1 / 80

การจัดการความรู้ของสาขาวิชา

การจัดการความรู้ของสาขาวิชา. ยืน ภู่วรวรรณ yuen@ku.ac.th รองอธิการบดีฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. หัวข้อที่จะบรรยาย. นิยามสังคมไซเบอร์ สังคมดิจิตอล สังคมฐานความรู้ การปฏิวัติทางดิจิตอล แรงกดดันทำให้การเปลี่ยนแปลงสู่สังคมฐานความรู้

adie
Download Presentation

การจัดการความรู้ของสาขาวิชา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การจัดการความรู้ของสาขาวิชาการจัดการความรู้ของสาขาวิชา ยืน ภู่วรวรรณ yuen@ku.ac.th รองอธิการบดีฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

  2. หัวข้อที่จะบรรยาย • นิยามสังคมไซเบอร์ สังคมดิจิตอล สังคมฐานความรู้ • การปฏิวัติทางดิจิตอล • แรงกดดันทำให้การเปลี่ยนแปลงสู่สังคมฐานความรู้ • พื้นฐานและนิยามความรู้สารสนเทศและการใช้งาน • เทคโนโลยีเครือข่ายที่มีพัฒนาการเร็วมีแรงกดดันต่อการดำเนินงานในสังคมฐานความรู้ • กระบวนทัศน์และยุทธศาสตร์การใช้ความรู้และการเข้าถึงความรู้ในสังคมฐานความรู้ • ตัวอย่างดำเนินงานในจัดการความรู้ของสาขาวิชา • อนาคต

  3. คำนิยามสังคมไซเบอร์ สังคมดิจิตอล สังคมฐานความรู้

  4. คำนิยามเกี่ยวกับสังคมไซเบอร์คำนิยามเกี่ยวกับสังคมไซเบอร์ โลกใหม่ที่มีเทคโนโลยีเป็นฐาน • ไม่มีระยะทาง เวลา และ สถานที่ • การเชื่อมโยงกับ personal security เปลี่ยนไป • นิรนามจะหายไป แต่ปรากฏในรูปแบบใหม่แบบเสมือนจริง • โลกแห่งจินตนาการ อยู่หลังจอสี่เหลี่ยม และบนเครือข่าย • ดำเนินกิจกรรมบนพื้นฐานการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร • ขึ้นกับปัญญาและความรอบรู้มากขึ้น • เกี่ยวโยงกับคุณธรรมและจริยธรรมแบบใหม่ • ทุกคนกำลังเข้าไปเกี่ยวข้องด้วยอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้

  5. การแบ่งระดับกริดที่รองรับสังคมการแบ่งระดับกริดที่รองรับสังคม สังคม บริการ การคำนวณ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ โครงสร้างพื้นฐาน

  6. สังคมไซเบอร์สเปซ

  7. การปฏิวัติทางดิจิตอล

  8. การปฏิวัติทางดิจิตอล • การปฏิวัติทางดิจิตอลได้เกิดขึ้นแล้ว • การแพร่กระจายการใช้ไอซีทีเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว • ในปี 2005 มีผู้ใช้อินเทอร์เน็ตทั่วโลกกว่าพันล้านคน • มีการจดชื่อโดเมนไปแล้วกว่า 350 ล้าน ชื่อ • ประเทศไทยมีผู้ใช้กว่า 7 ล้านคน และเพิ่มขึ้นมากทุกปี • ยังไม่เห็นขีดจำกัดการเติบโตของแนวโน้มเทคโนโลยี • การเติบโตยังเป็นไปตามกฎของมัวร์ • ข้อมูลข่าวสารบนโลกเพิ่มขึ้นและขยายตัวอย่างมากและมีแนวโน้มเติบโตขึ้นจนยากที่จะคาดคะเนปริมาณ

  9. การปฏิวัติทางดิจิตอล (2) • การปฏิวัติทางดิจิตอล • เป็นตัวขับและเร่งการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางเศรษฐกิจ • เกิดกฎเกณฑ์ทางเศรษฐกิจใหม่ เช่น การว่าจ้างบุคลากรที่มีความรู้ • อุตสาหกรรมไอทีมีสัดส่วนต่อจีดีพีเพิ่มมากขึ้นในทุกประเทศ สำหรับไทยมีกว่าสิบเปอร์เซนต์ของจีดีพี • เป็นพลังทำให้สังคมเกิดการเปลี่ยนแปลง • ทำให้ต้องใช้ความรู้และปัญญามากขึ้น • การแข่งขันระหว่างประเทศต้องใช้ไอทีมากขึ้น • เกิดความแปลกแยกทางดิจิตอล Digital Divide • ทุกประเทศต้องปรับตัวโดยทันที

  10. จุดรวมของการเชื่อมโยงยังอยู่ที่อเมริกาจุดรวมของการเชื่อมโยงยังอยู่ที่อเมริกา

  11. อินเทอร์เน็ตทำให้โครงสร้างข้อมูลความรู้เปลี่ยนไป เป็นแรงกดดันทางวัฒนธรรมและสังคม

  12. แนวโน้มการใช้ข่าวสารและความรู้ที่น่าสนใจแนวโน้มการใช้ข่าวสารและความรู้ที่น่าสนใจ • อินเทอร์เน็ตทำให้มีข่าวสารเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว google ทำดัชนีไว้กว่า 10,000 ล้าน URL page • ประสิทธิภาพคอมพิวเตอร์เพิ่มขึ้นสองเท่าทุกๆ 18 เดือน โดยยังไม่มีแนวโน้มอิ่มตัว • มีการใช้โทรศัพท์มือถือในประเทศไทยกว่า 25 ล้านเครื่อง และยังขยายตัวได้อีก ทั่วโลกมีใช้กว่า 1000 ล้านเครื่อง • มูลค่าการค้าบนอินเตอร์เน็ต ในปี 2003 มีประมาณ $3 trillion • อินเทอร์เน็ตทำให้เกิด World Knowledgeและ New Learning Society ก่อให้เกิดสภาพความต้องการแรงงานแบบ knowledge worker

  13. แรงกดดัน ทำให้การเปลี่ยนแปลง สู่สังคมความรอบรู้

  14. สังคมใหม่ในระบบออนไลน์ อะไรๆ ก็ออนไลน์ แม้แต่เกมออนไลน์

  15. สังคมอุดมปัญญา หรือ สังคมอุดมบันเทิง ปัญหาเด็กติดเกม ปัญหาสังคมใหม่

  16. เด็กรุ่นใหม่ อนาคตของชาติ

  17. สังคมอุดมบันเทิง ใครอยากเป็นแม่ยกดิจิตอล ?

  18. โครงสร้างการตลาดเปลี่ยนไปโครงสร้างการตลาดเปลี่ยนไป • มีความหลากหลายตามความต้องการ เมื่อก่อนรู้จักแต่แฟซ่า เดี๋ยวนี้ขึ้นต้นด้วยเลข 3 ต้องเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ให้ถูก • การตลาดไร้พรมแดน • ผู้บริโภคมีความฉลาดมากขึ้นเพราะรับรู้ข่าวสาร

  19. เด็กรุ่นใหม่ในสังคมดิจิตอล (อุดมบันเทิง) • กว่านิสิตจบการศึกษา นิสิตมีอายุประมาณ 170,000 ชั่วโมง • ใช้เวลานอนประมาณ 70,000 ชั่วโมง • นิสิตใช้เวลาดูทีวีกว่า 20,000 ชั่วโมง • ใช้เวลากับโทรศัพท์มือถือกว่า 10,000 ชั่วโมง • ใช้เวลาเล่นเกมและอินเทอร์เน็ตกว่า 20,000 ชั่วโมง • ใช้เวลาอ่านหนังสือน้อยกว่า 5,000 ชั่วโมง

  20. รูปแบบการทำงานในสังคมฐานความรู้ • ลดคนกลาง หรือตัวกลาง ลดขั้นตอนลง ลดระยะเวลา • การดำเนินการตรง และการดำเนินการแบบร่วมมือกัน แลกเปลี่ยนข่าวสารโดยตรง • ระบบออนไลน์เข้ามามีบทบาทมากขึ้น • การทำงานแบบร่วมมือกันมากขึ้น • งานส่วนใหญ่ใช้พื้นฐานทางด้านไอที ดังนั้นจึงต้องมีความรู้ และใช้งานได้

  21. วางแผนสำหรับยุคสังคมใหม่ • มีความต้องการใช้วิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ และการสร้างกลยุทธ์แนวใหม่ • ให้ความสำคัญในเรื่องการใช้เว็บ • มีการแข่งขันในระดับโลกบนพื้นฐานการให้บริการ • มีการพัฒนาต้องมีขึ้นตลอดเวลา

  22. วางแผนสำหรับยุคสังคมใหม่ (ต่อ) • ต้องให้ความสำคัญของอินเทอร์เน็ต สำหรับการประยุกต์ระบบโลกาภิวัตน์ • มีการประยุกต์บนเว็บสำหรับการให้บริการแบบทุกหนแห่ง • ต้องการสร้างนวัตกรรมใหม่ๆ

  23. แนวโน้มสังคม สิ่งแวดล้อมและแรงกดดัน • ความท้าทายของโลกยุคโลกาภิวัตน์ • การก้าวสู่สังคมแห่งภูมิปัญญาและความรอบรู้สามองค์ประกอบหลัก • การสร้างทรัพยากรมนุษย์ (การสร้างบุคคลที่มีคุณภาพ) • การส่งเสริมให้มีนวัตกรรม (การวิจัยและการค้นคว้าหาความรู้ใหม่ เพื่อภูมิปัญญา) • การลงทุนและส่งเสริมให้มีโครงสร้างพื้นฐาน และอุตสาหกรรม (สร้างความยั่งยืน)

  24. พื้นฐานและนิยามความรู้พื้นฐานและนิยามความรู้ สารสนเทศและการใช้งานที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม

  25. สังคมกำลังก้าวสู่สังคมใหม่ที่ใช้ภูมิปัญญาสังคมกำลังก้าวสู่สังคมใหม่ที่ใช้ภูมิปัญญา “ทำอย่างไรจึงใช้ทรัพยากร ที่ได้มาให้เกิดผลคุ้มค่า มีประโยชน์ และยั่งยืน”

  26. นิยามพื้นฐานทั่วไปที่มีบทบาทและความสำคัญในองค์กรนิยามพื้นฐานทั่วไปที่มีบทบาทและความสำคัญในองค์กร • ข้อมูล (Data) • สารสนเทศ (Information) • ความรู้ (Knowledge)

  27. พื้นฐานชนิดของความรู้พื้นฐานชนิดของความรู้ • Tacit knowledgeความรู้ที่มีรูปแบบที่ไม่แน่นอน ไม่มีกฎเกณฑ์ที่ชัดเจน • Explicit knowledgeความรู้ที่มีรูปแบบชัดเจน กฎเกณฑ์แน่นอนและชัดเจน

  28. ธรรมชาติของความรู้ Explicit ง่ายต่อการจัดเก็บในรูปเอกสาร และแบ่งกันใช้งาน แจกจ่ายใช้งานง่าย มีประสิทธิภาพ ง่ายต่อการสำเนา 20% ทำให้มีอำนาจเพื่อการแข่งขันได้ดี 80% Tacit ยากต่อการประติดประต่อ ยากต่อการถูกขโมย มีประโยชน์ใน การแข่งขันสูง ยากต่อการถ่านทอด

  29. ปัญหาการจัดการความรู้ในองค์กรปัญหาการจัดการความรู้ในองค์กร • การถ่ายทอดความรู้ระหว่างบุคคลสู่องค์กร และระหว่างบุคคลกับบุคคล • การจัดเก็บความรู้ขององค์กร และการสร้างแผนผังความรู้ • การนำความรู้มาสร้างความสามารถในการแข่งขันหรือก่อให้เกิดประโยชน์อย่างแท้จริงกับองค์กร และทำองค์กรให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ • การสร้างความรู้ใหม่ในองค์กร เพื่อสร้างองค์กรให้เป็นองค์กรที่มีนวัตกรรมใหม่

  30. การก้าวเข้าสู่สังคมอุดมปัญญาการก้าวเข้าสู่สังคมอุดมปัญญา และความรอบรู้ • การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning Enterprise) • การสร้างคุณค่าจากภูมิปัญญาและความรอบรู้ • การเปลี่ยนสินทรัพย์ทางปัญญาให้เป็นทุน • การจัดการความรอบรู้และภูมิปัญญา • การเปลี่ยนรูปแบบการทำงานเป็นแบบการใช้ความรู้

  31. เทคโนโลยีเครือข่าย ที่มีพัฒนาการเร็ว มีแรงกดดันต่อการดำเนินงานในสังคมความรอบรู้

  32. การลู่เข้าหากันของเทคโนโลยีการลู่เข้าหากันของเทคโนโลยี Computers Biotech Genes Bits Neurons Atoms Networks Nanotech

  33. การเปลี่ยนแปลงจากความจริงเสมือนการเปลี่ยนแปลงจากความจริงเสมือน สู่ความจริงบนเครือข่าย

  34. ความท้าทายบนโลกแห่งความเป็นจริงความท้าทายบนโลกแห่งความเป็นจริง • Memories - จุแค่ไหน • Batteries - เก็บพลังงานไฟฟ้าได้มากขึ้น • Display - ละเอียด และ มีขนาดใหญ่ขึ้น • User Interface - ใช้งานได้ง่ายขึ้น • Operating System - ขีดความสามารถดีขึ้น • Interconnecting - เชื่อมโยงได้กว้างขวาง • Mobile beyond 3G - เครือข่ายที่ติดตามตัว • IPv6 - เชื่อมโยงได้มากขึ้น • Digital divide - ความแปลกแตกต่างทางดิจิตอล

  35. ระบบไร้สายกำลังมีบทบาทและเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิต และการดำเนินการทำให้เข้าถึงได้ทุกหนแห่ง Comm. Tower Comm. Tower Comm. Tower Comm. Tower Comm. Tower Comm. Tower Comm. Tower Comm. Tower Comm. Tower Comm. Tower Comm. Tower ทำให้ครอบคลุมพื้นที่ได้ทุกหนแห่ง การสื่อสารในเซลและโรมมิ่งข้ามเซล ปัจจุบันมองเห็นเสาอากาศ มากมาย ขยายพื้นที่ได้ง่าย จากเซลเล็กๆ เชื่อมต่อได้ง่าย เทคโนโลยีโมบายทำให้การทำงานต่างๆเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม

  36. บ้านในสังคมแห่งข่าวสารและฐานความรู้บ้านในสังคมแห่งข่าวสารและฐานความรู้ บอร์ดแสดงผล Electronic Program guide Read & set security system Home Theater control Display News headlines การใช้โน้ตบุกในบ้าน เชื่อมต่อไปที่ทำงาน Email Home Printer access Surf from anywhere Share files รถยนต์ของครอบครัว Trip Navigation downloads Download News/Entertainment Grandma’s Brownies 3 cups flour 1 cup grated chocolate 1 cup sugar 1 stick butter บอรดแบนด์ ท่ออินเทอร์เน็ต เครือข่ายในบ้าน Grandma’s 3 cups flour 1 cup grated chocolate 1 cup sugar 1 stick butter 1/2 cup chopped walnuts minutes. PC เซิร์ฟเวอร์หลัก HOME INDEX แทบเบร็ดพีซี Family Calendar Recipe Display Build shopping lists Voice messaging Intercom โทรศัพท์ไร้สายในบ้าน Remote Speech recognition Call by name Build shopping lists Home PBX PC(s) ในบ้าน PC ในห้องเด็ก เชื่อมอินเทอร์เน็ต เชื่อมเครื่องพิมพ์ ใช้ไฟล์ร่วมกัน SOURCE: IEEE

  37. จากโทรศัพท์สู่บอร์ดแบนด์ไอพีจากโทรศัพท์สู่บอร์ดแบนด์ไอพี แถบกว้างเพิ่มขึ้น

  38. กระบวนทัศน์และยุทธศาสตร์การใช้ความรู้กระบวนทัศน์และยุทธศาสตร์การใช้ความรู้ และเข้าถึงความรู้ในสังคมความรอบรู้

  39. การทำงานที่ต้องใช้ข้อมูลข่าวสารการทำงานที่ต้องใช้ข้อมูลข่าวสาร และความรู้มากขึ้น บริการ สินค้า เว็บ และ อินเทอร์เน็ต การประยุกต์เฉพาะ ข้อมูลข่าวสาร ลูกค้า เครือข่าย คน พันธมิตร กระบวนการ ซัพพลายเออร์ ผลิตภัณฑ์ การจัดการ ความรอบรู้ ระบบ คน

  40. ผู้ใช้งาน องค์กรต่างๆ หน่วยงานวิจัย ฐานข้อมูลเสมือนจริง แกนหน่วยงานผลิตความรู้ คลังข้อมูล DW • ความรู้เพื่อการตัดสินใจ • คลังข้อมูล ฐานข้อมูล DW • ความรู้จากหน่วยราชการต่างๆ • ระบบฐานความรู้ • การแปลง ข้อมูล สารสนเทศ ความรู้ • ความรู้บนเครือข่ายเว็บ ขุมความรู้ อิเล็กทรอนิกส์ มือถือ โน้ตบุก พีซีของผู้ใช้ Web .ac.th มหาวิทยาลัยต่างๆ .co.th ฐานข้อมูล Terabyte Data Center โครงสร้างการความร่วมมือจัดการความรู้

  41. การเข้าถึงบริการแบบอิเล็กทรอนิกส์ การบริการลูกค้าจะถึงตัวมากขึ้น และเรียกใช้บริการได้ทุกที่ เครือข่ายอินเทอร์เน็ต องค์กร ผู้ใช้บริการ ผู้ใช้บริการเข้าถึงปลายทางได้ โดยไม่ต้องการตัวแทน ดังนั้นร้านค้าที่อยู่บริเวณกลางทางจะหายไป

  42. แนวโน้มเข้าสู่สังคมความรอบรู้แนวโน้มเข้าสู่สังคมความรอบรู้ • การเจริญเติบโตที่รวดเร็วของเทคโนโลยี • แรงขับดันจากเครือข่ายอินเทอร์เน็ต • สังคมดิจิตอล และ ความแปลกแยกทางดิจิตอล ทำให้เกิดความกังวลในเรื่องความแตกต่างทางด้านการใช้ข่าวสาร • การทำงานร่วมกัน เพื่อผลประโยชน์ร่วมกัน (รูปแบบการทำงานในทุกองค์กร) • การเติบโตของเว็บและการใช้ประโยชน์จากเว็บบริการ ให้การทำงานแบบเป็นแบบเสมือนจริง

  43. โลกสารสนเทศ และความรู้ • เมื่อ สารสนเทศ ต่างจาก ความรู้ ดังนั้น การจัดการสารสนเทศ จึงต่างจาก การจัดการความรู้ด้วย • การจัดการสารสนเทศ • การจัดการความรู้ • เมื่อ การนิยามความรู้ของแต่ละคนแต่ละองค์กรแตกต่างกัน ดังนั้น ความหมายของการจัดการความรู้ก็แตกต่างกันด้วย

  44. ทำไมต้องมีการจัดการความรู้ ทำไมต้องมีการจัดการความรู้ • สารสนเทศล้น มีสารสนเทศมากที่จะสร้างเป็นความรู้ • องค์ความรู้มีมากมาย เกิดใหม่ และสะสม • เพื่อประสิทธิภาพขององค์กร • เพื่อการแข่งขันที่รุนแรงและความอยู่รอด • ความรู้คือทรัพย์ (Knowledge is asset) • มีวิชาเหมือนมีทรัพย์อยู่นับแสน • ความรู้เป็นแหล่งกำเนิดของนวัตกรรม • นโยบายเปลี่ยนสินทรัพย์ให้เป็นทุนของรัฐบาล

  45. สารสนเทศล้น

  46. สารสนเทศและความรู้ยุคใหม่สารสนเทศและความรู้ยุคใหม่

  47. สังคมความรอบรู้ จากหลายช่วงศตวรรษที่ผ่านมา พิสูจน์ให้เห็นว่า ทรัพยากรทางสมอง (brain power) มีบทบาทสำคัญยิ่งกว่าพลังงานเครื่องจักร ในยุคปัจจุบันจึงให้ความสำคัญสู่การสร้างระบบสังคมความรอบรู้ โลกยุคใหม่ต้อง ไดนามิก ปรับเปลี่ยนได้ ทำงานร่วมกัน เรียนรู้ร่วมกัน รวดเร็ว ยืดหยุ่นได้

  48. ลักษณะสำคัญของสังคมความรอบรู้ลักษณะสำคัญของสังคมความรอบรู้ • การผลิตและการบริการแบบร่วมกันเป็นกลไกคู่สร้างการเจริญเติบโต • การสร้างความแข็งแกร่งด้วยภูมิปัญญา • ทุนที่สำคัญอยู่ที่ความรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี • ทรัพยากรบุคคลและทุนปัญญาเป็นสิ่งสำคัญในยุคการแข่งขัน

  49. สังคมความรู้เกี่ยวโยงกับสามเสาหลักสังคมความรู้เกี่ยวโยงกับสามเสาหลัก • บทบาทความรู้ที่ได้จากรายการย่อย เช่น ระบบสารสนเทศ ที่ทำให้รู้ว่าขายได้เท่าไหร่ ขายอะไร ซื้ออะไร วัตถุดิบเป็นอย่างไร • ขณะเดียวกัน ความรู้ก็เป็นสินทรัพย์ ที่แปลค่าเป็นทุน เป็นมูลค่าเพิ่มได้ • การจัดการความรู้ให้เกิดประโยชน์กับทุกคน • สร้างนวัตกรรมใหม่ ผลิตภัณฑ์ใหม่

  50. ทำไมองค์กรต้องให้ความสำคัญในการใช้ทำไมองค์กรต้องให้ความสำคัญในการใช้ ไอซีทีเพื่อก้าวสู่สังคมความรอบรู้ ระบบสังคมความรอบรู้ ระบบสังคมเก่า เน้นการใช้ความรู้ คน เน้นประสิทธิภาพ ระบบสังคมความรอบรู้ (ประสิทธิภาพ ความเร็ว ) ผลิตภัณฑ์ ระบบสังคมความรอบรู้ (เน้นลูกค้า) กระบวนการ ระบบสังคมใหม่ (ความคล่องตัว ตื่นตัว ว่องไว) ระบบสังคมเก่า (เน้นสินค้าหรือบริการ)

More Related