280 likes | 454 Views
การใช้ค่ากลางในการสร้างแผนงาน/โครงการ ด้านสาธารณสุข จังหวัดเชียงใหม่. ค่ากลางที่คาดหวัง. ดร. ทรงยศ คำชัย งานสุขภาพภาคประชาชน สสจ. เชียงใหม่. ตาราง 11 ช่อง. ค่ากลางฯ. ค่ากลางที่คาดหวังของ ชื่อเต็ม : แผนงาน/โครงการด้านสาธารณสุข
E N D
การใช้ค่ากลางในการสร้างแผนงาน/โครงการด้านสาธารณสุข จังหวัดเชียงใหม่ ค่ากลางที่คาดหวัง ดร. ทรงยศ คำชัย งานสุขภาพภาคประชาชน สสจ. เชียงใหม่ ตาราง 11 ช่อง
ค่ากลางฯ ค่ากลางที่คาดหวังของ ชื่อเต็ม : แผนงาน/โครงการด้านสาธารณสุข ความหมาย :กิจกรรมใดๆ ที่ถือปฏิบัติกันอยู่เป็นปกติทั่วไปในพื้นที่ต่างๆ
ค่ากลางฯ <> งานที่กระทรวงสั่งให้ทำ <> ไม่ทำให้บรรลุผลเชิงปริมาณ (ผ่านเกณฑ์ สปสช.) แต่... = งานที่พื้นที่ส่วนใหญ่ (ระดับกลาง) ได้ทำแล้ว = ทำให้บรรลุผลเชิงคุณภาพ (ชุมชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ)
แผนงาน/โครงการ การควบคุมและป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
ค่ากลางที่จังหวัดประกาศแล้วค่ากลางที่จังหวัดประกาศแล้ว งาน 3-5 งาน 1. โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2. โรคไข้เลือดออก 3. อาหารปลอดภัย 4. อนามัยแม่และเด็ก งาน 3-5 งาน งาน 3-5 งาน งาน 3-5 งาน งาน 3-5 งาน งาน 3-5 งาน งาน 3-5 งาน
ประเภทการประเมิน การประเมินศักยภาพชุมชน • การประเมินภายใน – พื้นที่ประเมินกันเอง เพื่อ...นำผลการประเมินไปปรับปรุงงาน • การประเมินภายนอก – คนนอก (คปสอ. หรือ วิทยากรระดับเขตและจังหวัด) เป็นผู้ประเมิน เพื่อ...วัดระดับของการพัฒนา วางแผนสนับสนุน หรือ Benchmarks กับพื้นที่อื่น
การกำหนดค่ากลางของแผนงาน/โครงการ ระดับ 1 2 3 4 5 1. ค่ากลาง แสดงงานสำหรับโครงการ (ก ที่พบปฏิบัติอยู่ทั่วไปในจังหวัด 2. ค่ากลางไม่ใช่มาตรฐานที่ออกโดยกรมวิชาการ 3. หากโครงการ (ก) ที่กำลังประเมินมีงานเปรียบเทียบได้กับค่ากลาง ให้คะแนน = 3 4. หากมีงานมากหรือน้อยกว่าค่ากลาง คะแนนจะเพิ่มขึ้นหรือลดลงตามเกณฑ์ที่จังหวัดกำหนด 5. จังหวัดสามารถกำหนดทิศทางการพัฒนาได้โดยการตั้งเกณฑ์เพื่อผลักดันงานไปในทิศทางที่ต้องการ
การสำรวจพื้นที่ก่อนใช้ค่ากลางการสำรวจพื้นที่ก่อนใช้ค่ากลาง
เกณฑ์การประเมิน เกณฑ์การประเมินรายกิจกรรม • ระดับ1 พื้นที่ทำงานที่เป็นค่ากลางฯ ตามประกาศ1งานหรือไม่ได้ทำ • ระดับ2 พื้นที่งานที่เป็นค่ากลางฯ ตามประกาศระหว่าง1ถึง2งาน • ระดับ3 พื้นที่งานที่เป็นค่ากลางฯ ตามประกาศระหว่าง3ถึง4 งาน หรือทุกงาน
เกณฑ์การประเมิน (ต่อ) เกณฑ์การประเมินภาพรวม • ระดับ 1 เป็นพื้นที่ที่ประเมินรายกิจกรรม แล้วมีอย่างน้อย 1 กิจกรรมที่ได้รับการประเมินเป็นระดับ 1 • ระดับ 2 เป็นพื้นที่ที่ประเมินรายกิจกรรม แล้วมีอย่างน้อย 1 กิจกรรมที่ได้รับการประเมินเป็นระดับ 2 และไม่มีกิจกรรมที่ได้รับการประเมินเป็นระดับ 1 • ระดับ 3 เป็นพื้นที่ที่ประเมินรายกิจกรรม แล้วทั้ง 7 กิจกรรมได้รับการประเมินเป็นระดับ 3
ระดับ4 เป็นพื้นที่ที่ได้รับการประเมินภาพรวมเป็นระดับ 3 รวมทั้งมีงานที่เป็นนวัตกรรมสุขภาพชุมชน ประเมินตนเองส่ง สสจ. เชียงใหม่ และเตรียมจัดตั้งเป็น รน.สช. • ระดับ5 เป็นพื้นที่ที่ได้รับการประเมินภาพรวมเป็นระดับ 4 แล้วเปิดเป็น รน.สช.รวมทั้งมีหลักฐานเชิงประจักษ์ที่พิสูจน์ได้ว่ากลุ่มเป้าหมายของแผนงาน/โครงการดังกล่าวมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้(เกิดกล่องสุดท้ายของ SLM ของแผนงาน/โครงการนั้น) อย่างน้อยร้อยละ10ของกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด หรือเป็นพื้นที่ที่สามารถนำค่ากลางไปสร้างแผนงาน/โครงการที่บูรณาการร่วมกัน เช่น โครงการคัดกรองโรคที่บูรณาการร่วมกันทั้งการคัดกรองเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไข้เลือดออกอาหารปลอดภัย ฯลฯ
DM+HT FS
การเปลี่ยนแปลงของคุณภาพแผนงาน/โครงการการเปลี่ยนแปลงของคุณภาพแผนงาน/โครงการ เมื่อใช้ค่ากลาง จำนวน ยกระดับมาตรฐานวิชาการและสังคม สร้างนวัตกรรมต่อเนื่อง รนสช.ทำงาน พัฒนาโครงการที่ต่ำกว่าค่ากลางขึ้นเท่ากับค่ากลาง สร้าง รนสช. 3 5 1 2 4 3 ระดับ การกระจายของระดับการพัฒนาเมื่อเทียบกับค่ากลาง
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดการพัฒนาหลังจากมีการกำหนด ค่ากลางของจังหวัด
การปรับทิศทางของแผนงานสุขภาพการปรับทิศทางของแผนงานสุขภาพ สู่การพัฒนาพฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมาย
ขั้นตอนของการพัฒนาหลังการกำหนดค่ากลาง นำนำงานกลางเข้าตารางช่วยสร้างแผนงาน/โครงการสำหรับหลายประเด็น จังหวัด อำเภอ ท้องถิ่น/ตำบล
ตารางช่วยสร้างแผนงาน/โครงการที่ครอบคลุมหลายประเด็นพร้อมกัน ประเด็น เบาหวาน/ความดัน ไข้เลือดออก ขยะชุมชน แม่และเด็ก โครงการ(1 ปี) กิจกรรม 1. ใช้ SRM/ ค่ากลาง 2. เฝ้าระวัง/ คัดกรอง 3. ใช้มาตรการสังคม บรรจุงานที่คัดเลือกเป็นค่ากลางลงในช่องต่างๆให้ตรงกับหัวเรื่องจนครบทุกช่อง 4. ปรับปรุงแผนท้องถิ่น/ตำบล 5. เตรียมกลุ่มเป้าหมาย 6. สื่อสาร 7. สนับสนุน แผนงานรายประเด็น(2-4 ปี)
บูรณาการงานของหลายประเด็นเพื่อเสริมพลังและประหยัดทรัพยากรบูรณาการงานของหลายประเด็นเพื่อเสริมพลังและประหยัดทรัพยากร โดยสร้างโครงการรายกิจกรรม (Activity-based Project) 7 โครงการ ประเด็น เบาหวาน/ความดัน ไข้เลือดออก ขยะชุมชน แม่และเด็ก โครงการ(1 ปี) กิจกรรม 1. ใช้ SRM / ค่ากลาง 1 2 3 4 5 6 7 ชุดงานรวม ชุดงานเฉพาะ 2. เฝ้าระวัง / คัดกรอง ชุดงานรวม 3. ใช้มาตรการทางสังคม ชุดงานรวม 4. ปรับปรุงแผนท้องถิ่น/ตำบล ชุดงานรวม 5. เตรียมกลุ่มเป้าหมาย ชุดงานรวม 6. สื่อสาร ชุดงานรวม 7. สนับสนุน ชุดงานรวม แผนงานรายประเด็น(2-4 ปี) เบาหวาน/ความดัน ไข้เลือดออก ขยะชุมชน แม่และเด็ก ฯลฯ
ตัวอย่าง การบูรณาการงานเฝ้าระวังในประเด็นต่างๆ (จัดชุดงานตามสี เว้นสีดำเป็นงานเฉพาะ)
2 1 3 7 ขั้นตอนการสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ 4 7 6 5
7 กิจ-กรรมสำคัญ งานที่ประกาศในค่ากลางจากจังหวัด หรือมาจากช่องที่ 4และ5 สนับ สนุนงานในช่องที่ 5 (จากกล่องต่างๆ ของ SRM) 7 กิจกรรมหลัก ค่ากลางที่จังหวัดประกาศ
ใช้ข้อมูลจากตาราง 11 ช่องสร้างแผนงานที่มีความสัมพันธ์กัน อย่างน้อย 3 แผนงาน
สร้างโครงการด้วย 7 กิจกรรมที่สามารถตอบสนองได้ทุกแผนงาน กลุ่มแผนงาน 7 โครงการที่สร้างเพื่อตอบสนอง ได้ทุกแผนงาน โครงการ
สรุปกระบวนการ ขั้นตอนของการจัดการค่ากลาง