1.19k likes | 1.5k Views
การประเมินผลตามหลักสูตรการศึกษา ขั้นพื้นฐานโดยอิงมาตรฐานการเรียนรู้ และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ. นายไตรรงค์ เจนการ. นำเสนอโดย. สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. กระทรวงศึกษาธิการ ถ.ราชดำเนิน เขตดุสิต 10300 โทร 02-282-9712 ต่อ 709.
E N D
การประเมินผลตามหลักสูตรการศึกษาการประเมินผลตามหลักสูตรการศึกษา ขั้นพื้นฐานโดยอิงมาตรฐานการเรียนรู้ และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ นายไตรรงค์ เจนการ นำเสนอโดย สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ถ.ราชดำเนิน เขตดุสิต 10300 โทร 02-282-9712 ต่อ 709 http://academic.obec.go.th
Standards Assessment • สถานศึกษา • เขตพื้นที่การศึกษา • ประเทศ (NT)
ข้อกำหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะคุณภาพที่ข้อกำหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะคุณภาพที่ พึงประสงค์ของผู้เรียนที่ต้องการให้เกิด ผู้เรียนควรเกิดการเรียนรู้อะไร ทำอะไรได้และมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ใด เมื่อจบในแต่ละช่วงชั้น มาตรฐานการเรียนรู้ ข้อกำหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะคุณภาพที่ พึงประสงค์ของผู้เรียนที่ต้องการให้เกิด ผู้เรียนควรเกิดการเรียนรู้อะไร ทำอะไรได้และมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ใด เมื่อจบในแต่ละช่วงชั้น จบการศึกษาขั้นพื้นฐาน
คุณลักษณะที่สำคัญของมาตรฐานที่ดีคุณลักษณะที่สำคัญของมาตรฐานที่ดี 1. มาตรฐานที่ต้องมุ่งเน้นวิชาการ (academics) 2. มาตรฐานต้องอยู่บนพื้นแกนกลางสาขาวิชา (core disciplines) 3. มาตรฐานต้องมีเพียงพอเฉพาะเจาะจง เชื่อมั่นได้ต่อการพัฒนาหลักสูตรแกนกลาง (core carriculum) 4. มาตรฐานต้องสามารถควบคุมบังคับให้อยู่ในเวลาที่กำหนดได้ (constrains of time) 5. มาตรฐานต้องอยู่ในภาวการณ์แข่งขันและอยู่ในระดับโลก(rigorous and world-class) 6. มาตรฐานต้องสามารถประเมินได้โดยจากปฏิบัติ (valueate performance) 7. มาตรฐานต้องประกอบด้วยหลายด้านหลายมิติของการปฏิบัติ หรือหลายระดับความสามารถ (multiple performance) 8. มาตรฐานต้องหลอมรวมองค์ความรู้และทักษะต่าง ๆ เข้าด้วยกัน (knowledge and skills)(dicate) 9. มาตรฐานต้องไม่บงการบังคับ สื่ออะไร,การเรียนการสอนว่าต้องทำอย่างไร 10. มาตรฐานต้องเขียนสื่อความให้ชัดเจน (clearly) Matthew Gandal,1995.
มฐ. ป.1-3 ป.4-6 ม.1-3 ม.4-6 คณิตศาสตร์ 19 35 43 44 33 155 ภาษาไทย 6 17 17 17 18 69 วิทยาศาสตร์ 13 33 38 55 41 167 สังคมฯ 12 38 39 40 41 158 การงานฯ 6 18 29 28 31 106 สุขศึกษา 6 22 29 29 28 108 ศิลปะ6 24 24 24 24 96 ภาษา ต่างประเทศ 8 22 24 27 28 101 รวม76 209 243 264 244 960 11.48 9.87 11.36 12.29 800-2400 1000-3000
ตัวอย่างมาตรฐานการเรียนรู้ตัวอย่างมาตรฐานการเรียนรู้ ว.2.2 : ป.4-6 2.2.1 สังเกต สำรวจ ตรวจสอบ อภิปราย และอธิบาย เกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติ ในท้องถิ่น ผลของการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อม โดยธรรมชาติและโดยมนุษย์ แสดงแนวคิดและร่วมปฏิบัติในการดูแลรักษา ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ท.2.1: ป.4-6 2.1.1 สามารถเขียนเรียงความ ย่อความชี้แจงการปฏิบัติงาน การรายงาน เขียน จดหมาย สื่อสารได้เหมาะสมกับโอกาสและจุดประสงค์ เขียนเรื่องราว จากจินตนาการหรือเรื่องราวที่สัมพันธ์กับชีวิตจริง รวมทั้งใช้กระบวน การเขียนพัฒนางานเขียน ง.4.2: ป.4-6 4.2.7 ใช้คอมพิวเตอร์ในการค้นหาข้อมูลและความรู้จากแหล่งข้อมูล 4.2.10 ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงานจากจินตนาการหรืองานที่ทำให้ชีวิตประจำวัน อย่างมีจิตสำนึกและมีความรับผิดชอบ
กลุ่มสาระวิทยาศาตร์ ช่วงชั้นที่ 2 สาระที่ 2 ว.2.2 : ป.4-6 ว.2.2.1 สังเกต สำรวจ ตรวจสอบ อภิปราย และอธิบาย เกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น ผลของการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมโดยธรรมชาติและโดยมนุษย์ แสดงแนวคิดและร่วมปฏิบัติในการดูแลรักษา ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กลุ่มสาระการงานฯ ช่วงชั้นที่ 2 สาระที่ 4 ง.4.2: ป.4-6 ง.4.2.7 ใช้คอมพิวเตอร์ในการค้นหาข้อมูลและความรู้จากแหล่งข้อมูล ง.4.2.10 ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงานจากจินตนาการหรืองานที่ทำให้ชีวิตประจำวันอย่างมีจิตสำนึกและมีความรับผิดชอบ
กลุ่มสาระภาษาไทย ช่วงชั้นที่ 3 สาระที่ 3การฟัง การดู และการพูด • ท 3.1.2 สามารถพูดนำเสนอความรู้ ความคิด การวิเคราะห์และการประเมินเรื่องราวต่างๆพูดเชิญชวน อวยพรและพูดในโอกาสต่างๆได้อย่างเหมาะสม มีเหตุผล ใช้ภาษาถูกต้อง ชัดเจนตามหลักการพูด มีมารยาท การฟัง การดู และการพูด
กลุ่มสาระภาษาไทย ช่วงชั้นที่ 3 สาระที่ 3การฟัง การดู และการพูด ท3.3.1 เข้าใจถ้อยคำ เนื้อเรื่อง ประเด็นสำคัญ น้ำเสียง กิริยา ท่าทาง จุดประสงค์ ของผู้พูด และสามารถตีความข้อความที่ฟังได้ ท 3.3.2. วิเคราะห์ แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณค่าของสิ่งที่ฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ ท 3.3.3. สามารถเล่าประสบการณ์ รายงาน พูดแสดงความรู้ ความคิดในที่ประชุมอย่างมีเหตุผล สร้างสรรค์ และมีมารยาท
กลุ่มการงานฯ ช่วงชั้น 4 (ม 4 – 6) สาระที่ 4 เทคโนโลยีสารสนเทศ • ง.4.1.2 เข้าใจองค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ • ง 4.1.10 ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการประมวลผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
กลุ่มการงานฯ ช่วงชั้น 4 (ม 4 – 6) สาระที่ 4 เทคโนโลยีสารสนเทศ ง.4.3.3. เข้าใจองค์ประกอบหลักการทำงานข้อกำหนดของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง และเลือกใช้ฮาร์ดแวร์ซอฟต์แวร์ให้เหมาะสมกับงาน
กลุ่มการงานฯ ช่วงชั้น 4 (ม 4 – 6) สาระที่ 4 เทคโนโลยีสารสนเทศ • ง.4.4.4. เข้าใจระบบสื่อสาร ข้อมูลเครือข่าย คอมพิวเตอร์และติดต่อสื่อสารค้นหาข้อมูลความรู้ผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์อย่างมีประสิทธิภาพ
มาตรฐานการเรียนรู้ระดับชาติมาตรฐานการเรียนรู้ระดับชาติ (กรอบหลักสูตรระดับชาติ) กรอบหลักสูตรท้องถิ่น/ เขตพื้นที่การศึกษา (ถ้ามี) การบรลุมาตรฐาน * วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา * หน่วยการเรียนรู้ การเรียนการสอนในชั้นเรียน
กระบวนการที่ใช้อยู่ในปัจจุบันกระบวนการที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน ๑ ๒ มาตรฐานช่วงชั้น สาระการเรียนรู้ช่วงชั้น ๑ มาตรฐานช่วงชั้น ๓ ๔ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง รายปี/ รายภาค สาระการเรียนรู้ รายปี/ รายภาค ๒ หน่วยการเรียนรู้ ๕ คำอธิบายรายวิชา (Harris & Carr, 1996; Glatthorn et al. 1998, Solomon P., 1998 ) ๖ หน่วยการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ ๗ แผนการเรียนรู้
กระบวนการที่ใช้อยู่ในปัจจุบันกระบวนการที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน ๑ ๒ มาตรฐานช่วงชั้น สาระการเรียนรู้ช่วงชั้น ๑ มาตรฐานช่วงชั้น ๓ ๔ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง รายปี/ รายภาค สาระการเรียนรู้ รายปี/ รายภาค ๒ หน่วยการเรียนรู้ ๕ คำอธิบายรายวิชา คำอธิบายรายวิชา (Harris & Carr, 1996; Glatthorn et al. 1998, Solomon P., 1998 ) ๖ หน่วยการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ ๗ แผนการเรียนรู้
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร • กำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย • กำหนดโครงสร้าง • จัดทำคำอธิบายรายวิชา • หลักเกณฑ์การใช้หลักสูตร • เวลาเรียน(กี่ภาค กี่ปี ปีละกี่ภาค...) • หน่วยน้ำหนัก/หน่วยกิต • วิชาพื้นฐาน, วิชาเพิ่มเติม(บังคับ,เลือกเสรี) • การประเมินผลการเรียน • เกณฑ์การจบหลักสูตร/ผ่านช่วงชั้น
พื้นฐานนก. ชม. 1) ภาษาไทย ( 4 – 6) (160 – 240) 2) คณิตศาสตร์ (4 – 6) (160 – 240) 3) วิทยาศาสตร์ ( 4 – 6) (160 – 240) 4) สังคม ฯ (4 – 6) (160 – 240) 5) ภาษาอังกฤษ ( 4 – 6) (160 – 240)(20 – 30)(800 – 1200)นก. ชม. 6) สุขศึกษา ฯ(3 – 4) (120 – 160) 7) ศิลปะ(3 – 4) (120 - 160) 8) การงาน ฯ(3 – 4) (120 – 160) (9 - 12) (360 - 480) เพิ่มเติม 9) บังคับ นก. ชม. (46 – 33) (1840 – 1320) 10) เลือกเสรี (3,000 – 3,000) กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน(12 - 44)(480) ชม. = 3,480 โครงสร้างหลักสูตรช่วงชั้นที่ 4( มากกว่า 75 หน่วยกิต , 75 x 40 = 3,000) (29 – 42) (1160 –1680)
คำอธิบายรายวิชา • ชื่อ------ • เวลาเรียน------- น้ำหนัก/หน่วยกิต------ • มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น • สาระการเรียนรู้
รายวิชาP. 32. • ชื่อ------ เวลาเรียน------- น้ำหนัก/หน่วยกิต------ • มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น • สาระการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ • มาตรฐานการเรียนรู้ • สาระการเรียนรู้ • จำนวนเวลา
คำอธิบายรายวิชา รหัส…………………… วิชา…………………………….. 120 ชม. 3 หน่วยกิต ค 1.1.3 เปรียบเทียบจำนวนนับและศูนย์ได้ ค 3.1.1 บอกชนิดของรูปเรขาคณิตหนึ่งมิติ สองมิติ และสามมิติที่กำหนดให้ได้ ค 4.1.1 บอกแบบรูปและความสัมพันธ์ที่กำหนดให้ได้ ค 5.1.2 จำแนกและจัดประเภทตามลักษณะของข้อมูลและนำเสนอได้ ค 6.1.1 ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหาได้ ค 6.1.2 ใช้ความรู้ทางคณิตศาสตร์ แก้ปัญหาในสถานการณ์จริงได้
๘) ความต้องการของรายวิชา ๘) ความต้องการของรายวิชา ภายหลังจากจบการเรียนการสอนรายวิชานี้ผู้เรียนจะต้อง (๑) แสดงให้เห็นถึงความเข้าใจในวิธีการที่แตกต่างของการนำเสนอเกี่ยวกับจำนวน และ การนำจำนวนไปใช้ในโลกแห่งความเป็นจริง MA.A.๑.๔.๑ MA.A.๑.๔.๒ (๒) แสดงให้เห็นถึงความเข้าใจเกี่ยวกับระบบจำนวน MA.A.๒.๔.๒ (๓) ใช้การประมาณค่าในการแก้ปัญหาและการคิดคำนวณ MA.A.๔.๔.๑ (๔) วัดปริมาณในโลกแห่งความเป็นจริงและใช้การวัดในการแก้ปัญหาต่างๆ MA.B.๑.๔.๑ MA.B.๑.๔.๒ MA.B.๑.๔.๓ (๕) ใช้วิธีการทางสถิติลงความเห็นและอ้างเหตุผลที่เชื่อถือได้ของสภานการณ์ ต่างๆ ในโลกแห่งความเป็นจริง MA.B.๓.๔.๑
การนำหลักสูตรไปใช้จริงๆการนำหลักสูตรไปใช้จริงๆ
คำอธิบายรายวิชา มาตรฐานช่วงชั้น ๑, ๒, ๓ หน่วยการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานช่วงชั้น ๑......... ๒........ มาตรฐานช่วงชั้น ๓......... แผนการเรียนรู้ แผนการเรียนรู้ แผนการเรียนรู้
คำอธิบายรายวิชา รหัส…………………………… วิชา…………………………….. 120 ชม. 3 หน่วยกิต ม.ฐ. 1 สาระ ม.ฐ. 2 สาระ ม.ฐ. 3 สาระ ม.ฐ. 4 สาระ ม.ฐ. 5 สาระ ม.ฐ. 6 สาระ 1 2 3 4 5 6 160 120 240 280 200 SUM : Unit แผน 1 แผน 2 แผน 3 แผน 4 280 50 40 60 50 80 5 ชม. 4 ชม. 6 ชม. 5 ชม. 5 ชม.. หน่วย 3 SUM : COURSE หน่วย 1 หน่วย 2 หน่วย 4 ม.ฐ. 1 ม.ฐ.2 สาระ ม.ฐ. 2 ม.ฐ. 3 สาระ ม.ฐ. 4 ม.ฐ.5 สาระ ม.ฐ. 5 ม.ฐ.6 สาระ 1000 30 ชม.. 20 ชม.. 25 ชม. 25 ชม.. 20 ชม.
24 12 16 28 20 ม.ฐ. 2 ม.ฐ. 3 สาระ ม.ฐ. 4 ม.ฐ.5 สาระ ม.ฐ. 5 ม.ฐ.6 สาระ ม.ฐ. 1 ม.ฐ.2 สาระ 100 30 ชม.. 20 ชม.. 25 ชม. 25 ชม.. 20 ชม.
หน่วย 1 280 ม.ฐ. 1 ม.ฐ.2 สาระ 25 ชม. SUM : Unit 80 5 ชม.. แผน 1 แผน 2 แผน 3 แผน 4 50 40 60 50 5 ชม. 4 ชม. 6 ชม. 5 ชม.
Outcome มาตรฐาน โรงเรียน
หน่วยการเรียนรู้ การเรียนการสอนในชั้น และร่องรอยหลักฐานการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ ชิ้นงานและการปฏิบัติงาน ของนักเรียน การประเมิน ความสนใจของผู้เรียน ประเด็นปัญหาในท้องถิ่น
หน่วยการเรียนรู้ • มาตรฐานการเรียนรู้ • 1). ว.2.2.1……………………….. • 2) ง..4.2.10.……………………….. • หลักฐาน ร่องรอยผลการเรียนรู้ • 1)……………………….. • 2).……………………….. • แนวทางการให้คะแนน เพื่อการประเมิน ( Rubrics ) • 1. เกณฑ์ ( Criteria ) • 2. ระดับน้ำหนักของคะแนน ( Scales ) • 3. คำอธิบาย คุณภาพของงาน ( Performance Description ) • 4. ตัวอย่าง ผลงาน • กิจกรรมการเรียนการสอน • 1)……………………….. (แผนการจัดการเรียนรู้ 1 ) • 2).……………………….. ( แผนการจัดการเรียนรู้ 2 )
ชั้น รายวิชา ชื่อหน่วย เวลาเรียนโดยประมาณ ช.ม จุดประสงค์หลัก ผู้ดำเนินการ *ปัญหาดำรงชีวิต *ปัญหา *คำถาม มาตรฐานการเรียนรู้เป้าหมาย *ระดับการยอมรับทางวิชาการ *เนื้อหาสาระหลัก 1 ชุดคำถามที่สำคัญ (Essential Questions) ผลงาน/การปฏิบัติขั้นสุดยอด (ร่องรอย,หลักฐานการเรียนรู้) 2 แนวการให้คะแนน (Scoring Guide) องค์ความรู้ ทักษะหรือกระบวนการต่างๆ กิจกรรมการเรียนการสอนและการประเมิน 3 แนวการให้คะแนน (Scoring Guide) แหล่งการเรียนรู้ที่สำคัญและจำเป็น
การประเมินผล • การประเมินผลระหว่างการเรียนการสอน • การประเมินผลรวบยอด
นิยามศัพท์ Measurement Evaluation * summative evaluation *formative evaluation Assessment *diagnostic assessment *formative assessment *summative assessment
1. เป้าหมายของการประเมินผล นำผลการประเมินผลไปพัฒนา นำผลการประเมินไปตัดสินผล
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ • เป็นกระบวนการใช้พัฒนาคุณภาพผู้เรียน • ช่วยให้ได้ข้อมูลสารสนเทศ แสดงถึงการ • พัฒนาการความก้าวหน้า ความสำเร็จทางการ • เรียนของผู้เรียน • เป็นข้อมูลที่มีผลต่อการส่งเสริมผู้เรียนเกิด • การพัฒนา และเรียนรู้อย่างเต็มตามศักยภาพ
สถานศึกษา • ต้องจัดทำเกณฑ์และแนวปฏิบัติ • การวัดและประเมินผลการเรียน • เพื่อถือปฏิบัติร่วมกัน และเป็นไป • ในมาตรฐานเดียวกัน
การวัดและประเมินผลระดับชั้นเรียนการวัดและประเมินผลระดับชั้นเรียน • <> จุดหมายสำคัญ มุ่งหาคำตอบว่า ผู้เรียนมีความก้าวหน้าทางด้านความรู้ ทักษะกระบวนการ คุณธรรม ค่านิยม อันพึงประสงค์หรือไม่/เพียงใด • การวัดและประเมินผล ต้องใช้วิธีการ ที่หลากหลาย
การประเมินผลระดับสถานศึกษาการประเมินผลระดับสถานศึกษา • O ประเมินเพื่อตรวจสอบความก้าวหน้า • ด้านการเรียนรู้เป็น เรียนรู้เป็นรายปี และ • ช่วงชั้น • O สถานศึกษานำข้อมูลการประเมินไปใช้ • เป็นแนวทางปรับปรุงพัฒนาการเรียน • การสอนคุณภาพผู้เรียนให้เป็นไปตาม • มาตรฐานการเรียนรู้
การประเมินผลระดับสถานศึกษาการประเมินผลระดับสถานศึกษา • O นำผลการประเมินรายช่วงชั้นไปพิจารณา • ตัดสินการเลื่อนช่วงชั้น • O สถานศึกษาต้องจัดให้มีการเรียนการสอน • ซ่อมเสริม และจัดให้มีการประเมินผล • การเรียนรู้ ในกรณีผู้เรียน ไม่ผ่าน • มาตรฐานการเรียนรู้ของกลุ่มสาระต่าง ๆ
เกณฑ์การผ่านช่วงชั้น(1, 2, 3) [4] • 1. เรียนรู้ทั้ง 8 กลุ่มสาระและได้รับ • การตัดสินผลการเรียน (ได้น้ำหนัก/ • หน่วยกิตครบตามหลักสูตร) • 2. ต้องผ่านการประเมินการอ่าน • คิดวิเคราะห์และเขียน
เกณฑ์การผ่านช่วงชั้น (1, 2, 3) [4] • 3. ต้องผ่านการประเมินคุณลักษณะอันพึง • ประสงค์ • 4. ต้องเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน และ • ผ่านการประเมิน • * ทุกข้อ : ตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด • - จบ ม.3 ถือว่าจบการศึกษาภาคบังคับ • - จบ ม. 6 ถือว่าจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน
2. อะไรที่ต้องประเมิน มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น 8 กลุ่มสาระ การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
การประเมินผล 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ • รายวิชาที่มีมาตรฐานการเรียนรู้ • หน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน • แผนการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้( Kentucky Department of Education 1998) ระดับชั้น.......... รายชื่อวิชา.............. ชื่อหน่วย........... เวลาเรียน............... มาตรฐานการเรียนรู้เป้าหมาย ระดับการยอมรับได้ทางวิชาการ เนื้อหาสาระหลัก
หน่วยการเรียนรู้ • ชุดคำถามที่สำคัญ • ผลงาน/ การปฎิบัติงานขั้นสุดยอด(หลักฐานของการเรียนรู้)+ (ประกอบด้วยแนวทางการให้คะแนน)