280 likes | 616 Views
การเลื่อนเงินเดือนประจำปีและ การประเมินผลการปฏิบัติงาน. ตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551. บัญชีเงินเดือนท้ายพระราชบัญญัติฯ. กำหนดแบบช่วง / 4 บัญชี. บริหาร. อำนวยการ. วิชาการ. ทั่วไป. ผลงาน คะแนนประเมิน และผลการเลื่อนขั้นเงินเดือน : ครึ่งปีแรก (ที่เป็นอยู่).
E N D
การเลื่อนเงินเดือนประจำปีและการประเมินผลการปฏิบัติงานการเลื่อนเงินเดือนประจำปีและการประเมินผลการปฏิบัติงาน ตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551
บัญชีเงินเดือนท้ายพระราชบัญญัติฯบัญชีเงินเดือนท้ายพระราชบัญญัติฯ กำหนดแบบช่วง/4 บัญชี บริหาร อำนวยการ วิชาการ ทั่วไป
ผลงาน คะแนนประเมิน และผลการเลื่อนขั้นเงินเดือน : ครึ่งปีแรก (ที่เป็นอยู่) คะแนนประเมิน และ การเลื่อนเงินเดือน ผลงานจริง (ค) (ก) (ข) (ง)
ผลงาน คะแนนประเมิน และผลการเลื่อนขั้นเงินเดือน : ครึ่งปีหลัง (ที่เป็นอยู่) คะแนนประเมิน และ การเลื่อนเงินเดือน ผลงานจริง (ค) (ก) (ข) (ง)
ผลงาน คะแนนประเมิน และผลการเลื่อนขั้นเงินเดือน :ครึ่งปีแรก/หลัง (ที่อยากเป็น และจะเป็น)
การเลื่อนเงินเดือนประจำปีการเลื่อนเงินเดือนประจำปี ยกเลิกโควตา 15% ประเมินผลงานประจำปี เลื่อนเงินเดือนเป็น % ของค่ากลาง ผลงานดีเด่น/ครึ่งปี : ไม่เกิน 6% ของค่ากลาง งบประมาณ/ครึ่งปี : 3% ของเงินเดือนทุกคนในส่วนราชการ ปีละ 2 ครั้ง/ไม่น้อยกว่า 5 ระดับ • ผลงานดีเด่นเลื่อนไม่เกิน 6 % /ผลงานระดับที่ลดหลั่นลงมาให้ อิสระแต่ละส่วนราชการกำหนดเอง • กำหนดค่ากลาง 2 ค่า ในแต่ละระดับ • ไม่บังคับกำหนดสัดส่วนจำนวนคนแต่ละระดับ (Force Distribution) • เลื่อนเงินเดือนได้ไม่เกินเงินเดือนสูงสุดของแต่ละสายงาน • เงินเดือนตันให้ได้รับเงินตอบแทนพิเศษเป็นร้อยละของค่ากลาง การพิจารณา : ประกาศรายชื่อผู้มีผลงานระดับดีมาก/ดีเด่น : แจ้งผลการเลื่อนเงินเดือนเฉพาะตัวบุคคล
ทางเลือกของระบบการเลื่อนเงินเดือนทางเลือกของระบบการเลื่อนเงินเดือน ขั้นสูง ค่ากลางบน ค่ากลาง 4 ค่ากลาง 3 • กำหนดค่ากลางหลายค่า ค่ากลางล่าง ค่ากลาง ค่ากลาง 2 ค่ากลาง 1 ขั้นต่ำ 59,770 ตำแหน่งประเภทอำนวยการ 31,280 50,550 25,390
การประเมินผลงาน (ระบบปัจจุบัน) กับ การเลื่อนเงินเดือน (ระบบใหม่) ขั้นสูง ขั้นสูง 2 ขั้น 1.5 ขั้น 1 ขั้น 0.5 ขั้น ไม่เลื่อน ค่ากลางบน ค่ากลางล่าง ขั้นต่ำ ขั้นต่ำ
ตัวอย่างการจัดสัดส่วนจำนวนคนและวงเงินงบประมาณตัวอย่างการจัดสัดส่วนจำนวนคนและวงเงินงบประมาณ * ส่วนราชการสามารถปรับสัดส่วนร้อยละให้เหมาะสมได้
การจัดสรรวงเงินเลื่อนเงินเดือนการจัดสรรวงเงินเลื่อนเงินเดือน ระบบปัจจุบัน ระบบใหม่ ปัจจุบัน ส่วนกลาง:ปลัดฯ/อธิบดี ส่วนกลาง วิชาการ/ทั่วไป 9 ขึ้นไป 8 ลงมา อำนวยการ ส่วนภูมิภาค ส่วนภูมิภาค : ผู้ว่าฯ บริหาร
บริหาร (S) ค่ากลาง 2 ค่า และ ช่วงเงินเดือน สำหรับการเลื่อนเงินเดือนประจำปี 59,770 อำนวยการ (M) 52,650 45,540 วิชาการ (K) 45,530 45,150 23,230 47,450 (36,020) 33,540 59,770 50,550 66,480 66,480 59,770 64,340 36,020 18,190 22,220 50,550 ทั่วไป (O) 39,440 (33,730) 60,430 30,600 43,190 15,730 44,260 19,950 52,310 27,710 56,890 63,290 60,290 44,850 54,110 21,880 54,010 35,830 25,190 56,530 17,680 37,980 13,270 61,650 31,440 35,820 54,100 54,000 44,840 61,640 13,260 37,970 17,670 25,180 56,520 21,870 31,430 31,680 20,350 16,030 52,650 61,640 15,390 51,110 53,360 31,220 28,270 10,790 44,060 18,910 4,630 23,230 12,530 6,800 28,550 18,910 23,230 10,190 48,220 28,550 15,410
หลักเกณฑ์/เงื่อนไขอื่น ๆ • รอเลื่อนเงินเดือน : ผู้ถูกตั้งกรรมการสอบวินัยร้ายแรงและผู้ถูกฟ้องคดีอาญา • ลาศึกษา/ฝึกอบรม : ต้องทำงานไม่น้อยกว่า 4 เดือน จึงเลื่อนเงินเดือนได้ ยกเว้น ลาศึกษา/ฝึกอบรมตามหลักสูตรที่ อ.ก.พ.กระทรวงกำหนด • ผู้ไปปฏิบัติงานองค์การระหว่างประเทศ : เมื่อกลับมาปฏิบัติงานให้ผู้มีอำนาจสั่งเลื่อนเงินเดือนในอัตราร้อยละ 3 ของเงินเดือนก่อนไป • เสียชีวิต : ทำงานไม่น้อยกว่า 4 ให้เลื่อนเงินเดือนได้ในวันก่อนเสียชีวิต • เกษียณอายุราชการ เลื่อนเงินเดือนในวันที่ 30 ก.ย.
หลักเกณฑ์และเงื่อนไขอื่น ๆ • ไม่ถูกสั่งพักราชการเกิน 2 เดือน • ไม่ขาดราชการโดยไม่มีเหตุอันควร • ไม่ลา/สาย เกินจำนวนครั้งที่กำหนด • ลาไม่เกิน 23 วันทำการ โดยไม่รวมลาอุปสมบท / คลอดบุตร / ป่วยจำเป็น / ป่วยประสบอันตราย / พักผ่อน / ตรวจเลือก/เตรียมพล / ทำงานองค์การระหว่างประเทศ
แนวทางของระบบการบริหารผลการปฏิบัติงานแนวทางของระบบการบริหารผลการปฏิบัติงาน 1. แสดงองค์ประกอบทั้งสามกับคะแนนผลการปฏิบัติงาน กำหนดโดยพิจารณาความสำเร็จของงาน และตกลงกันระหว่างผู้ปฏิบัติและผู้บังคับบัญชา • องค์ประกอบ • ผลสัมฤทธิ์ของงาน • ตัวชี้วัด • ค่าเป้าหมาย คะแนนประเมินผลสัมฤทธิ์ของงาน ประเมิน พิจารณาเลื่อนเงินเดือน องค์ประกอบพฤติกรรมสมรรถนะ กำหนดโดยอ้างอิงจากข้อกำหนดสมรรถนะซึ่งประกาศโดยส่วนราชการ คะแนนผลการปฎิบัติงาน คะแนนประเมินสมรรถนะ ประเมิน แจ้งผลการปฏิบัติงาน และ ปรึกษาหารือถึงการพัฒนาปรับปรุง องค์ประกอบอื่นๆ (ขึ้นอยู่กับส่วนราชการ) คะแนนประเมินปัจจัยอื่นๆ กำหนดโดยอ้างอิงจากข้อกำหนดของส่วนราชการ ประเมิน
แนวทางของระบบการบริหารผลการปฏิบัติงาน [ต่อ] 2. แบบฟอร์มฯที่ใช้ จะบังคับเฉพาะ แบบฟอร์มสรุปผลการปฏิบัติงาน จำนวน 3 แผ่น (ดังแสดงข้างล่าง) โดยแบบฟอร์มการประเมินผลสัมฤทธิ์ และ การประเมินสมรรถนะ เป็นเอกสารแนบที่ส่วนราชการปรับเปลี่ยนได้
แนวทางของระบบการบริหารผลการปฏิบัติงาน [ต่อ] 2. ตัวอย่างแบบฟอร์มการประเมินผลสัมฤทธิ์ และ การประเมินสมรรถนะ เป็น เอกสารแนบที่ส่วนราชการปรับเปลี่ยนได้ ตัวอย่างเอกสารแนบ
แนวทางของระบบการบริหารผลการปฏิบัติงาน [ต่อ] 2. ความสัมพันธ์ระหว่างแบบสรุปการประเมินฯ กับ เอกสารแนบ เป็นดังแสดง
แนวทางของระบบการบริหารผลการปฏิบัติงาน [ต่อ] องค์ประกอบ : ระดับผลการประเมิน อย่างน้อย 5 ระดับ
แนวทางของระบบการบริหารผลการปฏิบัติงาน [ต่อ] 3. วิธีการประเมินมีด้วยกันหลายวิธี ซึ่งผู้ประเมินสามารถเลือกใช้ได้ตามความเหมาะสม และอาจใช้วิธีอื่นนอกเหนือจากนี้ก็ได้
แนวทางของระบบการบริหารผลการปฏิบัติงาน [ต่อ] 4. การวางแผนในส่วนผลสัมฤทธิ์ของงาน (ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย) อาจปรับเปลี่ยนได้ เมื่องานที่ได้รับมอบหมายเปลี่ยนแปลงไปจากต้นรอบการประเมิน ทั้งนี้ ผู้ประเมิน และผู้ถูกประเมิน ควรพิจารณาคัดกรองตัวชี้วัด เพื่อให้ได้จำนวนตัวชี้วัดที่เหมาะสม การสอบถามความคาดหวังของผู้รับบริการ (Customer-Focused Method) การไล่เรียงตามผังการเคลื่อนของงาน (Work Flow Charting Method) การถ่ายทอดตัวชี้วัดผลสำเร็จของงานจากบนลงล่าง (Goal Cascading Method) การพิจารณาจากประเด็นสำคัญที่ต้องปรับปรุง (Issue- Driven) คัดกรอง ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายของผู้รับการประเมิน ณ ต้นรอบการประเมิน เปลี่ยนแปลงได้ในช่วงระหว่างรอบการประเมิน ตัวชี้วัดและเป้าหมายที่ใช้ในการประเมิน ณ ปลายรอบการประเมิน
แนวทางของระบบการบริหารผลการปฏิบัติงาน [ต่อ] 5. การประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติราชการ ให้พิจารณาจากสมรรถนะหลัก 5 ตัวของสำนักงาน ก.พ. และสมรรถนะอื่น ๆ เพิ่มเติมตามที่ส่วนราชการกำหนด • การมุ่งผลสัมฤทธิ์ • บริการที่ดี • การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ • จริยธรรม • ความร่วมแรงร่วมใจ • ทั้งนี้ ส่วนราชการสามารถกำหนดมาตรวัด (Scale) ในการวัดสมรรถนะของตนเองได้ 6. รอบการประเมินกำหนดให้มีปีละ 2 ครั้ง • ครั้งที่ 1 (1 ตุลาคม - 30 มีนาคมของปีถัดไป) • ครั้งที่ 2 (1 เมษายน - 30 กันยายนของปีเดียวกัน) สมรรถนะหลัก 5 ตัวของสำนักงาน ก.พ.
แนวทางของระบบการบริหารผลการปฏิบัติงาน [ต่อ] 7.ผู้บังคับบัญชาและผู้ใต้บังคับบัญชาตกลงเป้าหมายผลการปฏิบัติงานร่วมกัน (ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย) ตั้งแต่ต้นรอบการประเมิน ทั้งนี้ ข้อตกลงดังกล่าวอาจปรับเปลี่ยนระหว่างรอบการประเมินได้ หากงานที่ได้รับมอบหมายเปลี่ยนแปลงไป 8. ในระหว่างรอบการประเมิน ผู้บังคับบัญชาต้องติดตามผลการปฏิบัติงานเป็นระยะ พร้อมทั้งให้คำปรึกษาแก่ผู้ใต้บังคับบัญชาในประเด็นต่าง ๆ เช่น การแก้ปัญหาที่พบในการทำงาน การปรับปรุงตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายตามสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป เป็นต้น 9. ผู้บังคับบัญชา (ผู้ประเมิน) ต้องแจ้งผลการประเมินด้วยตนเอง พร้อมทั้งร่วมกัน วางแผนการปฏิบัติงานในรอบการประเมินถัดไป *********************
การกำหนด 2 ค่ากลางในแต่ละบัญชี ? ? ? ? ? ? ? ? แรกบรรจุ แรกบรรจุ
ปรับค่ากลางเพื่อให้ตัวเลขสอดคล้องกัน ปรับค่ากลางเพื่อให้ตัวเลขสอดคล้องกัน 2% 2% = 2% 2% 2% 2% 2%
ประเภททั่วไป ระดับปฏิบัติงาน • ปรับค่ากลางของระดับแรกบรรจุให้สูงขึ้น ค่ากลาง ค่ากลาง ประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ C 4 ปริญญาเอก C 3 ปริญญาโท C 2 ปริญญาตรี C 1
ตัวอย่างการคำนวณค่ากลางตัวอย่างการคำนวณค่ากลาง ค่ากลางบน (33,540 + 21,865)/2 = 27,702.5 ค่ากลาง (33,540 + 10,190)/2 = 21,865 ค่ากลางล่าง (10,190 + 21,865)/2 = 16,027.5 ประเภททั่วไป ระดับชำนาญงาน 33,540 27,710 21,880 21,870 ประเภททั่วไป ระดับชำนาญงาน 16,030 10,190