160 likes | 306 Views
รู้จักแพร่ 4 เรื่องสำคัญ. 1. เนื้อที่ 6,768.94 ตาราง กิโลเมตร หรือ 4,086,625 ไร่ พื้นที่ส่วนใหญ่ร้อยละ 80 เป็นภูเขา มีพื้นที่ราบร้อยละ 20. แพร่. 2.ขาดแคลนแหล่งกักเก็บน้ำ ขนาดกลางและขนาดใหญ่. ส่งผลให้เกิด ภัยแล้ง และอุทกภัย. 3.ทรัพยากรป่าไม้เสื่อม โทรม. 4.ประชากร.
E N D
รู้จักแพร่ 4 เรื่องสำคัญ 1. เนื้อที่6,768.94 ตารางกิโลเมตร หรือ4,086,625 ไร่ พื้นที่ส่วนใหญ่ร้อยละ 80 เป็นภูเขา มีพื้นที่ราบร้อยละ 20 แพร่
2.ขาดแคลนแหล่งกักเก็บน้ำ2.ขาดแคลนแหล่งกักเก็บน้ำ ขนาดกลางและขนาดใหญ่ ส่งผลให้เกิด ภัยแล้ง และอุทกภัย
3.ทรัพยากรป่าไม้เสื่อมโทรม3.ทรัพยากรป่าไม้เสื่อมโทรม
4.ประชากร 4.1 ความยากจน (GPP 19,840 ล้านบาท ลำดับ 68 ของประเทศ) 4.2 ขาดความรู้ (มีวัยแรงงานประมาณ 300,000 คน โดยร้อยละ 30 ไม่จบระดับประถมศึกษา)
การพัฒนาผิด ขาดเป้าหมาย และทิศทาง 1. งบและคนไม่ขาด 2. ระบบราชการตัดเสื้อโหล ต้องบูรณาการ 3. ผู้ว่าคิดเองทำเอง ย้ายไปด้วย ให้คนจังหวัดนั้น ร่วมคิด มวลชนร่วมทำ
พัฒนาถูก : การกำหนดจุดยืนทางยุทธศาสตร์ (Positioning) ปาย - ปัว - แป้ อ.เมืองแพร่ ท่องเที่ยวเมืองเก่าที่ยังมี ชีวิตอยู่ (Living City) อ.สอง วรรณกรรมลิลิตพระลอ เมืองแห่งความรัก เก่า + ใหม่ • - รูปแบบและวิธีการประชาสัมพันธ์ • - องค์กร หน่วยงานที่เกี่ยวข้องใน/นอกพื้นที่ • - การปรับภูมิทัศน์ให้เมืองสวย • ยั่งยืนด้วยวิถีชีวิต
ไม้สักดีที่สุดในโลก Teak Valley อ.เด่นชัย R&D ผลิตภัณฑ์ไม้สักครบวงจร อ.สูงเม่น เพิ่มขีดความสามารถในการผลิต/แปรรูป/เพิ่มช่องทางการตลาด ผลิตภัณฑ์ไม้สัก • - สถาปนา Teak Valley • - รวมกลุ่มผู้มีส่วนได้เสีย • กำหนดรูปแบบแนวทางดำเนินงาน • พัฒนาการออกแบบ • ส่งเสริมศิลปเกี่ยวกับไม้
เกษตรคุณภาพสูง/ปลอดสารพิษเกษตรคุณภาพสูง/ปลอดสารพิษ อ.หนองม่วงไข่ พริก (Chili Hub) อ.ร้องกวาง ศูนย์เมล็ดพันธุ์พืชคุณภาพสูง -ปลูกพืชผลทางการเกษตรที่เป็นความต้องการของตลาด เช่น เมล็ดพันธุ์ข้าวคุณภาพสูง พริกโรงงาน -เพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตใช้องค์ความรู้เทคโนโลยี และนวัตกรรมสมัยใหม่
ป่าเศรษฐกิจ อ.ลอง ผ้าตีนจก Bamboo City อ.วังชิ้น ป่า ของป่า สวนป่า • -ตั้ง คทง. • -โซนนิ่งพื้นที่ป่าเหมาะสม • กำหนดชนิดไม้เศรษฐกิจ สายพันธุ์ดี • คัดสรรชุมชน • -ขยายพันธุ์เข้าสู่พื้นที่ปลูก • เชื่อมต่อการผลิตกับตลาด • ขยายผลิตภัณฑ์แปรรูปจากป่า
จุดยืนทางยุทธศาสตร์ (Positioning) จังหวัดแพร่ แพร่: ฐานทรัพยากรป่าไม้ และแหล่งน้ำ : ป่าเศรษฐกิจ : ศูนย์กลางขนส่งสินค้า Green Growth • - แก้ปัญหาภัยแล้ง และน้ำท่วม • รักษาสภาพแวดล้อม แก้ปัญหาไฟป่า • หมอกควัน (โอโซน อันดับ 7 ของไทย) • - พัฒนาและกระจายรายได้จากสินค้าและบริการ ให้เชื่อมโยงกับการท่องเที่ยว และ Positioning ของเมือง - ข้อมูลดาวเทียม - จัดรูปที่ดิน ป่าชุมชน ป่าเศรษฐกิจ ปลูกป่า - ชุมชนบำรุงรักษาป่า - แหล่งท่องเที่ยวธรรมชาติ วัฒนธรรม - พัฒนาผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับธรรมชาติ
Green Growth R&D เกษตร ป่าเศรษฐกิจ OTOP ท่องเที่ยว โครงการจัดตั้งศูนย์วิจัยและพัฒนาอย่างครบวงจรเพื่อเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์สำคัญของจังหวัด งบประมาณจาก ก.วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรให้มีคุณภาพได้มาตรฐาน และมีความปลอดภัยเพื่อพัฒนาสู่เกษตรอินทรีย์ งบประมาณ 44,300,000 บาท โครงการส่งเสริมการปลูกไม้เศรษฐกิจที่มีศักยภาพและไผ่รวมทั้งพืชสมุนไพรระบบวนเกษตรแบบมีส่วนร่วมจังหวัดแพร่ งบประมาณ 60,000,000 บาท โครงการพัฒนาศักยภาพและส่งเสริมการท่องเที่ยวจังหวัดแพร่ งบประมาณ 44,100,000 บาท โครงการมหัศจรรย์ เมืองไม้สัก งบประมาณ 131,200,000 บาท R&D ด้านเกษตร 1. พืช 3 เรื่อง 2. สัตว์ 1 เรื่อง 3. อื่นๆ 6 เรื่อง R&D ด้านไม้เศรษฐกิจ 4 เรื่อง R&D ด้าน OTOP 7 เรื่อง R&D ด้านท่องเที่ยว 2 เรื่อง R&D ด้านอื่นๆ 2 เรื่อง
ทิศทางการพัฒนาจังหวัดแพร่สู่ AEC ด่านแม่สาย 1. โครงการศูนย์กลางขนส่งที่สำคัญ ความสำคัญและศักยภาพ 1. แพร่อยู่ในเส้นทาง North-South Economic Corridor : NSEC และอยู่ในพื้นที่โครงการ Greater Mekong Subregion : GMS 2. แพร่ (อ.เด่นชัย) เป็นที่ตั้งชุมทาง เป็นประตูสู่ภาคเหนือและเชื่อมโยงไปยังจีน ลาว และพม่า (Node of Transportation) 3.กระทรวงคมนาคม ได้ขยายท่าอากาศยานแพร่ รองรับเครื่องบินโบอิ้ง 737-400 คาดว่าจะแล้วเสร็จปี 2558 4. รัฐบาลมีนโยบายสร้างทางรถไฟคู่ขนานสายเด่นชัย-เชียงราย-เชียงของ ระยะทาง 325 กม. ผ่าน แพร่ (เด่นชัย ลำปาง พะเยา เชียงราย ไปเชื่อมลาวกับจีน 5. รัฐบาลมีนโยบายสร้างทางรถไฟความเร็วสูงเส้นทาง กรุงเทพฯ-เชียงใหม่ ระยะทาง 745 กม. ซึ่งผ่านเด่นชัย ข้อเสนอ ด่านห้วยโก๋น (1.) โครงการก่อสร้างศูนย์กลางการขนส่ง รวบรวมและกระจายสินค้าในพื้นที่จุดเชื่อมระหว่างรถไฟคู่ขนานและรถไฟความเร็วสูง ที่อำเภอเด่นชัย (1.1) ก่อสร้างศูนย์รวบรวมและกระจายสินค้า (1.2) จัดตั้งศูนย์บริการร่วม (บริหารจัดการ) (1.3) Shutles Bus ระหว่าง เด่นชัย-เมืองแพร่-ท่าอากาศยานแพร่ (ขนคนและสินค้ามูลค่าสูง) (2.) โครงการก่อสร้างถนนสายหลักให้เป็น 4 ช่องจราจร (เดิมเป็น 2 เลน คอขวด) งบประมาณรวม 4,980 ลบ. ดังนี้ (2.1) เส้นทางเชื่อมน่านผ่านด่านห้วยโก๋นไป สปป.ลาว ทางหลวงหมายเลข 101 อ.ร้องกวาง-อ.เวียงสา–อ.เมืองน่าน ระยะทาง 90 กม. งบประมาณ 1,450 ลบ. และทางเลี่ยงเมือง อ.ร้องกวาง ระยะทาง 6 กม. งปม. 250 ลบ. งบประมาณรวม 1,700 ลบ. (2.2) เส้นทางเชื่อมพะเยา เชียงราย ไปพม่า ลาว และจีน ทางหลวงหมายเลข 103 อ.ร้องกวาง แพร่-อ.งาว ลำปาง ระยะทาง 55 กม. งบประมาณ 1,900 ลบ. (2.3) เส้นทางเชื่อมจังหวัดลำปาง ทางหลวงหมายเลข 101 และทางหลวงหมายเลข 11 อ.เด่นชัย-อ.เมืองลำปาง ระยะทาง 45 กม. งบประมาณ 1,380 ลบ. 2. โครงการพัฒนาลุ่มน้ำยม ความสำคัญและศักยภาพ1.เป็นลุ่มน้ำหลักในภาคเหนือและลุ่มน้ำสาขาสำคัญของเจ้าพระยา มีพื้นที่รับน้ำฝน 23,618 ตร.กม. ครอบคลุม 11 จังหวัด 2. ในแม่น้ำยมยังไม่มีโครงการบริหารจัดการน้ำขนาดใหญ่ เช่น แก่งเสือเต้นแก้ปัญหาการขาดแคลนน้ำ โดยเก็บกักน้ำส่วนเกิน ในฤดูฝนมาใช้ในฤดูแล้ง และป้องกันน้ำท่วม (ควบคุมน้ำท่าในลุ่มน้ำยม 29%) 3. ส่งผลต่อการพัฒนาและอนุรักษ์เมืองเก่าแพร่ เนื่องจาก พื้นที่มีความสัมพันธ์กับระบบน้ำทั้งจากลุ่มน้ำยมและลำน้ำ 16 สาขา ข้อเสนอ (1.) ทางเลือกที่ 1 เขื่อนแก่งเสือเต้นต.สะเอียบ อ.สอง กักเก็บน้ำ 1,175 ล้าน ลบ.ม. งบ 12,972.17 ล้านบาท ผลกระทบพื้นที่ป่า 103,906 ไร่ ที่อยู่อาศัย 857 ครัวเรือน ที่ดินทำกิน 8,941 ไร่ (2.) ทางเลือกที่ 2 เขื่อนแม่น้ำยมตอนบน บ้านดอนชัย ต.สะเอียบกักเก็บน้ำ 166 ล้าน ลบ.ม. งบ 4,956.85 ล้านบาท ผลกระทบพื้นที่ป่า 21,332 ไร่ ที่อยู่อาศัย 378 ครัวเรือน ที่ดินทำกิน 3,438 ไร่ และเขื่อนแม่ยมบ้านอัมพวัน ต.เตาปูน กักเก็บน้ำ 500 ล้าน ลบ.ม. งบ 9,288.47 ล้านบาท ผลกระทบต่อพื้นที่ป่า 39,780 ไร่ ที่อยู่อาศัย 422 ครัวเรือน ที่ดินทำกิน 2,277 ไร่ รวมถึงการพัฒนาสร้างอ่างเก็บน้ำและฝายขนาดต่าง ๆ ในลุ่มน้ำสาขา