620 likes | 739 Views
สำนักงบประมาณ. สำนักงบประมาณ. www.bb.go.th. งบประมาณจังหวัดและกลุ่มจังหวัด. โดย. นายมนู ประสาทกุล ผู้อำนวยการกลุ่มการจัดการงบประมาณจังหวัดและกลุ่มจังหวัด และการบูรณาการงบประมาณในการบริหารราชการในต่างประเทศ. มีนาคม 2553 สำนักงบประมาณ. ประเด็นการนำเสนอ.
E N D
สำนักงบประมาณ สำนักงบประมาณ www.bb.go.th งบประมาณจังหวัดและกลุ่มจังหวัด โดย นายมนู ประสาทกุล ผู้อำนวยการกลุ่มการจัดการงบประมาณจังหวัดและกลุ่มจังหวัด และการบูรณาการงบประมาณในการบริหารราชการในต่างประเทศ มีนาคม 2553 สำนักงบประมาณ
ประเด็นการนำเสนอ 1. ข้อกฎหมายเกี่ยวกับการงบประมาณจังหวัด/กลุ่มจังหวัด 2. เจตนารมณ์บริหารงานงบประมาณจังหวัด/กลุ่มจังหวัด 3. กระบวนการจัดทำงบประมาณจังหวัด/กลุ่มจังหวัด 4. การบริหารงบประมาณจังหวัด/กลุ่มจังหวัด
ที่มา 1.ข้อกฎหมายเกี่ยวกับการงบประมาณจังหวัด 1. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 • มาตรา 78 (2)กำหนดให้รัฐต้องดำเนินการสนับสนุนให้จังหวัดมีแผนและงบประมาณเพื่อพัฒนาจังหวัด • เพื่อประโยชน์ของประชาชนในพื้นที่ • มาตรา 87(1)กำหนดให้รัฐต้องดำเนินการส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบายและวางแผน พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมทั้งในระดับชาติและระดับท้องถิ่น 2. พรบ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2550 • มาตรา 53/1 กำหนดให้จังหวัดจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กำหนดใน พรฎ. • มาตรา 53/2 กำหนดให้นำหลักเกณฑ์และวิธีการมาใช้บังคับกับการจัดทำแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดโดยอนุโลม • มาตรา 52 วรรคสาม กำหนดให้จังหวัดหรือกลุ่มจังหวัด ยื่นคำขอจัดตั้งงบประมาณได้และให้ถือว่าจังหวัดหรือ กลุ่มจังหวัดเป็นส่วนราชการตามกฎว่าด้วยวิธีการงบประมาณ 3. พรฎ.ว่าด้วยการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ พ.ศ. 2551 • มาตรา 8 (2)กำหนดให้ ก.น.จ. มีอำนาจหน้าที่กำหนดนโยบายหลักเกณฑ์และวิธีการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด • แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด แผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัดการจัดทำและบริหารงบประมาณ • จังหวัดและงบประมาณกลุ่มจังหวัด การจัดทำแผนงบประมาณจังหวัดฯ 3 3
พ.ร.บ.วิธีการงบประมาณ พ.ศ.2502 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แผนการบริหารราชการแผ่นดิน พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2550 ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการจัดทำแผนการบริหารราชการแผ่นดิน พ..ศ.2547 สรุป : ข้อกฎหมายเกี่ยวกับการงบประมาณจังหวัด • กำหนดให้ครม.ต้องจัดทำแผนการบริหารราชการแผ่นดิน เพื่อแสดงมาตรการและรายละเอียดของแนวทางในการปฏิบัติราชการในแต่ละปีของการบริหารราชการแผ่นดิน…[มาตรา 76] • กำหนดให้รัฐสนับสนุนให้จังหวัดมีแผนและงบประมาณเพื่อพัฒนาจังหวัด [มาตรา 78 (2)] รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 • ยุทธศาสตร์เกี่ยวกับการส่งเสริม สนับสนุน การจัดทำแผนพัฒนาและงบประมาณจังหวัด/กลุ่มจังหวัด • จังหวัดมีฐานะเป็นส่วนราชการตามมาตรา 4แห่ง พ.ร.บ.ฯ วิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502 และสามารถยื่นคำขอตั้งงบประมาณต่อสำนักงบประมาณได้เช่นเดียวกับหน่วยงานอื่น ตามหลักเกณฑ์ที่ผู้อำนวยการสำนักงบประมาณกำหนด • ให้จังหวัดหรือกลุ่มจังหวัดยื่นคำขอตั้งงบประมาณได้… ในกรณีนี้ให้ถือว่าจังหวัดหรือกลุ่มจังหวัดเป็นส่วนราชการตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ (มาตรา 52 วรรค 3) • ให้จังหวัดจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดให้สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในระดับชาติ และความต้องการของประชาชนในท้องถิ่นในจังหวัด (มาตรา 53/1) พรฎ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 • ให้ส่วนราชการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี และแผนปฏิบัติราชการประจำปี ซึ่งต้องสอดคล้องกับแผนการบริหารราชการแผ่นดิน และให้เสนอแผนปฏิบัติราชการประจำปีให้รัฐมนตรีให้ความเห็นชอบ (มาตรา 16) • ระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณ พ.ศ. 2548 และแก้ไข พ.ศ.2551 และ พ.ศ.2552 • ระเบียบสำนักนายกฯ ไทยเข้มแข็ง 2555 พ.ศ. 2552 พรฎ. ว่าด้วยการบริหารงานจังหวัดและ กลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ พ.ศ. 2551 • (ข้อ 8) ให้ส่วนราชการจัดทำ 1. แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี ให้เสร็จภายใน 60 วัน นับแต่แผนการบริหารฯ ประกาศในราชกิจจาฯ • 2. แผนปฏิบัติราชการประจำปี เสนอรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบก่อนเสนอคำของบประมาณรายจ่ายประจำปี • ให้จังหวัดจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่ม จังหวัด แผนปฏิบัติราชการประจำปี และคำของบประมาณ ตามนโยบาย หลักเกณฑ์ และวิธีการที่ กนจ.กำหนด และ ให้เสนอให้คณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบ การจัดทำแผนงบประมาณจังหวัดฯ 4
งบตามนโยบายรัฐบาล(Agenda) เช่น งบชายแดนภาคใต้ งบประมาณ จังหวัด(Area) แหล่งเงินงบประมาณภายในจังหวัด งบของหน่วยงาน (Function) ที่ดำเนินการในภูมิภาค งบอุดหนุนขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น
เจตนารมณ์ เจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2550 และ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ พ.ศ. 2551 มีแนวทางการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ ดังนี้ Development Model Governance Model Area-based Approach Collaboration/ Joined-Up Government • ยึดพื้นที่เป็นหลักในการพัฒนาเพื่อกระจายการพัฒนาและลดความเหลื่อมล้ำของความเจริญเติบโตระหว่างพื้นที่ต่างๆ ในประเทศ แบ่งเป็น 18 กลุ่มจังหวัดและ 75 จังหวัด (กลุ่มจังหวัดเน้นยุทธ์ศาสตร์เรื่องการสร้าง competitivenessจังหวัดเน้นยุทธ์ศาสตร์เรื่องพัฒนาสังคม รวมถึงการสร้างโอกาสและอาชีพ) • ต้องการให้แต่ละพื้นที่มี position ในการพัฒนาที่ชัดเจน และผ่านการเห็นชอบร่วมกันทุกฝ่าย เพื่อให้เกิดความยั่งยืนและร่วมมือร่วมใจกัน • การจัดการความสัมพันธ์แนวดิ่งระหว่างส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น • แบ่งหน้าที่กันทำตามแต่ละยุทธ์ศาสตร์ (มาเจรจาและทำข้อตกลงร่วมกัน) • ลดความซ้ำซ้อนของการใช้งบประมาณแผ่นดิน หรือระดมทรัพยากรเข้ามาใช้ร่วมกันให้เกิดประโยชน์สูงสุดในการขับเคลื่อนยุทธ์ศาสตร์ • การจัดการความสัมพันธ์แนวนอนระหว่างภาครัฐและภาคส่วนอื่นในสังคม (ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม) • ประสานการลงทุนภาคเอกชน และเชื่อมโยงเข้ากับแผนชุมชน • กำหนดให้ ผู้ว่าราชการจังหวัด เป็นตัว linkage ฝ่ายต่างๆ เข้าด้วยกัน 6
จังหวัด :จังหวัดตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบ บริหารราชการแผ่นดินไม่รวมกทม. ความหมาย กลุ่มจังหวัด :กลุ่มจังหวัดที่จัดตั้งตาม ม. 26 (ก.น.จ. พิจารณาจัดตั้งกลุ่มจังหวัด เสนอ ครม.เห็นชอบ)
กลุ่มจังหวัด การแบ่งกลุ่มจังหวัด (มติค.ร.ม.เมื่อวันที่ 17 ก.พ.2552)
C ยุทธ์ศาสตร์การพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคกลาง แผนและโครงการจังหวัด/กลุ่มจังหวัดทั้ง 6 กลุ่มในภาคกลางมีความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์การพัฒนาภาคทั้ง 5 ยุทธ์ศาสตร์ และทิศทางการพัฒนากลุ่มจังหวัด ยุทธ์ศาสตร์กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออก ตัวอย่างแผนกลุ่มจังหวัด โครงการสำคัญ • พัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวให้เกิดความหลากหลาย และสนับสนุนซื่งกันและกัน • พัฒนาคุณภาพผลไม้เมืองร้อนรวมถึงการแปรรูปด้านอุตสาหกรรมและระบบพื้นฐานด้านการเกษตร • พัฒนาระบบทรัพยากรฯสวล. โดยเฉพาะระบบทรัพยากรน้ำให้สามารถรองรับทุกภาคส่วน และมีทรัพยากรชายฝั่งที่อุดมสมบูรณ์ • พัฒนาสังคมให้เป็นเมืองน่าอยู่ ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี • การพัฒนาระบบบริหารจัดการร่วมกันภายในกลุ่มจังหวัดให้มีประสิทธิภาพ • ส่งเสริมภาพลักษณ์ สัญลักษณ์ และรายได้จากการท่องเที่ยวกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออก ภายใต้คำว่า “สีสันตะวันออก” • การบริหารจัดการลุ่มน้ำชายฝั่งทะเลตะวันออก วิสัยทัศน์: ดินแดนน่าอยู่ คนมีความรู้ควบคู่คุณธรรม นำการท่องเที่ยว เกี่ยวโยงการค้าต่างประเทศ การเกษตรอินทรีย์ มีผลไม้ชื่อก้องโลก อุตสาหกรรม สิ่งแวดล้อมสะอาด ราษฎร์ รัฐ บริหารจัดการอย่างธรรมาภิบาล 9 กลับ สรุป
NE ยุทธ์ศาสตร์การพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ แผนและโครงการจังหวัด/กลุ่มจังหวัดทั้ง 5 กลุ่มในภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์การพัฒนาภาคทั้ง 4 ยุทธศาสตร์ และทิศทางการพัฒนากลุ่มจังหวัด ตัวอย่างแผนกลุ่มจังหวัด ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง โครงการสำคัญ • การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตข้าวหอมมะลิ อ้อยโรงงานและมันสำปะหลัง • การพัฒนาการแปรรูปเพื่อเพิ่มมูลค่าข้าวหอมมะลิ • การเพิ่มประสิทธิภาพการตลาดข้าวหอมมะลิ • การส่งเสริมและพัฒนา วิสัยทัศน์ :ศูนย์กลางการผลิต การค้า การลงทุน ด้านเกษตรแปรรูปและเกษตรพลังงานอย่างครบวงจร • โครงการขยายเขตชลประทานในพื้นที่ลุ่มน้ำชี เป็นโครงการเชื่อมโยงทั้ง 4 จังหวัด ขยายเขตชลประทาน 19,200 ไร่ มีระบบกระจายน้ำเข้าสู่พื้นที่เพาะปลูก โดยเฉพาะนาข้าว 10 กลับ สรุป
S ยุทธ์ศาสตร์การพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคใต้ แผนและโครงการจังหวัด/กลุ่มจังหวัดทั้ง 3 กลุ่มในภาคใต้มีความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์การพัฒนาภาคทั้ง 5 ยุทธศาสตร์ และทิศทางการพัฒนากลุ่มจังหวัด ทิศทางการพัฒนากลุ่มจังหวัด ตัวอย่างแผนกลุ่มจังหวัด โครงการสำคัญ ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอันดามัน • การพัฒนาสิ่งดึงดูดใจและผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวอันดามันให้เชื่อมโยงและเกื้อหนุนซึ่งกันและกัน(Product/Supply) • การพัฒนาการตลาดการท่องเที่ยวเชิงบูรณาการเพื่อรักษาฐานนักท่องเที่ยวเดิมและเพิ่มปริมาณนักท่องเที่ยวคุณภาพ (Marketing/Demand) • การพัฒนากลไกการจัดการการท่องเที่ยวกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอันดามันร่วมกัน (Product/Supply) • ศึกษาและดำเนินการสร้างมูลค่าเพิ่มจากการท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ของกลุ่มจังหวัด วิสัยทัศน์ : ศูนย์กลางการท่องเที่ยวทางทะเลระดับโลก ประตูเชื่อมโยงเศรษฐกิจระดับโลก 11 กลับ สรุป
N ยุทธ์ศาสตร์การพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคเหนือ แผนและโครงการจังหวัด/กลุ่มจังหวัดทั้ง 4 กลุ่มในภาคเหนือมีความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์การพัฒนาภาคทั้ง 6 ยุทธศาสตร์ และทิศทางการพัฒนากลุ่มจังหวัด ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 โครงการสำคัญ ตัวอย่างแผนกลุ่มจังหวัด • การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำและสิ่งแวดล้อม • พัฒนากระบวนการผลิต การบริหารจัดการ และการตลาดสินค้าเกษตร • พัฒนาเพื่อเป็นศูนย์กลางบริการสี่แยกอินโดจีนแห่งเศรษฐกิจและการท่องเที่ยว • พัฒนาการท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ ประวิติศาสตร์ และวัฒนธรรม • พัฒนาให้เป็นเมืองน่าอยู่ • โครงการพัฒนาการค้าชายแดนช่องภูดู่ อ.บ้านโคก จ.อุตรดิตถ์ (ศก.การค้าชายแดนของกลุ่ม) • โครงการจัดตั้งศูนย์วัฒนธรรมและการท่องเที่ยว กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง วิสัยทัศน์ :ศูนย์กลางการบริการสี่แยกอินโดจีน 12 กลับ สรุป
2. เจตนารมณ์การบริหารงานจังหวัดและ กลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ ๑. เป็นไปตามแผนพัฒนาจังหวัดหรือแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด ๒. สร้างโอกาสและส่งเสริมให้เกิดการมีส่วนร่วมระหว่างภาครัฐ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคเอกชน และภาคประชาชน ๓. กระจายอำนาจการตัดสินใจลงไปสู่ระดับผู้ปฏิบัติ ๔. การส่งเสริมและสนับสนุนให้ท้องถิ่นมีความพร้อมในรองรับ การกระจายอำนาจ ๕. การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
การประชุม : การขับเคลื่อนยุทธ์ศาสตร์จังหวัดและกลุ่มจังหวัดสู่การปฏิบัติ (18-19 ม.ค.53) มิราเคิล แกรนด์ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี ได้กล่าวมอบนโยบาย ‘‘ จังหวัดต้องบังคับตัวเองให้ออกจากกระบวนการงบประมาณปกติ ที่เน้นฟังจากกระทรวง ...ท่านต้องพยายามคิดนอกกรอบ แม้แต่หัวหน้าส่วนราชการในส่วนกลางเอง ผมขอว่าอย่าเอาโครงการที่คิดในส่วนกลาง แต่ไม่มีงบประมาณ ไปเบียดบังงบฯ ตรงนี้ ตรงกันข้าม กระทรวงต่างๆ ต้องคิดว่าในการจัดทำงบฯ ปี 2554 ถ้าจังหวัด/กลุ่มจังหวัดไหนมีโครงการน่าสนใจ ก็ต้องพยายามให้เขาเข้ามาอยู่ในงบประมาณหลัก’’
การประชุม : การขับเคลื่อนยุทธ์ศาสตร์จังหวัดและกลุ่มจังหวัดสู่การปฏิบัติ (18-19 ม.ค.53) มิราเคิล แกรนด์ (ต่อ) นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี ได้กล่าวมอบนโยบาย แผนพัฒนาฯ อยากให้เน้น 4 เรื่องหลัก คือ 1.ความเชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบ้านและภูมิภาค 2. การพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ 3. การพัฒนาอุตสาหกรรมที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม 4. ทิศทางนโยบายเศรษฐกิจแบบพอเพียง
การประชุม : การขับเคลื่อนยุทธ์ศาสตร์จังหวัดและกลุ่มจังหวัดสู่การปฏิบัติ (18-19 ม.ค.53) มิราเคิล แกรนด์ (ต่อ) นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี ได้กล่าวมอบนโยบาย ‘‘ปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 ถือเป็นครั้งแรกที่จะดำเนินการจัดระบบให้เกิดความลงตัว เพื่อจัดทำคำของบประมาณในปี พ.ศ. 2554 ... ต้องสร้างความเข้าใจร่วมกันในเรื่องการบูรณาการระหว่างโครงส่วนกลางกับท้องถิ่น เพื่อเป็นการเติมเต็มและอุดช่องว่างทางการบริหารโครงการที่มาจากส่วนกลางและท้องถิ่น’’
กลไกการจัดทำแผน/โครงการ และเสนองบประมาณจังหวัดฯ ครม. • คณะอนุกรรมการด้านแผน • และด้านงบประมาณ 5 คณะ • มี รอง นรม. และ รมต. ประจำ นร. • เป็นประธาน • รองฯ สุเทพ เทือกสุบรรณ • รองฯ ไตรรงค์ สุวรรณคีรี • รองฯ พลตรี สนั่น ขจรประศาสน์ • รมต. ประจำ นร. สาทิตย์ วงศ์หนองเตย • รมต. ประจำ นร.วีระชัย วีระเมธีกุล • ระดับชาติ รัฐสภา ก.น.จ. เสนอแผนพัฒนาฯ แผนปฏิบัติราชการประจำปีฯ และคำขอตั้งงบประมาณฯ นรม. เป็นประธาน จัดทำร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายฯ ปี 2554เสนอสภาฯ เพื่อพิจารณาอนุมัติฯ คำขอตั้ง งบประมาณฯ สงป. พิจารณาคำขอ และจัดสรรงบประมาณ • ระดับพื้นที่ จัดทำแผนพัฒนาจังหวัด และกลุ่มจังหวัด ก.บ.ก. จัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด ก.บ.จ. จัดทำคำของบประมาณจังหวัดและกลุ่มจังหวัด 17
คณะอนุกรรมการนโยบายการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัด (อ.ก.น.จ.) • องค์ประกอบ • ประธาน • รองนายกรัฐมนตรี หรือ • รมต.ประจำสำนักนายกรัฐมนตรีที่ได้รับ • มอบหมายให้กำกับและติดตามการ • ปฏิบัติราชการในภูมิภาค • กรรมการ • ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 2 คน • ผู้ตรวจราชการสำนักนายกรัฐมนตรี • ประจำเขตตรวจราชการ • ผู้แทนกระทรวงมหาดไทย • ผู้แทนสำนักงาน ก.พ.ร. • กรรมการและเลขานุการ • ผู้แทนสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการ • เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ • ผู้แทนสำนักงบประมาณ • กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ • จนท. สศช. ตามที่เลขาธิการ สศช. กำหนด อำนาจหน้าที่ 1.พิจารณาและกลั่นกรองแผนพัฒนา และแผนปฏิบัติราชการประจำปีของ จังหวัด/กลุ่มจังหวัด และการจัดทำคำขอ งบประมาณจังหวัดและกลุ่มจังหวัด ในพื้นที่ที่ได้รับมอบหมายให้กำกับ และติดตามการปฏิบัติราชการในภูมิภาค 2. ปฏิบัติงานอื่นๆ ตามที่ ก.น.จ. มอบหมาย คณะที่ 6 ดูแลพัฒนาระบบงบประมาณจังหวัด/กลุ่มจังหวัด(กำหนดหลักเกณฑ์ต่างๆ) คณะที่ 1- 5 ดูแลด้านแผนและงบประมาณ(พิจารณาแผน/โครงการ) 18
ก.น.จ. คณะกรรมการบริหารงานกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ ก.บ.ก. ก.บ.จ. กลไกการบริหารงานจังหวัด และกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ ระดับชาติ คณะกรรมการนโยบายการบริหารงานจังหวัดและ กลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ นายกรัฐมนตรี ระดับกลุ่มจังหวัด หัวหน้ากลุ่มจังหวัด ระดับจังหวัด คณะกรรมการ บริหารงานจังหวัด แบบบูรณาการ ผู้ว่าราชการจังหวัด 19
นายกรัฐมนตรี : ประธาน ก.น.จ. องค์ประกอบ กรรมการ • รนม.ทุกคน + รัฐมนตรีซึ่ง นรม.มอบหมายให้กำกับ • และติดตามการปฏิบัติราชการในภูมิภาค กรรมการและ เลขานุการ • รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง เลขาธิการ ก.พ.ร. • รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย • ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี กรรมการและ ผู้ช่วยเลขานุการ • ปลัดกระทรวงมหาดไทย • เลขาธิการนายกรัฐมนตรี • เลขาธิการคณะรัฐมนตรี 1.รองเลขาธิการ ก.พ.ร. 2.ข้าราชการสังกัด กระทรวงมหาดไทย ที่ปลัดกระทรวง มหาดไทยกำหนด • ผู้อำนวยการสำนักงบประมาณ • เลขาธิการ สศช. • นายกสมาคม อบจ. แห่งประเทศไทย • นายกสมาคมสันนิบาตเทศบาลแห่งประเทศไทย • นายกสมาคม อบต. แห่งประเทศไทย งานธุรการ • ประธานกรรมการสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย สำนักงาน ก.พ.ร. รับผิดชอบ • ประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย • ผู้ทรงคุณวุฒิจาก ก.พ.ร. ที่ประธาน ก.พ.ร. กำหนด • ไม่เกิน 3 คน * มีวาระอยู่ในตำแหน่ง คราวละ 3 ปี • ผู้แทนภาคประชาสังคมที่ นรม. แต่งตั้งไม่เกิน 2 คน * 20
ก.บ.ก. องค์ประกอบ ประธาน:หัวหน้ากลุ่มจังหวัด รองประธานกรรมการ ผู้ว่าราชการจังหวัดในกลุ่มจังหวัดทุกจังหวัด กรรมการ • ผู้แทนหัวหน้าส่วนราชการประจำจังหวัดในกลุ่มจังหวัดที่ผู้ว่าราชการ • จังหวัดมอบหมายจังหวัดละไม่เกิน 2 คน* • นายก อบจ.ในกลุ่มจังหวัดทุกจังหวัด • นายกเทศมนตรีในกลุ่มจังหวัด จังหวัดละ 1 คน • นายก อบต.ในกลุ่มจังหวัด จังหวัดละ 1 คน • ผู้แทนภาคประชาสังคม* • ผู้แทนภาคธุรกิจเอกชน กรรมการและเลขานุการ ข้าราชการในสังกัดกระทรวงมหาดไทยที่ปลัดกระทรวงมหาดไทยแต่งตั้ง กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ * มีวาระอยู่ในตำแหน่ง คราวละ 3 ปี หัวหน้าสำนักงานจังหวัดของทุกจังหวัดในกลุ่มจังหวัด 21
ก.บ.จ. องค์ประกอบ ประธาน:ผู้ว่าราชการจังหวัด กรรมการ • รองผู้ว่าราชการจังหวัดทุกคน • ผู้แทนหัวหน้าส่วนราชการที่มีสำนักงานอยู่ในจังหวัด ไม่ว่าจะมีฐานะเป็นราชการส่วนภูมิภาคหรือส่วนกลาง * • ผู้แทนรัฐวิสาหกิจที่ดำเนินกิจการอยู่ในจังหวัด* • ผู้แทนหัวหน้าหน่วยงานอื่นของรัฐที่มีสำนักงาน • อยู่ในจังหวัด* • ผู้แทนผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น* • ผู้แทนภาคประชาสังคม* • ประธานกรรมการหอการค้าจังหวัด • ประธานสภาอุตสาหกรรมจังหวัด กรรมการและเลขานุการ * มีวาระอยู่ในตำแหน่ง คราวละ 3 ปี • หัวหน้าสำนักงานจังหวัด 22
3. กระบวนการจัดการงบประมาณ จังหวัด/กลุ่มจังหวัด ภายใต้ พรฎ. ว่าด้วยการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ พ.ศ. 2551 กนจ.กำหนดนโยบาย หลักเกณฑ์ และวิธีการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด และแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด ( ม.17 และ ม. 27 ) ผู้ตรวจราชการ สำนักนายกฯ และมหาดไทย ติดตามและรายงานผลต่อ กนจ. อย่างน้อย ปีละ 2 ครั้ง • สาระสำคัญของแผนฯ ครอบคลุม • โครงการส่วนราชการ • โครงการองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น • โครงการจังหวัด • โครงการภาคเอกชน จังหวัดรายงานผล การปฏิบัติงาน / การใช้จ่ายเงิน ให้ กนจ. เสนอ ครม. ภายใน 60 วัน หลังสิ้นปีงบประมาณ กบจ. / กบก. จัดทำแผนฯ ( ม.18 และ ม.27) รัฐสภาอนุมัติงบประมาณและเสนอลงพระปรมาภิไธย และประกาศใช้ สำนักงบประมาณแจ้งการจัดสรรงบประมาณให้ผู้ว่าฯ ทราบ ภายใน 30 วัน นับแต่ได้รับแผนปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่าย เงิน ( ม.29 ) ผู้ว่าฯ รับฟังความคิดเห็นเกี่ยวกับแผนฯ และการปรับปรุงแผนฯ ( ม.19 และ ม.27 ) สงป.พิจารณา คำขอและเสนอ ครม.เห็นชอบ ผู้ว่าฯ ส่ง แผนฯ ให้ กนจ. และ คณะรัฐมนตรี เห็นชอบ ( ม.19 และ ม.27 ) ส่วนราชการ และ อปท. แจ้งผลการจัดสรรงบประมาณที่จัดสรรลงพื้นที่ ให้ผู้ว่าฯ ทราบ ภายใน 30 วัน นับแต่ พรบ. ประกาศใช้ จังหวัดบันทึก คำขอตั้งงบประมาณ เข้าระบบ e-budgeting คณะรัฐมนตรี เห็นชอบแผนฯ (ม.25 , ม.36 ) กนจ.ส่งให้สำนักงบประมาณ และ ถือว่าจังหวัดได้ยื่นคำของบประมาณแล้วเฉพาะในส่วนที่เกี่ยวกับงบประมาณของจังหวัด (ม 28)
ความเชื่อมโยงของแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด กับการจัดทำคำของบประมาณ แผนการบริหารราชการแผ่นดิน จังหวัด/ (กลุ่มจังหวัด) กระทรวง/กรม แผนพัฒนาจังหวัด /กลุ่มจังหวัด(ระยะเวลา 4 ปี) แผนปฏิบัติราชการ 4 ปีของส่วนราชการ แผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด แผนปฏิบัติราชการประจำปีของส่วนราชการ รมต.เจ้าสังกัดให้ความเห็นชอบ คำของบประมาณของจังหวัด /กลุ่มจังหวัด คำของบประมาณ ของส่วนราชการ รมต.เจ้าสังกัดให้ความเห็นชอบ e-Budgeting เสนอ กนจ. / ครม. ให้ความเห็นชอบ สำนักงบประมาณ • เสนอ ครม.ให้ความเห็นชอบ • รัฐสภาให้ความเห็นชอบ พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจำปี 24
ขอบเขตของแผนพัฒนาจังหวัดและแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดขอบเขตของแผนพัฒนาจังหวัดและแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด แผนพัฒนาจังหวัด เป็นแผนที่มุ่งการพัฒนาจังหวัดแบบ องค์รวมที่ครอบคลุมทุกมิติในด้านเศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากร ธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมและความมั่นคง เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต สร้างโอกาสและอาชีพ ซึ่งตอบสนองต่อความต้องการของประชาชนในจังหวัด แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด เป็นแผนที่มุ่งเน้นการพัฒนาด้านเศรษฐกิจ และสังคม เพื่อเพิ่มขีดความสามารถ ในการแข่งขันของกลุ่มจังหวัด และนำไปสู่ การกระตุ้นให้เกิดการลงทุนของภาคเอกชน และสร้างรายได้ให้กลุ่มจังหวัด
แนวทางการพิจารณาแผนพัฒนาจังหวัด แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด แผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด และ แผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัดกลุ่มจังหวัด • คุณภาพของแผนพัฒนาจังหวัด และแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด - แสดงทิศทางการพัฒนาที่ชัดเจน - ผ่านกระบวนการเห็นชอบจาก ทุกฝ่าย • ความสอดคล้องเชื่อมโยง ระหว่างแผนพัฒนา กับ แผนปฏิบัติราชการประจำปี
แนวทางการพิจารณาคุณภาพแผน/โครงการของจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแนวทางการพิจารณาคุณภาพแผน/โครงการของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด มีความสอดคล้องกับนโยบายเร่งด่วนของรัฐบาลที่มุ่งให้เกิดการสร้างงาน สร้างรายได้ให้ประชาชน เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ รวมทั้งสอดคล้องกับแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550-2554) และกรอบยุทธ์ศาสตร์การพัฒนาภาค ตามมติ ครม. เมื่อ 6 พ.ค. 2551 ความสอดคล้องเชื่อมโยงของแผน ให้ได้คุณภาพตามเกณฑ์ที่กำหนด มีความครบถ้วนสมบูรณ์ที่จะใช้เป็นกรอบทิศทางการพัฒนาในระยะ 4 ปี (2553-2556) สำหรับการจัดทำแผนปฏิบัติราชการฯ ปี 2554 คุณภาพแผน • แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด • เน้นการบูรณาการในการวางแผนร่วมกัน ทำให้มีจุดเน้นในการพัฒนาที่นำไปสู่การเพิ่มขีดความสามารถ ในการแข่งขัน • สะท้อนผลการวิเคราะห์ศักยภาพและโอกาสการพัฒนาเชิงกลุ่มพื้นที่ แผนพัฒนา กลุ่มจังหวัด(2553-2556) แผนปฏิบัติ ราชการประจำปี พ.ศ. 2554 แผนพัฒนา จังหวัด(2553-2556) แผนปฏิบัติ ราชการประจำปี พ.ศ. 2554 • แผนพัฒนาจังหวัด • เน้นการวิเคราะห์ความเชื่อมโยงของปัญหา ศักยภาพ และโอกาส ที่นำไปสู่การจัดทำแผนงานโครงการต่างๆ • มีการบูรณาการภารกิจร่วมของหน่วยงาน
แนวทางจัดทำแผนและโครงการของจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแนวทางจัดทำแผนและโครงการของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด แนวทางการจัดทำโครงการ ของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด คุณภาพของแผน ความสอดคล้องเชื่อมโยง • ผ่านกระบวนการเห็นชอบร่วมกันของทุกฝ่าย • มึความชัดเจน เป็นเหตุเป็นผล สอดคล้อง • เชื่อมโยงตั้งแต่ • กับกรอบหลักในการจัดทำ • แผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด • อาทิ นโยบายรัฐบาล แผนชาติ • กรอบยุทธศาสตร์การพัฒนาภาค • ฯลฯ • กับศักยภาพ โอกาส สภาพปัญหา • และความต้องการของประชาชน • ในพื้นที่ วิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย กลยุทธ์ แผนงาน/โครงการ
หลักเกณฑ์และแนวทางจัดทำโครงการของจังหวัดและกลุ่มจังหวัดหลักเกณฑ์และแนวทางจัดทำโครงการของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด ลักษณะโครงการที่จะจัดทำเป็นคำของบประมาณของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด • การกระตุ้นเศรษฐกิจ สร้างโอกาส เพิ่มรายได้ • ลดภาระค่าครองชีพ • ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง อาทิ เกษตรทฤษฎีใหม่ • การพัฒนาเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ • (Creative Economy)อาทิ การใช้ภูมิปัญญา • ท้องถิ่นมาสร้างมูลค่าเพิ่ม การพัฒนาและ • ฟื้นฟูต่อยอดแหล่งเรียนรู้ทางวัฒนธรรม • การพัฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อ • สร้างรายได้ • การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในพื้นที่เฉพาะ/ • พื้นที่พิเศษ อาทิ การค้าชายแดน อาหารฮาลาล • การพัฒนาการเกษตร อุตสาหกรรม และบริการ • เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ และเป้าหมายของแผน และนโยบายของรัฐบาล ที่เน้นหนักเกี่ยวกับ • ลักษณะโครงการต้องไม่มีวัตถุประสงค์หลัก ดังนี้ • จัดซื้อครุภัณฑ์ • ศึกษาฝึกอบรม ดูงาน ศึกษาวิจัย (เว้นแต่ฝึกอบรม • ด้านอาชีพ และวิจัยเพื่อแก้ไขปัญหาที่สำคัญ • ของพื้นที่) • ไม่เป็นโครงการในลักษณะของกิจกรรมย่อย
หลักเกณฑ์และแนวทางจัดทำโครงการของจังหวัดและกลุ่มจังหวัดหลักเกณฑ์และแนวทางจัดทำโครงการของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด ลักษณะโครงการที่จะจัดทำเป็นคำของบประมาณของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด • ช่วยพัฒนาหรือแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น • หากไม่ดำเนินการจะเกิดความเสียหาย • เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน นำไปสู่ • การกระตุ้นให้เกิดการลงทุนของภาคเอกชน • และสร้างรายได้ให้จังหวัด/กลุ่มจังหวัด ความจำเป็นของโครงการ • ด้านเทคนิค(วิธีการหรือรูปแบบที่ใช้ในการดำเนินการ) • ด้านกายภาพ(ความพร้อมของพื้นที่ บุคลากร • การบริหารความเสี่ยง การบริหารจัดการ) • ด้านงบประมาณ(ความสมเหตุสมผลของวงเงิน • กับประโยชน์ที่ได้จากการดำเนินโครงการ) • ด้านระยะเวลา(เสร็จภายในปีงบประมาณ ,มีการวิเคราะห์ • ผลกระทบทางลบ) ความเหมาะสมและ ความเป็นไปได้ ของโครงการ ความคุ้มค่า • ผลลัพธ์หรือประโยชน์ของโครงการ • ที่คาดว่าจะได้รับ
หลักเกณฑ์จัดสรรกรอบวงเงินและโครงการพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัดหลักเกณฑ์จัดสรรกรอบวงเงินและโครงการพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด กรอบวงเงิน :คำนึงถึงความเป็นธรรมและความเหมาะสมตาม ความจำเป็นในเชิงนโยบาย : ตัวแปร ได้แก่ • จัดสรรเฉลี่ยเท่ากันทุกจังหวัด ร้อยละ 30 • จัดสรรตามจำนวนประชากรของแต่ละจังหวัด ร้อยละ 20 • จัดสรรตามความผกผันของรายได้ต่อครัวเรือน ร้อยละ 30 • จัดสรรตามผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (Gross Provincial Products :GPP) ร้อยละ 10 • จัดสรรตามคุณภาพแผน ร้อยละ 10
โครงสร้างงบประมาณจังหวัดและกลุ่มจังหวัดโครงสร้างงบประมาณจังหวัดและกลุ่มจังหวัด แผนพัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัด แผนปฏิบัติราชการประจำปี แผนงานบริหารจังหวัดและกลุ่มจังหวัด เป้าหมายการให้บริการจังหวัด /กลุ่มจังหวัด กลยุทธ์ที่ 1 กลยุทธ์ที่ 2 กลยุทธ์ที่ 3 กลยุทธ์ที่ 4 กลยุทธ์ที่ 5 การปรับปรุงโครงสร้างเศรษฐกิจพื้นฐานเพื่อยกระดับรายได้ พัฒนาการค้า การท่องเที่ยวและบริการของจังหวัด การพัฒนาระบบสารสนเทศและการบริหารจัดการ การเสริมสร้างคุณภาพชีวิต สร้างความมั่นคงของประชาชน ตลอดจนการบำรุงศาสนา และส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม การอนุรักษ์ ป้องกัน และควบคุมการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างเหมาะสม การป้องกัน ปราบปราม และสร้างระบบการรักษาความมั่นคงของประเทศ ผลผลิตที่ 1 ผลผลิตที่ 2 ผลผลิตที่ 3 ผลผลิตที่ 4 ผลผลิตที่ 5 การพัฒนาด้านเศรษฐกิจ การบริหารจัดการ การบริหารจัดการด้านทรัพยากรธรรม ชาติและสิ่งแวดล้อม การรักษาความมั่นคงและความสงบ การพัฒนาด้านสังคม กิจกรรม กิจกรรม กิจกรรม กิจกรรม กิจกรรม อนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน พัฒนาคุณภาพชีวิต ป้องกันและปราบปรามการกระทำผิดกฎหมาย พัฒนาระบบบริหารจัดการ พัฒนาการท่องเที่ยวและบริการ สร้างความมั่นคงของชีวิตและสังคม พัฒนาระบบสารสนเทศ ป้องกันและบรรเทา สาธารณภัย เสริมสร้างระบบการรักษาความมั่นคงของประเทศ พัฒนาตลาด การค้าและการลงทุน ทำนุบำรุง ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ควบคุมมลพิษ อนุรักษ์พัฒนาและใช้ประโยชน์จาก ความหลากหลายทางชีวภาพ สร้างโอกาสเพิ่มรายได้ 32
การบริหารงบประมาณจังหวัดและกลุ่มจังหวัด การบริหารงบประมาณจังหวัดและกลุ่มจังหวัด 4. ระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณ พ.ศ. 2548 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2551 33
วงจรการงบประมาณ การจัดเตรียม/การจัดทำงบประมาณ การอนุมัติงบประมาณ การควบคุม/ติดตามประเมินผล การบริหารงบประมาณ 34
กระบวนการงบประมาณแผ่นดิน(Budget Process) • การจัดทำงบประมาณ • ส่วนราชการผู้ใช้งบประมาณและสงป. วิเคราะห์คำขอฯ ทำเป็นร่างพรบ.เสนอต่อ นรม. เพื่อเสนอครม. เสนอต่อรัฐสภา • การอนุมัติงบประมาณ • รัฐสภา พิจารณาอนุมัติก่อนทูลเกล้าและประกาศในราชกิจจานุเบกษา
กระบวนการงบประมาณแผ่นดิน(Budget Process) (ต่อ) • การบริหารงบประมาณ • เมื่อพรบ. ประกาศใช้ ส่วนราชการผู้ใช้งบประมาณและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ต้องปฏิบัติให้เป็นไปตาม กม. ระเบียบและวิธีการที่กำหนด • การควบคุมและตรวจสอบการใช้งบประมาณ • ตรวจสอบการใช้จ่ายเงินให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์และเป้าหมาย
ปฏิทินปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 (เบื้องต้น) 26-27 พค.53 สภาผู้แทนฯ พิจารณา ในวาระที่ 1 18-19 ส.ค.53 สภาผู้แทนฯ พิจารณาในวาระที่ 2-3 6 ก.ย. 53 วุฒิสภาเห็นชอบ ร่าง พรบ. ปี54 กระทรวงการคลัง สงป. สศช. และธนาคารแห่งประเทศไทย ร่วมทบทวนประมาณการรายได้ กำหนดวงเงิน งปม. การทบทวนต.ค.-ธ.ค.52 การอนุมัติมิ.ย.-ก.ย.53 กระบวนการจัดทำงบประมาณ การวางแผนม.ค. - ก.พ.53 การจัดทำก.พ.-พ.ค.53 2 6 ม.ค. 53 ครม.เห็นชอบนโยบาย วงเงินงบประมาณ 27 เม.ย. 53 ครม. เห็นชอบ การปรับปรุง งปม. 2 ก.พ. 53 -26มีค.53 สงป. ทำรายละเอียดเสนอครม. 30 มี.ค. 53 ครม. เห็นชอบ รายละเอียด งปม.พร้อมหลักเกณฑ์ปรับปรุงฯ งปม. 37
1. การจัดทำงบประมาณ 1.1 แจ้งส่วนราชการฯ จัดทำงบประมาณประจำปี(ตามปฏิทินงบประมาณ) 1.2 กำหนดนโยบายงบประมาณประจำปี กระทรวงการคลัง ธนาคารแห่งประเทศไทย สภาพัฒน์ฯ สำนักงบประมาณ 1.3 จัดทำขอตั้ง งปม. ของส่วนราชการฯ ตามนโยบายที่รัฐมนตรีเจ้าสังกัดเห็นชอบ
1. การจัดทำงบประมาณ(ต่อ) 1.4 พิจารณาคำขอตั้ง งปม. ของสงป. สงป. พิจารณาคำขอ จัดทำเป็นข้อเสนอ งปม.ประจำปี เสนอผ่าน นรม. เพื่อครม. พิจารณาอนุมัติวงเงินและรายละเอียด งปม.รายจ่าย 1.5 เสนอ งปม.ประจำปี ต่อสภาผู้แทนราษฎร จัดทำร่าง พรบ.งปม.รายจ่ายประจำปีฯ และเอกสารงบประมาณนำเสนอ ครม.พิจารณาให้ความเห็นชอบ และนำเสนอ สภาผู้แทนราษฎร
2. การอนุมัติงบประมาณ 2.1 การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร (ภายใน 105 วัน) วาระที่ 1 พิจารณารับหลักการหรือไม่รับหลักการ (ถ้าไม่รับหลักการ ร่างพรบ.ฯ ตกไปรัฐบาลมีทางเลือก 2 ทางคือ ยุบสภาหรือลาออก) วาระที่ 2 พิจารณาในขั้นรายละเอียด วาระที่ 3 พิจารณาเพื่อลงมติว่าจะเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบกับร่าง พรบ. (ถ้าสภาผู้แทนฯ ไม่เห็นด้วย ร่างพรบ.ฯ ตกไป หากเห็นด้วยให้นำเสนอวุฒิสภาต่อไป)
2. การอนุมัติงบประมาณ (ต่อ) 2.2 การพิจารณาของวุฒิสภา • ต้องให้ความเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบภายใน 20 วัน ถ้าพ้นกำหนดเวลาถือว่าเห็นชอบ • เมื่อวุฒิสภาเห็นชอบ ถือว่าร่าง พรบ. ได้รับความเห็นชอบจากรัฐสภา ให้นำทูลเกล้าถวาย ประกาศในราชกิจจานุเบกษา บังคับใช้เป็น กฎหมาย • กรณีไม่เห็นชอบ ให้ส่งคืนไปยังสภาผู้แทนฯ ถ้ายืนยันร่างเดิมด้วยเสียงมากกว่ากึ่งหนึ่ง ให้ถือได้รับความเห็นชอบจากสภาแล้ว
3. การบริหารงบประมาณ 3.1 ส่วนราชการผู้ใช้งบประมาณ • ส่งแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายฯภายใน 15 วัน หลังพรบ. บังคับใช้ • ห้ามส่วนราชการ ก่อหนี้ผูกพันก่อนได้รับเงินประจำงวด 3.2 สำนักงบประมาณ • ดูแลการใช้จ่าย งปม. ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์และเป้าหมาย ตามที่กำหนดไว้ใน พรบ. • อนุมัติเงินประจำงวด/โอนเปลี่ยนแปลงนอกเหนืออำนาจหัวหน้าส่วนราชการ/อนุมัติการจัดสรรงบกลาง
ประกาศ คณะกรรมการนโยบายการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ เรื่อง การกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติในการบริหารงบประมาณจังหวัด และงบประมาณกลุ่มจังหวัด ข้อ ๑ การบริหารงบประมาณรายจ่ายของจังหวัดและกลุ่มจังหวัดให้เป็นไปตามระเบียบเกี่ยวกับ การบริหารงบประมาณ ที่ออกตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ ข้อ ๒ การเบิกจ่ายเงินงบประมาณของกลุ่มจังหวัดให้ดำเนินการ ดังนี้ (๑) โครงการที่ดำเนินการในเขตพื้นที่จังหวัดใด ให้กลุ่มจังหวัดเจ้าของงบประมาณมอบหมาย ให้จังหวัดนั้นในฐานะที่เป็นส่วนราชการตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณเป็นผู้เบิกเงินในนาม กลุ่มจังหวัดซึ่งเป็นส่วนราชการเจ้าของงบประมาณ (๒) โครงการที่ดำเนินการในเขตพื้นที่คาบเกี่ยวกันตั้งแต่สองจังหวัดขึ้นไป ให้กลุ่มจังหวัด เจ้าของงบประมาณมอบหมายให้จังหวัดซึ่งเป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัดในฐานะที่เป็นส่วนราชการ ตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณนั้นเป็นผู้เบิกเงินในนามกลุ่มจังหวัดซึ่งเป็นส่วนราชการเจ้าของ งบประมาณ การดำเนินการตามวรรคหนึ่งให้ถือปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่กระทรวงการคลังกำหนด
การบริหารงบฯ สำหรับส่วนราชการ / จังหวัดกลุ่มจังหวัด • ส่วนราชการฯ รับผิดชอบรายละเอียด/ รูปแบบ/ การจัดซื้อจัดจ้างให้เป็นไปตามรายการที่ได้รับจัดสรรงบฯ กรณีเกิดการผิดพลาดในข้อความและไม่ผิดวัตถุประสงค์ของการ ใช้จ่าย ให้หัวหน้าส่วนราชการฯ แก้ไขรายการได้ (ระเบียบข้อ 17) * • กรอบหลักการใน การโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณฯ • (ระเบียบข้อ18 แก้ไข เพิ่มเติมฉบับที่ 3 ข้อ10) • เพื่อแก้ไขปัญหาในการดำเนินงาน • เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการ • เพื่อเพิ่มคุณภาพการให้บริการ โดยต้องคำนึงถึง • ประโยชน์ของประชาชน • ความประหยัด • ความคุ้มค่า • ความโปร่งใส กรณีเปลี่ยนแปลงรายละเอียดของรายการที่ได้รับจัดสรรโดยไม่เพิ่มวงเงิน ไม่เป็นรายการผูกพันฯ และไม่กระทบต่อสาระสำคัญของรายการ 44
หัวหน้าส่วนราชการฯ สามารถโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณฯ ได้ตามกรอบดังกล่าวใน 3 ลักษณะ คือ ลักษณะที่ 1 การโอนเปลี่ยนแปลงระหว่างงบรายจ่าย และระหว่างผลผลิต/ (ระเบียบข้อ 24)*โครงการ ภายใต้แผนงบประมาณเดียวกันหัวหน้าส่วนราชการฯ สามารถโอนเปลี่ยนแปลงได้ด้วยตนเอง ยกเว้น : (1) ต้องไม่เป็นรายการก่อหนี้ผูกพันข้ามปีงบประมาณ (2) ต้องไม่เป็นการกำหนดอัตราข้าราชการใหม่ (3) ต้องไม่เป็นค่าเดินทางไปต่างประเทศ ที่ไม่ได้กำหนดไว้ ในแผนฯ (4) ค่าครุภัณฑ์ ราคาต่อหน่วยเกินกว่า 1 ล้านบาท (5) ค่าสิ่งก่อสร้าง ราคาต่อหน่วยเกินกว่า 10 ล้านบาท 45
ลักษณะที่ 2 การโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณฯ ที่เหลือจ่ายภายใต้แผนงบประ (ระเบียบข้อ 25)*เดียวกัน ต้องเป็นงบฯ เหลือจ่ายจากการบรรลุเป้าหมายตามวัตถุ ประสงค์แล้ว หัวหน้าส่วนราชการฯ สามารถโอนเงินเหลือจ่าย ดังกล่าวไปใช้จ่ายในรายการภายใต้ แผนงบประมาณเดียวกันได้ ด้วยตนเอง ยกเว้น : (1) ต้องไม่เป็นรายการค่าที่ดิน (2) ต้องไม่เป็นรายการก่อหนี้ผูกพันข้ามปีงบประมาณ (3) ต้องไม่มีหนี้สาธารณูปโภค/ ค่าใช้จ่ายที่ผูกพันตาม กฎหมายค้างชำระ ลักษณะที่ 3 การโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณฯ ไปเพิ่มวงเงินค่าครุภัณฑ์และ (ระเบียบข้อ26)*สิ่งก่อสร้าง ภายใต้แผนงบประมาณเดียวกัน เนื่องจากได้ดำเนินการจัดหาแล้วเกินวงเงินที่ได้รับ ทั้งนี้วงเงินส่วนเกินดังกล่าวต้องไม่เกิน 10% ของวงเงินงบประมาณ หัวหน้าส่วนราชการฯ สามารถโอนเงิน จากงบรายจ่ายใดๆ หรือนำเงินนอกงบประมาณมาสมทบเพิ่มเติมได้ ทั้งนี้ ให้หัวหน้าส่วนราชการฯรายงานการโอนเปลี่ยนแปลง ต่อ สงป. ไม่เกิน 15 วัน ตามแบบ สงป. กำหนด (ข้อ 28 ระเบียบบริหารฯ 48) 46
ขอบเขตบังคับใช้ของระเบียบฯขอบเขตบังคับใช้ของระเบียบฯ :การโอนเปลี่ยนแปลงรายการ นอกเหนือจากนี้ให้ทำความตกลงกับ สำนักงบประมาณ (ระเบียบข้อ 27 *) :ระเบียบนี้ใช้บังคับ สำหรับ (1) ส่วนราชการ ตามนัยมาตรา 4 พ.ร.บ. วิธีการงบประมาณฯ (2) รัฐวิสาหกิจ :ขอบเขตของระเบียบนี้ไม่ครอบคลุมการบริหารงบฯ ของ (1) รัฐวิสาหกิจที่ไม่ได้รับจัดสรรงบประมาณรายจ่าย (2) หน่วยงานบริหารราชการส่วนท้องถิ่น (อบจ. อบต. เทศบาล และอื่นๆ) (3) หน่วยงานอิสระตามรัฐธรรมนูญ กรณีที่มีกฎ ระเบียบของตนเอง 47
สาระสำคัญโดยสรุป ของระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2551 :เพื่อประโยชน์ในการบริหารงบประมาณรายจ่ายของจังหวัด ผู้ว่าราชการจังหวัด อาจมอบอำนาจเกี่ยวกับการใช้จ่ายงบประมาณให้แก่หัวหน้าหน่วยงานภายในจังหวัด*ที่ต้องปฏิบัติงานตามแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณก็ได้ : ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายของจังหวัด มีหน้าที่ควบคุมกำกับดูแลการใช้จ่ายงบประมาณของหัวหน้าหน่วยงานภายในจังหวัด ให้เป็นไปโดยสอดคล้องกับแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณตามแผนพัฒนาจังหวัด เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ในการให้บริการสาธารณะภายในจังหวัด * หัวหน้าหน่วยงานภายในจังหวัด หมายถึง หัวหน้าหน่วยงานของส่วนราชการซึ่งเป็น ราชการบริหารส่วนภูมิภาค (ระดับจังหวัดหรืออำเภอ) ที่อยู่ในความควบคุมบังคับบัญชาของผู้ว่าราชการจังหวัด 48
4. การควบคุมงบประมาณ 4.1 ส่วนราชการผู้ใช้งบประมาณ • รายงานผลการการปฏิบัติงานและผลการใช้จ่ายฯ ตามวิธีการและแบบที่สำนักงบประมาณกำหนด 4.2 สำนักงบประมาณ • ติดตามประเมินผลฯ เป็นไปตามวัตถุประสงค์ เป้าหมาย คุ้มค่าต่อการลงทุนหรือไม่ 4.3 กรมบัญชีกลาง • กำหนดวิธีการเบิกจ่ายเงิน ตรวจและอนุมัติฎีกา การกันเงินไว้เบิกเหลื่อมปี การนำเงินส่งหรือฝากคลัง การตรวจสอบภายใน 4.4 สำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน • ตรวจสอบงบประมาณหลังจากที่มีการใช้จ่ายงบประมาณแล้ว เป็นการตรวจหลังจ่าย(Post Audit)ตรวจสอบรายงานการรับจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน
4. การควบคุมงบประมาณ (ต่อ) ข้อระเบียบเกี่ยวกับการรายงานผล/ประเมินผล • รายงานผลการการปฏิบัติงานและผลการใช้จ่ายฯ เมื่อสิ้นเวลาในแต่ละไตรมาสภายในสิบห้าวันนับแต่วันสิ้นไตรมาส • ส่งรายงานประจำปีที่แสดงถึงความสำเร็จของส่วนราชการฯ ภายในหกสิบวันนับแต่วันสิ้นปีงบประมาณ (กรณีไม่จัดส่งโดยไม่มีเหตุอันควร ให้แสดงเหตุผลความจำเป็นต่อผอ.สงป.) • สงป. จะรายงานผลต่อ นรม. ในกรณีที่ส่วนราชการฯ ไม่ปฏิบัติการหรือไม่อาจปฏิบัติการให้เป็นไปตามแผนฯ • สงป.จะรายงานผลฯ ให้แก่คณะรัฐมนตรีและใช้ผลการปฏิบัติงานและผลการใช้จ่าย ประกอบการจัดทำงบประมาณปีต่อไปด้วย