120 likes | 222 Views
การตรวจสอบการใช้ประโยชน์ที่ดิน. เป้าประสงค์ : ตรวจสอบสิทธิ การใช้ประโยชน์ที่ดินให้ตรงตามวัตถุประสงค์ และจัดการผลกระทบ 4 กิจกรรม. เกษตรกรรม. สนับสนุน. สาธารณูปโภค. ทรัพยากร. ♣ จัดกลุ่มตำบล ABC ◈ A > 1,000 ราย ◈ B >500 <1,000 ราย ◈ C < 500 ราย ♣ ตรวจรายแปลงทุกราย
E N D
การตรวจสอบการใช้ประโยชน์ที่ดินการตรวจสอบการใช้ประโยชน์ที่ดิน เป้าประสงค์: ตรวจสอบสิทธิ การใช้ประโยชน์ที่ดินให้ตรงตามวัตถุประสงค์ และจัดการผลกระทบ 4 กิจกรรม เกษตรกรรม สนับสนุน สาธารณูปโภค ทรัพยากร ♣ จัดกลุ่มตำบล ABC ◈A > 1,000 ราย ◈B >500 <1,000 ราย ◈ C < 500 ราย ♣ ตรวจรายแปลงทุกราย ◈ A ทำเอง/ผ่านศูนย์ ◈ B จ้าง ◈ C อ.ส.ป.ก./ค่าตอบแทน ♣ ตรวจสอบจัดทำฐานข้อมูล / แผนที่ 1:4000 ♣ ทำหนังสือสอบถาม ทุกราย ♣ สงสัยตรวจรายแปลง ♣ ตรวจสอบจัดทำฐานข้อมูล / แผนที่ 1: 4000 ♣ ตรวจรายแปลงทุกราย /ทำเอง ♣ ตรวจสอบฐานข้อมูล /แผนที่ 1:4,000 ♣ ตรวจรายแปลงทุกราย /ทำเอง พบว่าฝ่าฝืน/ทำผิดระเบียบ ทำหนังสือแจ้งเตือน แก้ไข /สั่งสิ้นสิทธิ /เรียกที่ดินคืน - เพิ่มประสิทธิภาพการใช้ประโยชน์ดิน - การบังคับใช้กฎหมายที่ดินมีประสิทธิภาพ ผลที่ได้รับ - เสริมสร้างวินัยเกษตรกร - คุ้มครองพื้นที่เกษตรกรรม
การตรวจสอบการใช้ประโยชน์ที่ดิน - เพื่อเกษตรกรรม เป้าหมาย: เกษตรกรที่ได้รับสิทธิใน 400 ตำบล ขั้นตอนการดำเนินงาน จัดเตรียมข้อมูลตำบลเป้าหมาย - เกษตรกร/แผนที่ 1:4000/จัดกลุ่ม ABC ประชาสัมพันธ์ /นัดหมาย ตรวจสอบทุกราย สรุปผล/รายงาน ทำหนังสือแจ้งเตือนรายที่ไม่ถูกต้อง ปรับแก้ฐานข้อมูล
การตรวจสอบการใช้ประโยชน์ที่ดิน - 3 กิจการ(สนับสนุน สาธารณูปโภค ทรัพยากร) เป้าหมาย : ผู้ได้รับสิทธิทุกราย สนับสนุน 67 ราย 525 ไร่ สาธารณูปโภค 3,199 ราย 684,331 ไร่ ทรัพยากร 43 ราย 52,850 ไร่ ขั้นตอนการดำเนินงาน จัดเตรียมข้อมูล ผู้รับอนุญาต /ยินยอม /แผนที่ 1:4000 ประชาสัมพันธ์/ชี้แจง ตรวจสอบทุกราย สรุปผล/รายงาน ทำหนังสือแจ้งเตือนรายที่ไม่ถูกต้อง ปรับแก้ฐานข้อมูลเป็นปัจจุบัน
การตรวจสอบการใช้ประโยชน์เชิงรุก 3 กิจการ(สนับสนุน สาธารณูปโภค ทรัพยากร) เป้าหมาย: ผู้ที่ยังไม่ได้รับสิทธิ ใน 400 ตำบล ขั้นตอนการดำเนินงาน จัดทำแผนปฏิบัติการ สำรวจข้อมูลลงแผนที่ 1:4000 เสนอผู้มีอำนาจพิจารณา รับคำขอ /ตรวจสอบหลักฐาน ประกาศให้ยื่นคำขอ ทำสัญญา /ออกหนังสืออนุญาต / ยินยอม ลงข้อมูลในระบบ IT
การโอน/การตกทอดมรดกสิทธิที่ดิน ส.ป.ก. เป้าหมาย: 3,200 ตำบล ปฏิบัติงาน ไตรมาส 1- 4 ขั้นตอนการดำเนินงาน รับคำขอ ตรวจสอบหลักฐาน/คุณสมบัติ เสนอ ผู้มีอำนาจพิจารณา เต็มแปลง รังวัดแบ่งแปลง ออก ส.ป.ก. 4-01 /เช่า /เช่าซื้อ รายงานผล ปรับแก้ฐานข้อมูล
การตรวจพิสูจน์ออกหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินในเขตปฏิรูปที่ดินการตรวจพิสูจน์ออกหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินในเขตปฏิรูปที่ดิน เป้าหมาย: 3,200 ตำบล ปฏิบัติงาน ไตรมาส 1-4 ขั้นตอนการดำเนินงาน รับเรื่อง ตรวจสอบตำแหน่ง/หลักฐาน ตรวจสอบในพื้นที่ สรุปผล/แจ้งสำนักงานที่ดินภายใน 30วัน รายงานผล ส.ป.ก. ปรับแก้ฐานข้อมูล
การแก้ไขปัญหาข้อพิพาท ข้อร้องเรียน (เจรจาไกล่เกลี่ย) เป้าหมาย: 3,200 ตำบล ปฏิบัติงาน ไตรมาส 1-4 ขั้นตอนการดำเนินงาน รับเรื่อง ตรวจสอบข้อเท็จจริง/ข้อ กม. ประสาน/ตรวจสอบในพื้นที่ /หาข้อยุติ แจ้งตอบผู้ร้อง รายงานผล
สรุปข้อสังเกตการดำเนินงานด้านกฎหมายสรุปข้อสังเกตการดำเนินงานด้านกฎหมาย • การดำเนินงานปฏิรูปที่ดิน : ต้องปฏิบัติในกรอบของกฎ ระเบียบ อย่างเป็นธรรมและมีจิตสำนึกใน หน้าที่ความรับผิดชอบ • การอนุญาต/ยินยอม : ดูเรื่องผลกระทบอย่างรอบด้าน ไม่ให้เกิดข้อร้องเรียน : กรอบแบบฟอร์ม/เอกสารหลักฐานครบถ้วน พร้อมความเห็นเจ้าหน้าที่ • การเจรจาระงับข้อพิพาท: กรณีร้องผ่านสื่อมวลชนทุกแขนงให้ ส.ป.ก.จังหวัด เป็นผู้ตอบชี้แจง และรายงาน ส.ป.ก. ทันที : การแก้ไขปัญหาข้อร้องเรียน /การตรวจสอบข้อเท็จจริง เน้น รวดเร็ว ถูกต้องครบถ้วน และ ให้ความเห็น ข้อเสนอแนะ • การดำเนินคดี : ระมัดระวังไม่ให้ขาดอายุความ : ประสานคดี /ติดตามทุกระยะ : การสืบหาหลักทรัพย์ของลูกหนี้ต้องทำอย่างต่อเนื่องเพื่อมิให้เกิดปัญหา เมื่อใกล้หมด ระยะเวลาบังคับคดี
สรุปผลการดำเนินงานของคณะทำงานสรุปผลการดำเนินงานของคณะทำงาน • คณะทำงานปรับปรุงกฎหมายของ ส.ป.ก. • คณะทำงานปรับปรุงการอนุญาตและตรวจสอบสิทธิการใช้ประโยชน์ฯ
กฎหมายปฏิรูปที่ดิน อดีต อนาคต ปัญหา - สาเหตุ ดำเนินการแก้ไขปรับปรุงกฎหมาย ● ไม่สามารถแก้ไขปัญหาผู้ถือครองที่ดินของรัฐ ได้ทั้งหมดเพราะวัตถุประสงค์และหลักการของ กฎหมายไม่เอื้ออำนวย ● จัดซื้อที่ดินได้ล่าช้า เพราะต้องรอการประกาศเขต● เกษตรกรไม่เข้าสู่ระบบกรรมสิทธิ์ เพราะมี ข้อจำกัดเข็มงวด● การดำเนินงานไม่คล่องตัว เพราะขาดการ มีส่วนร่วมของเกษตรกร ความคิดนอกกรอบ ● แยกกฎหมายเป็น 2 ส่วน คือ การบริหารจัดการที่ดินของรัฐ : แก้ไขปัญหาผู้ถือครอง ที่ดินได้ทั้งหมด การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม : เพิ่มประสิทธิภาพ● กรรมสิทธิ์ ห้ามโอน 5 ปี / คุมขนาดและการใช้● กระจายอำนาจและการมีส่วนร่วมของเกษตรกรทุกระดับ● ปรับปรุงองค์กรดำเนินงาน / องค์กรทางการเงิน การแก้ไข - แนวทาง ● ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการที่ดินของประเทศ อย่างเป็นธรรม และยั่งยืน ทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม● ยุทธวิธีการดำเนินงานที่ภาคประชาชนมีส่วนร่วม● การปรับปรุงโครงสร้างองค์กร บุคลากร ให้เพียงพอและ ตรงตามสาขาอาชีพที่ต้องการตามกรอบภารกิจ● งบประมาณ และการบริหารกองทุนรูปแบบใหม่ แก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า / โครงการเฉพาะกิจ● เจรจา ฟ้องคดี ผู้ไม่ยินยอมเข้ากระบวนการ●จัดซื้อ ประกาศเขตรายแปลง ปรับวิธีการ จัดทำแผนที่ท้าย พ.ร.ฎ.● พัฒนาสิทธิเกษตรกรไปสู่การเช่าซื้อ ที่ดินของรัฐ● ท้องถิ่นมีส่วนร่วม ต้องคำนึงถึง
การทบทวนกระบวนการอนุญาต/ยินยอมการทบทวนกระบวนการอนุญาต/ยินยอม ยื่นคำขอ ตรวจสอบหลักฐาน เสนอผู้มีอำนาจอนุญาต/ยินยอม สนับสนุน- คปจ. สาธารณูปโภค - คปจ. /ลธก./อนุฯ/คปก. ทรัพยากร- คปจ./ลธก./คปก. ออกหนังสืออนุญาต /ทำสัญญา /หนังสือยินยอม แจ้งผลพิจารณา เดิม ใหม่ ตรวจสอบหลักฐาน สำรวจข้อมูล ทำแผนปฏิบัติการ ประกาศให้ยื่นคำขอ รับคำขอ ลงข้อมูลแผนที่/ระบบIT ออกหนังสืออนุญาต /ทำสัญญา /หนังสือยินยอม เสนอผู้มีอำนาจอนุญาต/ยินยอม สนับสนุน- คปจ.สาธารณูปโภค - คปจ. /ลธก. ทรัพยากร- คปจ./ลธก. แจ้งผลพิจารณา ◈ จัดทำราคาประเมินมูลค่าที่ดินของ ส.ป.ก.◈ ออกโฉนดที่ดินของ ส.ป.ก.
การทบทวนการตรวจสอบสิทธิการทำประโยชน์ที่ดินการทบทวนการตรวจสอบสิทธิการทำประโยชน์ที่ดิน เดิม ติดตามผ่านศูนย์เคลื่อนที่ ( X-RAY) (เฉพาะที่ดินเพื่อเกษตรกรรมในตำบลตามแผน) รายงาน PARA ใหม่ กำหนดตัวชี้วัด แยกประเภท กำหนดวิธีตรวจสอบสิทธิการทำประโยชน์ เกษตรกรรม จัดกลุ่มตำบล ABC / ตรวจทุกราย ทำเอง(ผ่านศูนย์) / จ้าง ♠ จำนวนรายที่ตรวจสอบ ♠ จำนวนรายที่แจ้งเตือน สนับสนุน ตรวจทุกราย ทำเอง สาธารณูปโภค ทำหนังสือแจ้งทุกราย/สงสัยตรวจรายแปลง ทรัพยากร ตรวจทุกราย ทำเอง