250 likes | 472 Views
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย เรื่อง สถิติเบื้องต้น The Development of Computer Multimedia Instruction Package Entitled “Introduction to Statistics”. Presented by. Miss : Sunisa Saiuparad Mr. Yootthaphong Simuang. Topic. สรุปผล. วิธีดำเนินการ. ผลการวิเคราะห์ข้อมูล. 1. 2.
E N D
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย เรื่อง สถิติเบื้องต้น The Development of Computer Multimedia Instruction Package Entitled “Introduction to Statistics” Presented by Miss : SunisaSaiuparad Mr. YootthaphongSimuang
Topic สรุปผล วิธีดำเนินการ ผลการวิเคราะห์ข้อมูล 1 2 4 5 3 บทนำ วัตถุประสงค์
บทนำ • รูปแบบการเรียนการสอนสถิติในปัจจุบันเป็นแบบบรรยาย ซึ่งการเรียนกาสอนในปัจจุบันนี้ • คอมพิวเตอร์ นับว่ามีบทบาทสำคัญ ในรูปแบบของสื่อประสม (Multimedia) คือใช้สื่อ • ร่วมกันมากกว่า 1 ชนิด เช่นตัวอักษร ภาพเคลื่อนไหวเสียงและ วีดิโอ ดังนั้นผู้วิจัยจึงทำ • การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียเรื่อง สถิติเบื้องต้น โดยมีเป้าหมายให้ผู้เรียนได้คิด • คำนึง รับรู้ และไม่เบื่อหน่ายในการเรียน
วัตถุประสงค์ พัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย ศึกษาหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย หาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน วิเคราะห์ความพึงพอใจของผู้เรียนที่เรียนด้วยบทเรียน
วิธีดำเนินการวิจัย (ต่อ) 3.1 ขอบเขตของการวิจัย 3.1.1 ประชากร - นักศึกษาคณะบริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามชั้นปีที่ 1 จำนวน 40 คน ในปีการศึกษา 1/2554 3.1.2 กลุ่มตัวอย่าง- นักศึกษาคณะบริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามชั้นปีที่ 1 จำนวน 40 คน ในปีการศึกษา 1/2554
วิธีดำเนินการวิจัย (ต่อ) 3.1.3 ตัวแปรที่ทำการวิจัย ตัวแปรต้น ได้แก่ บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียเรื่อง สถิติเบื้องต้น ตัวแปรตาม ได้แก่ ประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย เรื่อง สถิติเบื้องต้น ตามเกณฑ์กำหนด 80/80 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
วิธีดำเนินการวิจัย (ต่อ) 3.2 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 1. บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียเรื่อง สถิติเบื้องต้น 2. แบบทดสอบหาประสิทธิภาพ และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3. แบบประเมินคุณภาพด้านเนื้อหาและด้านมัลติมีเดียของบทเรียน 4. แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้เรียนต่อการใช้บทเรียน
วิธีดำเนินการวิจัย (ต่อ) 3.3 การทดลองเพื่อหาประสิทธิภาพของบทเรียนและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3.3.1วิธีการทดสอบกระบวนการหาประสิทธิภาพของบทเรียน 1. นำชุดบทเรียนคอมพิวเตอร์มาทดลองกับกลุ่มตัวอย่างจริง 2.ให้นักศึกษาทำแบบทดสอบก่อนเรียน ก่อนที่จะเข้าไปศึกษาเนื้อหาในบทเรียนคอมพิวเตอร์โดยใช้แบบทดสอบ ภายใต้การควบคุมทางด้านเวลา 3. ให้นักศึกษาทั้งกลุ่ม เรียนจากตัวบทเรียนคอมพิวเตอร์ในเนื้อหาไปพร้อมกัน ภายใต้การควบคุมทางด้านเวลา 4. เมื่อนักศึกษาเรียนจบแต่ละหน่วยการเรียนแล้ว ให้ทำแบบทดสอบระหว่างเรียนแต่ละหน่วยเพื่อใช้ประเมินพฤติกรรมการเรียนรู้ต่อเนื่อง
วิธีดำเนินการวิจัย (ต่อ) 3.3 การทดลองเพื่อหาประสิทธิภาพของบทเรียนและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3.3.1วิธีการทดสอบกระบวนการหาประสิทธิภาพของบทเรียน 5. เมื่อนักศึกษาเรียนจบทุกหน่วยการเรียนแล้ว ให้ทำแบบทดสอบหลังเรียน เพื่อใช้ประเมินพฤติกรรมขั้นสุดท้าย 6. นำคะแนนที่ได้มาเปรียบเทียบค่าคะแนนเฉลี่ยรวมจากการทำแบบทดสอบระหว่างเรียน และแบบทดสอบหลังเรียน 7. ปรับปรุงวิธีการทดลองหาประสิทธิภาพ จากการทดลองแบบกลุ่มย่อยเพื่อนำไปใช้ในการทดลองจริง
วิธีดำเนินการวิจัย (ต่อ) 3.3.2 วิธีดำเนินการทดลองเพื่อหา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน และความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อบทเรียน 1. เข้าพบกลุ่มตัวอย่างเพื่อชี้แจงรายละเอียด และอธิบายถึงวัตถุประสงค์ในการศึกษาครั้งนี้รวมทั้งรายละเอียดต่าง ๆ ในการดำเนินการทดลอง 2. นำชุดบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียเรื่อง สถิติเบื้องต้น ที่ปรับปรุงจนสมบูรณ์ 3.เมื่อเรียนครบทุกหน่วยการเรียนแล้ว ผู้วิจัยให้กลุ่มตัวอย่างทำแบบทดสอบหลังเรียน (Post-test) จากนั้นผู้วิจัยได้แจกแบบประเมินความพึงพอใจให้กลุ่มตัวอย่างทำการประเมินและนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์หาประสิทธิภาพของบทเรียน
วิธีดำเนินการวิจัย (ต่อ) 3.4 การวิเคราะห์ผลและสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ผล สถิติที่ใช้เพื่อหาคุณภาพของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ค่าดัชนีความสอดคล้อง โดยใช้สูตรทางสถิติดังนี้ (1) IOC หมายถึง ดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อคำถามกับลักษณะพฤติกรรมหรือเนื้อหา R หมายถึง ผลรวมของคะแนนการพิจารณาของผู้เชี่ยวชาญ N หมายถึง จำนวนผู้เชี่ยวชาญ
วิธีดำเนินการวิจัย (ต่อ) 3.4.2 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์หาประสิทธิภาพของบทเรียน การวิเคราะห์หาประสิทธิภาพ E1/E2= 80/80 ใช้สูตรทางสถิติดังนี้ E1= ประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ระหว่างเรียน Eli= คือประสิทธิภาพจากการทดสอบระหว่างเรียน ของหน่วย E2= ประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์หลังการเรียนครบ ทุกหน่วย (2) (3) (4)
วิธีดำเนินการวิจัย (ต่อ) 3.4.3 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้ t – test แบบ Dependent (5) โดยที่ t = ค่าที่พิจารณาจาก t – distribution D = ผลต่างระหว่างข้อมูล N = จำนวนข้อมูล
วิธีดำเนินการวิจัย (ต่อ) 3.4.4 สถิติที่ใช้วิเคราะห์หาคุณภาพด้านเนื้อหา ด้านมัลติมีเดียของบทเรียนและ ระดับความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อบทเรียน (6) หมายถึง คะแนนเฉลี่ย หมายถึง ความถี่ หมายถึง ผลรวมทั้งหมดของความถี่คูณคะแนน หมายถึง ผลรวมทั้งหมดของความถี่
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล (ต่อ) 4.1 ผลการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียเรื่อง สถิติเบื้องต้น ตารางที่ 1 : สรุปผลการประเมินคุณภาพโดยผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหา
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล (ต่อ) 4.2 ผลของการสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย ผู้วิจัยได้เลือกใช้โปรแกรม Macromedia Flash 8 เป็นโปรแกรมในการสร้างและจัดการบทเรียน หลังจากนั้นทำการสร้างบทเรียนจนครบตามกรอบเนื้อหา รูปที่1บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย จอภาพแสดงหน้าเริ่มต้น รูปที่ 2 บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย จอภาพแสดงหน่วยการเรียน
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล (ต่อ) 4.3 ผลการประเมินคุณภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย ตารางที่ 2 สรุปผลการประเมินคุณภาพโดยผู้เชี่ยวชาญ ทางด้านมัลติมีเดีย
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล (ต่อ) 4.4 ผลการหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย เรื่อง สถิติเบื้องต้น ตารางที่ 3:แสดงคะแนนระหว่างกระบวนการเรียนและผลการหาประสิทธิภาพ ของบทเรียนในกระบวนการเรียนของแต่ละหน่วยการเรียน
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล (ต่อ) 4.5 ผลการหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย เรื่อง สถิติเบื้องต้น ตารางที่ 4 : แสดงผลการหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย เรื่อง สถิติเบื้องต้นหลังกระบวนการเรียน
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล (ต่อ) 4.6 ผลการหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย เรื่อง สถิติเบื้องต้น ตารางที่ 5: แสดงผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนที่เรียนด้วยบทเรียน คอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย เรื่อง สถิติเบื้องต้น
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล (ต่อ) 4.7 ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย เรื่อง สถิติเบื้องต้น ตารางที่ 6:สรุปผลการประเมินความพึงพอใจของผู้เรียน
สรุปผลการวิจัย - ผลการวิจัยพบว่า บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพ 81.30 /82.45 สูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้ 80/80 - ผลการประเมินคุณภาพของผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาที่มีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.23 อยู่ในเกณฑ์ดี - ผลการประเมินคุณภาพของผู้เชี่ยวชาญด้านมัลติมีเดียที่มีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.06 อยู่ในเกณฑ์ดี - เมื่อนำคะแนนสอบก่อนเรียนและคะแนนสอบหลังเรียนมาวิเคราะห์เพื่อหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนพบว่าคะแนนสอบหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 - ความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.56 ซึ่งอยู่ในระดับของความพึงพอใจมาก
สรุปผลการวิจัย - ผลการวิจัยพบว่า บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพ 81.30 /82.45 สูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้ 80/80 - ผลการประเมินคุณภาพของผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาที่มีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.23 อยู่ในเกณฑ์ดี - ผลการประเมินคุณภาพของผู้เชี่ยวชาญด้านมัลติมีเดียที่มีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.06 อยู่ในเกณฑ์ดี - เมื่อนำคะแนนสอบก่อนเรียนและคะแนนสอบหลังเรียนมาวิเคราะห์เพื่อหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนพบว่าคะแนนสอบหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 - ความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.56 ซึ่งอยู่ในระดับของความพึงพอใจมาก
เอกสารอ้างอิง เอกสารอ้างอิง กิดานันท์มลิทอง, 2543, เทคโนโลยีการศึกษาและนวัตกรรม,ห้างหุ้นส่วนจำกัด อรุณการพิมพ์,หน้า 243 – 253. ล้วน สายยศ และ อังคณา สายยศ, 2538, เทคนิคการวิจัยทางการศึกษา, พิมพ์ครั้งที่ 5, สุวีริยาศาสน์, กรุงเทพฯ, หน้า 73 -211. บุญชม ศรีสะอาด, 2537, การพัฒนาการสอน, สุวีริยาสาส์น, หน้า 50-75. วัลลี สัตยาศัย, 2547, การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลัก, บริษัท บุ๊คเน็ท จำกัด หน้า 2-3. ไพโรจน์ ตีรณธนากุล และคณะ, 2542 , เทคนิคการสร้างบทเรียน คอมพิวเตอร์การสอน, ศูนย์สื่อเสริม กรุงเทพ ฯ, กรุงเทพ ฯ, หน้า 5-125.
เอกสารอ้างอิง (ต่อ) เอกสารอ้างอิง ไพโรจน์ ตีรณธนากุล, ไพบูลย์ เกียรติโกมล, เสกสรร แย้มพินิจ ,2546 การออกแบบและการ ผลิตบทเรียนคอมพิวเตอร์การสอน สำหรับ e- learning , โรงพิมพ์พิมพ์ดี จำกัด, หน้า 158- 171. อังกูร พุทธิเนตร, พิเชษฐ เพียรเจริญ, 2548, การพัฒนาบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิชา425-101อารยธรรม, สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี, หน้า 33-52