1 / 34

หลักเกณฑ์และขั้นตอน เพื่อการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ โดย รองศาสตราจารย์ ดร.พันธ์ ทองชุมนุม

หลักเกณฑ์และขั้นตอน เพื่อการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ โดย รองศาสตราจารย์ ดร.พันธ์ ทองชุมนุม วันที่ 17 กันยายน 2557. วิธีการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการมี 2 วิธี. 1. วิธีปกติ 2. วิธีพิเศษ. วิธีปกติ. คุณสมบัติของการเข้าสู่ตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์. อายุงานการสอน

Download Presentation

หลักเกณฑ์และขั้นตอน เพื่อการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ โดย รองศาสตราจารย์ ดร.พันธ์ ทองชุมนุม

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. หลักเกณฑ์และขั้นตอน เพื่อการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ โดย รองศาสตราจารย์ ดร.พันธ์ ทองชุมนุม วันที่ 17 กันยายน 2557

  2. วิธีการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการมี 2 วิธี 1. วิธีปกติ 2. วิธีพิเศษ

  3. วิธีปกติ

  4. คุณสมบัติของการเข้าสู่ตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์คุณสมบัติของการเข้าสู่ตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ อายุงานการสอน วุฒิปริญญาตรี 9 ปี วุฒิปริญญาโท 5 ปี วุฒิปริญญาเอก 2 ปี หมายเหตุ กรณีมีความคาบเกี่ยวให้เทียบตามอัตราส่วน และสามารถใช้อายุงานกรณีที่เป็นอาจารย์พิเศษหรืออาจารย์จ้างได้ 100% ทั้งนี้ต้องมีภาระงานสอนไม่น้อยกว่า 1 หน่วยกิต/ภาคเรียน ในระบบทวิภาค

  5. คุณสมบัติของการเข้าสู่ตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์และรองศาสตราจารย์คุณสมบัติของการเข้าสู่ตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์และรองศาสตราจารย์ ภาระงาน 1. มีภาระงานสอนในรายวิชาที่กำหนดไว้ในหลักสูตรระดับอุดมศึกษา ทั้งนี้ต้องมีภาระงานสอนไม่น้อยกว่า 2 หน่วยกิต/ทวิภาคเรียน หรือ ประมาณ 1 หน่วยกิต/ภาคเรียน หรือ 15 คาบ/ภาคเรียน และมี ความชำนาญในการสอนและเสนอเอกสารประกอบการสอนที่ผลิต ขึ้นตามภาระงาน 2. กรณีที่เสนอในรายวิชาที่มีผู้สอนหลายคน ให้เสนอทุกหัวข้อที่ผู้ขอ สอน หมายเหตุ ทั้งกรณีที่ 1 และ 2 เอกสารประกอบการสอนจะต้องผ่านการใช้จริง มีผลการสอนมาแล้ว และต้องผ่านการประเมินจากกรรมการตามข้อบังคับของสถาบัน

  6. ผลงานทางวิชาการที่ขอมีอะไรบ้างผลงานทางวิชาการที่ขอมีอะไรบ้าง

  7. ขั้นตอนการเสนอเรื่องขอตำแหน่งทางวิชาการขั้นตอนการเสนอเรื่องขอตำแหน่งทางวิชาการ

  8. เอกสารและผลงานที่เสนอการขอตำแหน่งเอกสารและผลงานที่เสนอการขอตำแหน่ง • ผู้ช่วยศาสตราจารย์ = ผลงานทางวิชาการ +เอกสารประกอบการสอนที่ผลิตขึ้นตาม ภาระงานสอน เสนอทุกหัวข้อที่สอน + คุณภาพดี + ใช้สอน มาแล้ว + ผ่านการประเมินจากคณะกรรมการพิจารณาตำแหน่ง ทางวิชาการ 2. รองศาสตราจารย์ = ผลงานทางวิชาการ +เอกสารคำสอนที่ผลิตขึ้นตามภาระงานสอน เสนอทุกหัวข้อที่สอน + คุณภาพดี + ใช้สอนมาแล้ว + ผ่านการ ประเมินจากคณะกรรมการพิจารณาตำแหน่งทางวิชาการ

  9. ผลงานทางวิชาการและการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการและการเผยแพร่ “งานวิจัย”

  10. แหล่งการเผยแพร่ผลงานวิจัยแหล่งการเผยแพร่ผลงานวิจัย

  11. เอกสารประกอบการสอน

  12. เอกสารคำสอน

  13. บทความทางวิชาการ

  14. ตำรา

  15. ตำรา

  16. หนังสือ

  17. หนังสือ

  18. ผลงานวิชาการในลักษณะอื่นผลงานวิชาการในลักษณะอื่น

  19. จำนวนชิ้นงานและสัดส่วนจำนวนชิ้นงานและสัดส่วน

  20. สัดส่วนอย่างน้อยของผลงานสัดส่วนอย่างน้อยของผลงาน

  21. การประเมินการสอน

  22. แบบประเมินการสอน

  23. แบบประเมินวิจัย

  24. แบบประเมินบทความ ตำรา หนังสือ

  25. แบบรับทราบชื่อกรรมการประเมินแบบรับทราบชื่อกรรมการประเมิน

  26. ชื่อสาขาที่ขอตำแหน่งทางวิชาการชื่อสาขาที่ขอตำแหน่งทางวิชาการ

  27. ชื่อสาขาที่ขอตำแหน่งทางวิชาการชื่อสาขาที่ขอตำแหน่งทางวิชาการ

  28. การเสนอผู้ประเมินผลงานการเสนอผู้ประเมินผลงาน

  29. ข้อมูลที่น่าสนใจ

  30. ข้อมูลที่น่าสนใจ

  31. ข้อมูลเพิ่มเติม • http://www.personnel.psu.ac.th/per10.html • เอกสารตามที่ส่งให้

More Related