษฎีการจัดการสมัยดั้งเดิม • 2. ทฤษฎีการบริหารจัดการเชิงพฤติกรรมศาสตร์ • 3. ทฤษฎีการบริหารจัดการสมัยปัจจุบัน
ทฤษฎีการจัดการสมัยดั้งเดิมทฤษฎีการจัดการสมัยดั้งเดิม • การจัดการตามหลักวิทยาศาสตร์ • การจัดการตามระบบราชการ • การจัดการตามหลักการบริหาร
การจัดการตามหลักวิทยาศาสตร์การจัดการตามหลักวิทยาศาสตร์ • Frederick W.Taylor ได้ชื่อว่าเป็นบิดาของการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ • หลักของ Taylor คือ “Principles of Scientific Manangement”
หลักของ Taylor คือ “Principles of Scientific Manangement” • ใช้หลักวิทยาศาสตร์ • ยอมรับความกลมกลืนในกิจกรรมกลุ่ม • มุ่งสู่ความร่วมมือของมนุษย์ • ทำงานเพื่อผลผลิตสูงสุด • พัฒนาคนงานทุกคนให้ใช้ความสามารถสูงสุดและสร้างความมั่นคงสูงสุดให้องค์การ
2 การจัดการแบบระบบราชการ • Max Weber’s bureaucratic management หมายถึง การจัดการแบบระบบราชการของ Weber • Weber’s theory of bureaucracy หมายถึง ทฤษฎีระบบราชการของ Weber
การจัดการตามหลักการบริหารการจัดการตามหลักการบริหาร • Henri Fayol ถือว่าเป็น บิดาของทฤษฎีการจัดการตามหลักการบริหาร • หลักทั่วไปของการจัดการ เป็นคำแนะนำเกี่ยวกับการปฏิบัติงานของผู้จัดการ มี 14 ข้อ
หลักการจัดการ 14 ข้อของ Fayol • การแบ่งงานกันทำ • อำนาจหน้าที่และความารับผิดชอบ • ความมีระเบียบวินัย • การมีผู้บังคับบัญชาเพียงคนเดียว • การมีเป้าหมายเดียวกัน • ผลประโยชน์ส่วนตัวมีความสำคัญน้อยกว่าผลประโยชน์ขององค์การ • ค่าตอบแทนและวิธีการจ่ายค่าตอบแทนควรจะยุติธรรม
8. การรวมอำนาจ ต้องกำหนดระดับการรวมอำนาจและการกระจายอำนาจที่เหมาะสม 9. มีสายการบังคับบัญชา 10. คำสั่ง องค์การจะกำหนดตำแหน่งหน้าที่สำหรับทุกคน
11. หลักความเสมอภาค ความเมตตา และความยุติธรรม 12. ความมั่นคงในงาน 13. ความคิดริเริ่ม 14. ความสามัคคี
2. ทฤษฎีการบริหารจัดการเชิงพฤติกรรมศาสตร์ • การบริหารแนวมนุษยสัมพันธ์ • จิตวิทยาอุตสาหกรรม • The Hawthorne Study • การศึกษาระบบสังคม
2.1 การบริหารแนวมนุษยสัมพันธ์ ปี 1930-1950 • เปลี่ยนแปลงแนวความคิดจากที่ว่า • “คนเป็นสิ่งที่ไม่มีชีวิตจิตใจ และไม่มีความสำคัญ ต่อสายการผลิต” มาเป็น “คนเป็นสิ่งที่มีชีวิตจิตใจ และเป็นทรัพยากรที่มีคุณค่าอย่างยิ่ง”
2.1.1 ทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการของมาสโลว์ • เป็นทฤษฎีที่ว่า บุคคลมีสิ่งกระตุ้นให้ตอบสนองตามลำดับขั้นความต้องการของมนุษย์ 5 ประการ
ความต้องการของร่างกายความต้องการของร่างกาย • ความต้องการความมั่นคงหรือความปลอดภัย • ความต้องการยอมรับ • ความต้องการการยกย่อง • ความต้องการความสำเร็จในชีวิต
5. ความต้องการความสำเร็จในชีวิต 4. ความต้องการการยกย่อง 3. ความต้องการการยอมรับ 2. ความต้องการความมั่นคงหรือความปลอดภัย 1. ความต้องการของร่างกาย
2.1.2 ทฤษฎี X ทฤษฎี Y ของ McGregor • ข้อสมมติเกี่ยวกับทฤษฎี X • โดยทั่วไปมนุษย์ไม่ชอบการทำงาน และจะหลีกเลี่ยงงาน ถ้าสามารถทำได้ • คนส่วนใหญ่ ต้องถูกบังคับ ควบคุม สั่งการ ลงโทษ • มนุษย์โดยเฉลี่ย พอใจการถูกบังคับ ต้องการเลี่ยงความรับผิดชอบ มีความทะเยอทะยานน้อย และต้องการความปลอดภัย
ข้อสมมติเกี่ยวกับทฤษฎี Y • มนุษย์มีความพยายามด้านร่างกายและจิตใจในการทำงาน • มนุษย์สามารถควบคุมตัวเองเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่ต้องการ • ระดับของการบรรลุวัตถุประสงค์ ขึ้นอยู่กับขนาดของรางวัลที่สัมพันธ์กับความสำเร็จ
มนุษย์โดยเฉลี่ยเรียนรู้ภายใต้สภาพที่เหมาะสม และยอมรับความรับผิดชอบ • สมรรถภาพของมนุษย์ขึ้นอยู่กับระดับของการจิตนาการ ความซื่อสัตย์และความคิดสร้างสรรค์ • ศักยภาพที่เฉลียวฉลาดของความเป็นมนุษย์โดยเฉลี่ยมีการใช้ประโยชน์บางส่วน
การจัดการบุคคลของทฤษฎี X • พนักงานต้องการทำงานให้น้อยที่สุด ดังนี้ ผู้จัดการต้องควบคุม สั่งการ จูงใจ ให้รางวัล หรือลงโทษเพื่อให้บุคคลทำงานบรรลุจุดมุ่งหมายขององค์การ • พนักงานมีความทะเยอทะยานน้อยและไม่ชอบความรับผิดชอบ • โดยทั่วไปพนักงานจะต่อต้านการเปลี่ยนแปลง
การจัดการบุคคลของทฤษฎี Y • โดยธรรมชาติพนักงานชอบการทำงาน • พนักงานมีความคิดริเริ่มในการแก้ปัญหาและบรรลุจุดมุ่งหมายขององค์การ • พนักงานมีความรับผิดชอบ • พนักงานมีศักยภาพในการพัฒนาตนเอง
2.1.3 ทฤษฎี 2 ปัจจัยของ Herzberg • ปัจจัยรักษา หรือปัจจัยสุขอนามัย เป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลในการสร้างความไม่พึงพอใจในการทำงาน • ปัจจัยการจูงใจ เป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการสร้าง แรงจูงใจและสร้างความพึงพอใจในการทำงาน
2.2 จิตวิทยาอุตสาหกรรม • Hugo Munsterberg ได้ชื่อว่าเป็นบิดาของจิตวิทยาอุตสาหกรรม • เขียนหนังสือชื่อ “จิตวิทยาและประสิทธิภาพอุตสาหกรรม” ปีค.ศ.1912
จิตวิทยาและประสิทธิภาพอุตสาหกรรมของ Munsterberg • วิธีการค้นหาบุคคลที่มีคุณภาพด้านจิตใจ ซึ่งเหมาะสมที่สุดสำหรับงานที่เขาทำ • ลักษณะสภาพทางจิตวิทยา ที่ทำให้เกิดผลผลิตที่ดีที่สุดน่าพอใจสูงสุดและมากที่สุด • วิธีการที่ธุรกิจมีอิทธิพลต่อคนงานเพื่อให้เกิดผลลัพธ์ที่ดีที่สุด คือ “ค่านิยมร่วมกัน” ระหว่างผู้บริหารและคนงาน
2.3The Hawthorne Study ของ Elton Mayo,F.J.Roethlisberger และคณะ • โครงการ Hawthorne เป็นโครงการศึกษาวิจัยพฤติกรรมองค์การที่สำคัญที่สุด เกิดขึ้นปีค.ศ. 1927-1932 • พบว่าการเปลี่ยนแปลงช่วงเวลาพักผ่อนที่สั้นลงและระบบการจ่ายค่าตอบแทนที่จูงใจ ไม่ได้อธิบายการเปลี่ยนแปลงในผลผลิต
ปัจจัยกำหนดพฤติกรรมมนุษย์ในการปฏิบัติงานปัจจัยกำหนดพฤติกรรมมนุษย์ในการปฏิบัติงาน • ปัจจัยอื่นที่เกี่ยวข้องด้วยคือ ปัจจัยทางสังคม เช่น • อิทธิพล / แรงกดดันของกลุ่ม • การยอมรับของเพื่อนร่วมงาน • การจัดการที่มีประสิทธิผล • การใช้ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
2.4 การศึกษาระบบสังคมในการจัดการและทฤษฎีระบบสังคม โดย Chester l.Barnard • หลักของงานการจัดการประกอบด้วยมุมมองในการตัดสินใจ ความเป็นผู้นำ และการยอมรับอำนาจของสติปัญญาซึ่งเกิดจากประสบการณ์ในการจัดการ • ต้องสร้างความร่วมมือในองค์การที่เป็นทางการ
3 ทฤษฎีการบริหารจัดการสมัยปัจจุบัน • ทฤษฎีระบบ • ทฤษฎีการจัดการเชิงสถานการณ์ • ทฤษฎี Z ของ Ouchi • การค้นหาลักษณะความเป็นเลิศขององค์การ
3.1 ทฤษฎีระบบ • มององค์การเป็นระบบตามหน้าที่ ที่สัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม และมององค์การในลักษณะ ระบบเปิด คือมีปฏิสัมพันธ์ กับ สิ่งแวดล้อม ซึ่งต่างจากทฤษฎีองค์การในยุคดั้งเดิม ซึ่งมององค์การเป็นระบบปิด คือไม่มีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม
ทฤษฎีการจัดการเชิงสถานการณ์ทฤษฎีการจัดการเชิงสถานการณ์ • มุ่งที่การปรับปรุงพฤติกรรมการจัดการตามสถานการณ์ เช่น • เมื่อเทคโนโลยีมีการเปลี่ยนแปลง • เมื่อสิ่งแวดล้อมภายนอกเปลี่ยนแปลง • เมื่อบุคคล / กลยุทธ์ขององค์การเปลี่ยนแปลง
3.2 ทฤษฎีการจัดการเชิงสถานการณ์ • เป็นการประสมประสาน 3 ทัศนะ คือ • หลักวิทยาศาสตร์หรือเหตุผล • พฤติกรรมศาสตร์ • เชิงปริมาณ
3.3 ทฤษฎี Z ของ Ouchi • ทฤษฎี A แทนทัศนะการจัดการของอเมริกา ซึ่งเน้นการจ้างงานระยะสั้น ความรับผิดชอบและการตัดสินใจเฉพาะบุคคล • ทฤษฎี J แทนทัศนะการจัดการของญี่ปุ่น ซึ่งเน้นการจ้างงานตลอดชีพ ความรับผิดชอบและการตัดสินใจร่วมกัน • ทฤษฎี Z ประสมประสาน A และ J
3.4 การค้นหาลักษณะความเป็นเลิศขององค์การ โดย Peters & Waterman • ธุรกิจดีเด่นต่าง ๆ มีคุณสมบัติ 8 ประการ คือ • การมุ่งการกระทำ • การอยู่ใกล้ชิดกับลูกค้า • การส่งเสริมความเป็นอิสระ/ความเป็นเจ้าของ • การเพิ่มประสิทธิภาพโดยอาศัยคน
5. การสัมผัสและมุ่งที่ค่านิยม • 6. การดำเนินธุรกิจที่เชี่ยวชาญ • 7. การมีโครงสร้างที่เรียบง่ายและมีที่ปรึกษาน้อยลง • 8. การเข้มงวดและผ่อนปรนในขณะเดียวกัน
การศึกษาบทบาทการจัดการ โดย Henry Mintzberg • สรุปว่า ผู้บริหารไม่ได้ทำเฉพาะหน้าที่การจัดการแบบดั้งเดิม ซึ่งประกอบด้วย การวางแผน การจัดองค์การ การประสานงาน และการควบคุมเท่านั้น แต่ต้องทำกิจกรรมอื่น ๆ ด้วย เช่น
1 บทบาทระหว่างบุคคล • บทบาทการเป็นหัวหน้า การทำหน้าที่ที่เป็นระเบียบแบบแผน และหน้าที่ด้านสังคม ในฐานะเป็นตัวแทนขององค์การ • บทบาทของผู้นำ • บทบาทในการติดต่อ โดยเฉพาะกับบุคคลภายนอก
2. บทบาทเกี่ยวกับข้อมูล • บทบาทการรับข้อมูล การรับข้อมูลเกี่ยวกับการดำเนินงานขององค์การ • บทบาทการกระจายข้อมูล การรับข้อมูลไปยังผู้ใต้บังคับบัญชา • บทบาทการเจรจา การส่งข้อมูลไปยังภายนอกองค์การ
3. บทบาทการตัดสินใจ • บทบาทการเป็นผู้ประกอบการ • บทบาทการจัดการข้อขัดแย้ง • บทบาทการจัดสรรทรัพยากร • บทบาทการติดต่อ การติดต่อกับบุคคลและกลุ่มบุคคลต่าง ๆ
กิจกรรมที่ 1 (เก็บคะแนน)ให้สรุปว่า • ในองค์กรของท่านมีการจัดการอย่างไร..สอดคล้องกับทฤษฏีใดบ้าง • ให้ท่านบรรยายสถานการณ์ของท่าน ณ ปัจจุบัน และอนาคต โดยใช้หลักการของ มาสโลว์