1 / 23

Ajax

Ajax. อ.วชิระ หล่อประดิษฐ์ ระบบสารสนเทศทางคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง. Ajax คืออะไร ?. ย่อมาจาก Asynchronous JavaScript and XML คือ การพัฒนาโปรแกรมโดยใช้ JavaScript, XML และ PHP มาประยุกต์เข้าด้วยกัน

Download Presentation

Ajax

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Ajax อ.วชิระ หล่อประดิษฐ์ ระบบสารสนเทศทางคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง

  2. Ajax คืออะไร? • ย่อมาจาก Asynchronous JavaScript and XML • คือ การพัฒนาโปรแกรมโดยใช้ JavaScript, XML และ PHP มาประยุกต์เข้าด้วยกัน • 1 หน้าเว็บที่ใช้ Ajax จะมี HTML, PHP และ JavaScript (ใช้นามสกุลเป็น .html เป็นส่วนใหญ่) • ทำให้หน้าเว็บเพ็จสามารถทำงานได้รวดเร็วขึ้น

  3. Ajax สามารถทำอะไรได้บ้าง? • เติมข้อความต่อท้ายคำอัตโนมัติ • ระบบแชทบนหน้าเว็บไซต์ • ตอบรับการกรอกข้อมูลโดยไม่ต้องเปิดหน้าเว็บใหม่ • ป็อปอัพขยายรายละเอียดให้เห็นชัดเจนขึ้น • แผนที่ออนไลน์ • แสดงภาพขณะโหลดข้อมูล

  4. Ajax ทำงานร่วมกับ PHP อย่างไร? 2. Ajax ประมวลผล และส่งข้อมูล 3. เว็บเซิร์ฟเวอร์ประมวลผล PHP และเรียกใช้ Database Server 1. ผู้ใช้ร้องขอข้อมูล 6. Ajax รับค่าไป แสดงผล 4. Database Server ดึงข้อมูล 5. Web Server ส่งผลลัพธ์

  5. การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ • OOP ย่อจาก Object Oriented Programming • เป็นรูปแบบการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่ให้ความสำคัญกับ “วัตถุ” ซึ่งสามารถนำมาประกอบกันและนำมาทำงานรวมกันได้ Object Object Object Object

  6. การเปิดและปิดการใช้ JavaScript • รูปแบบ <script language=“javascript”> คำสั่ง JavaScript ตามต้องการ </script> • Example <script language=“javascript”> document.write(‘Hello world’); </script>

  7. คำสั่งพื้นฐานของ Java • การประกาศตัวแปร • รูปแบบ varชื่อตัวแปร = “ค่าของตัวแปร”; • Example var a = “Hello World”; • การแสดงข้อความบนจอภาพ • รูปแบบ document.write(‘ข้อความ’); • Example document.write(‘ทดสอบ’+a);

  8. คำสั่งพื้นฐานของ Java • คำสั่งหน้าต่างแจ้งเตือน • รุปแบบ alert(“ข้อความแจ้งเตือน”); • Example alert(“เกิดข้อผิดพลาด”); • การประกาศตัวแปรแบบ Object • รูปแบบ var ชื่อตัวแปร = new ชื่อออบเจ็กซ์(“ค่าตัวแปร 1,ค่าตัวแปร 2,…”); • Example vara = new date();

  9. คำสั่งพื้นฐานของ Java • ประโยคเงื่อนไข • ตัวอย่าง if(document.getElementById(‘user’).value.length==0) { alert(“กรุณากรอก Username”); } • else if(document.getElementById(‘pass’).value.length==0) { • alert(“กรุณากรอก Password”); } else { • alert(“ระบบจะนำข้อมูลที่กรอกไปตรวจสอบ”); } • ประโยคเงื่อนไข • รูปแบบ if(เงื่อนไข) { ชุดคำสั่ง } else if(เงื่อนไข) { ชุดคำสั่ง } else { ชุดคำสั่ง }

  10. คำสั่งพื้นฐานของ Java • วนซ้ำ • รูปแบบ for(ประกาศตัวแปร; จุดสิ้นสุกการวนซ้ำ; การเปลี่ยนแปลค่าตัวแปร) • Example for(y=1; y<=dimention; y++) { for(x=1;x<=dimention; x++) { varstrRow=document.write(‘(’+x+‘,’+y+‘)’); strOut=strRow; } strOut=document.write(‘<br>’); }

  11. คำสั่งพื้นฐานของ Java • การสร้างฟังก์ชั่นไว้ใช้งาน • รูปแบบ function ชื่อฟังก์ชั่น (พารามิเตอร์1,พารามิเตอร์2,…) { คำสั่ง; การคืนค่าของฟังก์ชั่น (มีหรือไม่ก็ได้); } • Example function ShowCode() { document.write(user); } • การเรียกใช้ฟังก์ชั่น ชื่อฟังก์ชั่น (อาร์กิวเมนต์1,อาร์กิวเมนต์2,...); ShowCode();

  12. ตัวอย่างการใช้ Javascriptซ่อนตาราง <form name="form1" method="post" action=""><table width="100%" border="1" cellpadding="1" cellspacing="1"><tr> <td width="20%" valign="top">ตัวอย่างโดยใช้ Radio<br><input name="cb" type="radio" id="cb" onClick="document.all.tb1.style.display='none';" checked>ซ่อน <input name="cb" type="radio" id="cb1" onClick="document.all.tb1.style.display='';">แสดง</td><td width="86%"><table width="100%" border="1" cellpadding="1" cellspacing="1" id="tb1" style="display='none';"><tr> <td width="19%">XXXX</td><td width="81%"><input type="text" name="textfield"></td></tr><tr><td>XXXX</td><td><input type="text" name="textfield2"></td></tr><tr><td>XXXX</td><td><input type="text" name="textfield3"></td></tr></table>

  13. Ajax Framework • เนื่องจากคำสั่ง Ajax ยาวเกินไป • Ajax Framework ช่วยให้คำสั่งง่ายขึ้น • โดยมีไฟล์รวบรวมฟังก์ชั่นสำเร็จรูปไว้แล้ว • ตัวที่นำมาใช้มากที่สุดคือPrototype โดยรวบรวมคำสั่งเกี่ยวกับฟอร์มและไฟล์เว็บเซิร์ฟเวอร์ไว้ • สามารถdownload ได้จาก http://www.prototypejs.org/download • เมื่อดาวน์โหลดมาแล้ว จะได้ file ชื่อ prototype.js แล้วนำไปไว้ในเว็บของเรา • การเรียกใช้งาน <script src=“ชื่อไฟล์ Ajax framework.js” language=“javascript” type=“text/javascript”> </script>

  14. ฟังก์ชั่น $() • เป็นฟังก์ชั่นย่อของ document.getElementByIdให้สั้นลง • รูปแบบ varตัวแปร = $(“ค่าของ ID”); • ตัวอย่าง var a = $(“name”);

  15. ฟังก์ชั่น getInputs() • การรับค่าจากฟอร์มต่างๆ โดยสามารถรับแบบ Array ได้ • รูปแบบ varชื่อตัวแปรอาร์เรย์ = Form.getInputs(“ค่า id ฟอร์ม”); varชื่อตัวแปร = Form.getInputs(“ค่า id ฟอร์ม”,“ค่า id ของฟอร์มรับข้อมูล”); • ตัวอย่าง var arrays = Form.getInputs(“form1”); var a = Form.getInputs(“form1”,“name”);

  16. ฟังก์ชั่น serialize() • การรับค่าจากฟอร์มต่างๆ โดยสามารถรับแบบตัวแปรเดียว โดยค่าที่ได้จะเป็น id1=ค่าที่1 & id2=ค่าที่2 & idn=ค่าที่n • รูปแบบ varชื่อตัวแปร = Form.serialize(“ค่า id ฟอร์ม”); • ตัวอย่าง var a = Form.serialize(“form1”);

  17. การเรียกใช้งาน Ajax.Updater • เป็นการนำไฟล์อื่นมาแสดงในส่วนที่กำหนดให้ต้องการแสดง • มีรูปแบบคือ function ชื่อฟังก์ชั่น(ตัวแปรส่งค่าไปไฟล์อื่น, ตัวแปรส่งตำแหน่งที่ต้องการแสดงข้อมูล) { varตัวแปรที่ส่งไปไฟล์อื่น = “ชื่อตัวแปร=”+ค่าของตัวแปร; varตัวแปรชื่อไฟล์ = “ชื่อไฟล์”; varชื่อออบเจ็กต์ = new Ajax.Updater(ตัวแปรส่งตำแหน่งที่ต้องการแสดงข้อมูล,ตัวแปรชื่อไฟล์, {method:“วิธีส่งข้อมูล”,parameters:ตัวแปรที่ส่งไปไฟล์อื่น}); } • เช่น function Result(Div) { varparams = Form.serialize("form1"); varurl = "checkuser.php"; varAddnew = new Ajax.Updater(Div, url, {method:"post", parameters:params}); }

  18. ตัวอย่างการใช้ Ajax.Updater • <!DOCTYPE html PUBLIC "-//W3C//DTD XHTML 1.0 Transitional//EN" "http://www.w3.org/TR/xhtml1/DTD/xhtml1-transitional.dtd"> • <html xmlns="http://www.w3.org/1999/xhtml"> • <head> • <meta http-equiv="Content-Type" content="text/html; charset=windows-874" /> • <script src="prototype.js" language="javascript" type="text/javascript"> • </script> • <script language="javascript"> • function Result(Div){ • varparams = Form.serialize("form1"); • varurl = "checkuser.php"; • varAddnew = new Ajax.Updater(Div,url, {method:"post", parameters:params}); • } • </script> • <title>Untitled Document</title> • </head> • <body> • <form id="form1" name="form1" method="post"> • <table width="340" border="0" align="center"> • <tr> • <td width="147">Username</td> • <td width="183"><label> • <input type="text" name="logname" id="logname" /> • </label></td> • </tr> • <tr> • <td>Password</td> • <td><label> • <input type="password" name="pw" id="pw" /> • </label></td> • </tr> • <tr> • <td colspan="2"><label> • <label></label> • <div align="center"> • <input type="checkbox" name="check" id="check" value="on"/> • Login ตลอดไป </div> • <div align="center"> • <input type="submit" name="login" id="login" value="Login" onClick="Result(msg)"/> • </label> • </div></td> • </tr> • </table> • </form> • <div align="center" id="msg"></div> • </body> • </html>

  19. ตัวอย่างการใช้ Ajax.Updater (checkuser.php) • <? • mysql_connect('localhost','root','1234') or die("ติดต่อฐานข้อมูลไม่ได้"); • mysql_select_db('register'); • $sql="select * from member where user='$logname' and pass='$pw'"; • echo $sql; • $dbquery=mysql_query($sql); • $num_rows=mysql_num_rows($dbquery); • if($num_rows==1) • { • if($check=="on") • { • setcookie("logname",$username,time()+3600*24*365); • setcookie("password",$password,time()+3600*24*365); • print "สวัสดีครับ"; • } • else • { • print "สวัสดีครับ"; • } • } • else • { • print "ข้อมูลไม่ถูกต้อง กรุณา Login ใหม่"; • } • ?>

  20. ผลการ Run Program

  21. ตัวอย่าง JQuery List of AJAX Framework

  22. ตัวอย่างการใช้ Jquery (ปฏิทิน) <link rel="stylesheet" type="text/css" href="css/smoothness/jquery-ui-1.7.2.custom.css"> <script type="text/javascript" src="js/jquery-1.3.2.min.js"></script> <script type="text/javascript" src="js/jquery-ui-1.7.2.custom.min.js"></script> <script type="text/javascript"> $(function(){ // แทรกโค้ต jquery $("#dateInput").datepicker(); }); <style type="text/css"> .ui-datepicker{ width:150px; font-family:tahoma; font-size:11px; text-align:center; } </style> </script> <body> <input type="text" name="dateInput" id="dateInput" />   </body> เรียกใช้งาน Datepicker เรียกใช้ JQuery เรียกใช้ CSS ของปฏิทิน ฟังก็ชั่นเรียกใช้ Datepicker กำหนดขนาดของปฏิทิน ไฟล์ตัวอย่าง : http://www.ninenik.com/download/jquery-ui-1.7.2.custom.zip

  23. Question & Answer

More Related