190 likes | 468 Views
ACCURACY IN DIAGNOSIS ACUTE APPENDICITIS IN BUDDHACHINNARAJ HOSPITAL. หลักการและเหตุผล.
E N D
ACCURACY IN DIAGNOSIS ACUTE APPENDICITIS IN BUDDHACHINNARAJ HOSPITAL
หลักการและเหตุผล Acute appendicitis เป็นภาวะทางศัลยกรรมที่พบได้บ่อยในกลุ่มผู้ป่วย Acute abdomenซึ่งต้องรักษาด้วยการผ่าตัดและพบว่ามีความยากในการวินิจฉัยได้มากขึ้นเรื่อยๆ ผู้วิจัยจึงศึกษาเพื่อหาเปอร์เซ็นต์ต่างๆที่จะช่วยในการระวังไม่ให้เกิดความผิดพลาดในการวินิจฉัย รวมถึง ศึกษาความถูกต้องของประวัติและการตรวจร่างกายที่ใช้ในการวินิจฉัย
ทบทวนวรรณกรรม *Bochner H ,Et al .anamnesbischer Angaben and Klinischer Befunde fuer dic Diagnosis der akuten ทำการศึกษาแบบ Cohort study จากผู้ป่วย Acute abdomen 1254 ราย เพื่อหาความถูกต้องของอาการและอาการแสดงที่ใช้ในการวินิจฉัย Acute appendicitis พบว่าอาการและอาการแสดงที่มีระดับความเชื่อมั่น 95% ได้แก่ rebound tenderness,tenderness in the RLQ,pain RLQ at presentation, onset of pain RLQ,rigidity,guarding *Bowden T,et al. ทำการศึกษาเปรียบเทียบความถูกต้องในการวินิจฉัย Acute appendicitis ระหว่างวิธีที่ใช้ CTและไม่ใช้ CT พบว่าวิธีที่ใช้ CT มีความถูกต้อง 80% และวิธีที่ใช้ CTมีความถูกต้องมากกว่า 95%
วัตถุประสงค์ • เพื่อศึกษาความถูกต้องในการวินิจฉัย Acute Appendicitis ในโรงพยาบาลพุทธชินราช • เพื่อศึกษาถึงค่าเปอร์เซ็นต์ต่างๆเพื่อช่วยในการเฝ้าระวังและดูแลผู้ป่วยที่มา admit ด้วย Acute abdomen • เพื่อศึกษาความถูกต้องของประวัติและการตรวจร่างกายที่ใช้ในการวินิจฉัย Acute Appendicitis
วิธีวิจัย • ศึกษาแบบ Retrospective descriptive และCase control study • จด H.N. ชื่อผู้ป่วยและ Definitive diagnosis ซึ่งคาดว่ามา admit ด้วยอาการ acute abdomen ตั้งแต่วันที่1เมษายน - 15 มิถุนายน จากสมุดทะเบียนผู้ป่วยของทุกหอผู้ป่วย • ค้นทะเบียนประวัติที่แผนกเวชระเบียนตามชื่อที่บันทึกไว้
มาตรการในการคัดเลือก ผู้ป่วยที่มา admit ด้วย Acute abdomen ทุกคนตามรายชื่อและ H.N.ที่บันทึกมา • มาตรการในการคัดออก ผู้ป่วยที่ refer มาจากโรงพยาบาลและมี Definitive diagnosis , เคยได้รับการผ่าตัดไส้ติ่งมาก่อน , ผู้ป่วยที่รอ interval appendectomies , ผู้ป่วยที่ discharge หลังวันที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2543 , แพทย์นัด , ถึงแก่กรรม
นิยามศัพท์ • Acute abdomen คือ ปวดท้องรุนแรงภายใน 24 ชม. จนต้อง admit • Definitive diagnosis • Final diagnosis • Leukocytosis with neutrophil predominant คือ WBC>11,000 cell/cu.mm และ N > 75%
นิยามศัพท์ • Mild inflammation คือ Normal appendix • Rovsing’s sign positive • Psoas sign positive • Obtulator sign positive
บันทึกรายชื่อจากสมุดทะเบียนผู้ป่วย ได้ 420 ราย ผู้ป่วยที่มาด้วย Acute abdomen 310 ราย คัดออกโดย ผู้ป่วย refer 32 ราย ผู้ป่วยเคยผ่าตัดไส้ติ่ง 9 ราย ผู้ป่วยรอ interval appendectomies 3 ราย แพทย์นัด 19 ราย ถึงแก่กรรม 2 ราย รวมคัดออก 213 ราย คิดเป็น 50.71 % สรุปมีผู้ป่วย 207 ราย ผลการศึกษา Subject
ผู้ป่วย Acute appendicitis คิดเป็น 45.41 % ของผู้ป่วย Acute abdomenกลุ่มอายุที่พบมากคือกลุ่มอายุ 20 - 29 ปี
Accuracy in diagnosis of acute appendicitis Accuracy 90%(85 - 94) sensitivity 83%(75 - 89) specificity 97%(78-100) PPV 99%(93 - 100) NPV57%(47 - 71)
ความถูกต้องในการวินิจฉัยก่อนการผ่าตัด Appendix Accuracy 86 %(78 - 91) Accuracy 86 %(78 - 91) Sensitivity 83%(74 - 89) Specificity 96%(78 - 100) Specificity 96%(78 - 100) PPV 99%(93 - 100) NPV 57 %(37 - 77) NPV 57 %(37 - 77) Ruptured appendicitis 19% (12 - 27) Negative appendectomies 17 % (11 - 25) (95% CI)
ความถูกต้องของอาการและอาการแสดงที่ใช้ในการวินิจฉัยAcute appendicitis *คือ p- value < 0.05
ความถูกต้องของอาการและอาการแสดงที่ใช้ในการวินิจฉัยAcute appendicitis *คือ p- value < 0.05
ความถูกต้องของอาการและอาการแสดงที่ใช้ในการวินิจฉัยAcute appendicitis *คือ p- value < 0.05
อาการและอาการแสดงที่ช่วยในการวินิจฉัย Acute appendicitis
วิจารณ์ 1. ตัดกลุ่มตัวอย่างถึง 50 % ทำให้ค่าสัดส่วนบางค่าคลาดเคลื่อน - Acute appendicitis คิดเป็น 28% - Acute abdomen ที่ต้องได้รับการผ่าตัดคิดเป็น 41 % 2. ข้อมูลที่ได้ไม่ครบถ้วนทำให้จำนวนตัวอย่างไม่เพียงพอในการตอบคำถาม การวิจัยบางข้อและ 95% CI กว้าง 3. ผู้ป่วยที่วินิจฉัยว่าไม่เป็น Acute appendicitis และรักษาโดยการใช้ยาอาจมี บางรายที่ กลับไปแล้วเป็น Acute appendicitis แล้วไปผ่าตัดที่โรงพยาบาลอื่น 4.ข้อมูลที่ได้จากทะเบียนประวัติผู้ป่วยมีไม่ครบ
วิจารณ์ 5. ความหมายของ sign positive ของแพทย์แต่ละคนไม่เหมือนกัน 6. จากผลการวิจัยที่พบว่ามีความถูกต้อง 90.41 % แต่พบ rupture appendix ถึง 18.75 % แสดงว่าแพทย์รออาการผู้ป่วยจนมีอาการชัดเจน THE END