770 likes | 983 Views
ยินดีต้อนรับ. คณะติดตามและประเมินผลฯ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ. 1 กรกฎาคม 2556. กลยุทธ์ที่ 1. พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ ตามหลักสูตรและส่งเสริมความสามารถด้านเทคโนโลยี เพื่อเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้. ประเด็นที่ 1. 2.
E N D
ยินดีต้อนรับ คณะติดตามและประเมินผลฯ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกระทรวงศึกษาธิการ 1 กรกฎาคม 2556
กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ ตามหลักสูตรและส่งเสริมความสามารถด้านเทคโนโลยี เพื่อเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้
ประเด็นที่ 1.2 ร้อยละ 100ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 อ่านออกเขียนได้ คิดเลขเป็น
ข้อมูลสารสนเทศ • จำนวนนักเรียนชั้น ป.3 ปีการศึกษา 2555 ที่เข้าสอบ จำนวน 1,689 คน • มีผลสอบความสามารถด้านภาษา ด้านคิดคำนวณ และด้านเหตุผล ดังนี้
วิธีการที่ทำให้การดำเนินงานเกิดผลสำเร็จตามเป้าหมายวิธีการที่ทำให้การดำเนินงานเกิดผลสำเร็จตามเป้าหมาย 1. กำหนดเป็นนโยบายสำคัญ แนวทางขับเคลื่อน จัดทำโครงการ 2. ดำเนินงานตามโครงการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพผู้เรียน ปีการศึกษา 2555 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 • จัดประชุมครูผู้สอนชั้น ป.3 ชี้แจงแนวทางการจัดสอบและเตรียมความพร้อมก่อนสอบ • จัดประชุมชี้แจงคณะกรรมการดำเนินงานประเมินระดับ สพป. • - ประชาสัมพันธ์การสอบให้ผู้ปกครองทราบทุก รร./ทุกคน 3. ดำเนินงานตามโครงการพัฒนาคุณภาพการสอนภาษาไทย • ประชุมเชิงปฏิบัติการครู ป.1 เรื่อง เด็กอ่านไม่ออก เขียนไม่ได้แก้ง่ายนิดเดียว • - ประชุมเชิงปฏิบัติการครู ป.3 เรื่อง พัฒนาความรักการอ่าน เขียน และการคิดวิเคราะห์ 4. ดำเนินงานตามโครงการพัฒนาความสามารถด้านการอ่าน เขียน นักเรียนชั้น ป.3-ป.6 • สพป.พบ.2 กำหนดกลยุทธ์เฉพาะด้านการอ่านออก เขียนได้ เพื่อเป็นเป้าหมายคือ นักเรียนชั้น ป.3 • อ่านออกเขียนได้ 100 % • พัฒนาความสามารถด้านการอ่าน เขียนนักเรียนชั้น ป.2 กลุ่มเป้าหมาย 54 ร.ร. • - พัฒนาความสามารถด้านการอ่าน เขียนนักเรียนชั้น ป.3 กลุ่มเป้าหมาย 47 ร.ร.
ปัญหา/อุปสรรค • 1. ข้อจำกัดความสามารถของผู้ปกครองในการดูแลบุตรหลานด้านการอ่าน • เขียนภาษาไทย • 2. การนำองค์ความรู้สู่การปฏิบัติในชั้นเรียนของครูและบูรณาการความรู้ เทคนิค • ในกระบวนการเรียนการสอน • 3. พัฒนาด้านการอ่านเขียนภาษาไทยที่อาศัยระยะเวลานานในกลุ่มผู้เรียนที่ใช้ • ภาษาถิ่นในการสื่อสารซึ่งมีภาษาพูด อ่าน เขียนเป็นของตนเองที่ไม่มีฐานภาษา • มาจากภาษาไทย เช่น กะเหรี่ยง มอญ เขมร
จุดที่ควรพัฒนา • 1. วิธีการที่เหมาะสมในการดูแลบุตรหลานของผู้ปกครองที่มีข้อจำกัดทางความสามารถ • ด้านการอ่าน เขียนภาษาไทย • 2. วิธีบูรณาการองค์ความรู้ เทคนิคสู่กระบวนการเรียนการสอน/การปฏิบัติในชั้นเรียน • ของครู • 3. การใช้วิจัยเป็นฐานและใช้ BBL ในการพัฒนาการอ่านเขียนภาษาไทยที่อาศัยระยะ • เวลานานในกลุ่มผู้เรียนที่ใช้ภาษาถิ่นในการสื่อสารซึ่งมีภาษาพูด อ่าน เขียน • เป็นของตนเองที่ไม่มีฐานภาษามาจากภาษาไทย เช่น กะเหรี่ยง มอญ เขมร
แนวทางการพัฒนา • 1. การนำแนวคิด หลักการ วิธีการห้องเรียนกลับด้าน (ทำการบ้านที่โรงเรียน) • มาใช้พัฒนาการอ่าน • 2. ส่งเสริมให้ครูใช้วิธีบูรณาการองค์ความรู้ เทคนิคสู่กระบวนการเรียนการสอน/ • การปฏิบัติในชั้นเรียนของครูอย่างหลากหลาย • 3. ส่งเสริมความสามารถการพัฒนาผู้เรียนที่ใช้ภาษาถิ่นในการสื่อสารซึ่งมีภาษาพูด อ่าน • เขียนเป็นของตนเองที่ไม่มีฐานภาษามาจากภาษาไทย (เช่น กะเหรี่ยงมอญ เขมร ) • โดยใช้ BBL ทั้งกับเด็กปกติให้พัฒนาความสามารถด้านอ่าน เขียน
ประเด็นที่ 1.5 • ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาหลัก • ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน • จากการประเมินระดับชาติเพิ่มขึ้นร้อยละ 3
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ระดับชั้น ป.6 (O-NET )
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ระดับชั้น ป.6 (O-NET ) สาระการเรียนรู้หลักที่มีผลสัมฤทธิ์เพิ่มขึ้น ร้อยละ 3 จากปีการศึกษา 2554 มีจำนวน 1รายการ
วิธีการที่ทำให้การดำเนินงานเกิดผลสำเร็จตามเป้าหมายวิธีการที่ทำให้การดำเนินงานเกิดผลสำเร็จตามเป้าหมาย 7. จัดสอบ LAS นร. ป.2 ป.5 และ ม.2 ทุกคน ใน 5 วิชาหลัก 8. สนับสนุนงบประมาณจัดกิจกรรมทบทวนความรู้เพื่อเตรียมสอบ ONETป.6, ม.3 ในแต่ละศูนย์เครือข่าย ในรูปฐานการเรียนรู้ 9. สนับสนุนงบประมาณให้กับศูนย์เครือข่าย และทุกโรงเรียน เพื่อดำเนินงานยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ตามสภาพปัญหาและความจำเป็นของโรงเรียนและศูนย์เครือข่าย 10.ดำเนินการโครงการพัฒนาคุณภาพภาษาไทยทุกระดับชั้น 11.พัฒนาครูผู้สอนภาษาอังกฤษ โดยกิจกรรมค่ายวิชาการแบบเข้ม (O-NET) ครูผู้สอนป.6 และ ม.3 เพื่อวิเคราะห์ และสร้างข้อสอบให้สอดคล้องกับระดับพฤติกรรมตามตัวชี้วัด/มาตรฐานการเรียนรู้ของหลักสูตรแกนกลาง 51 และมีนำข้อสอบไปใช้พัฒนาผู้เรียน,กิจกรรมค่ายพัฒนาทักษะการสื่อสาร การฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน ให้ครู ป.1-ม.3 12.จัดค่ายภาษาอังกฤษนักเรียน พัฒนาทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษนักเรียน ป.1 – ป.6
วิธีการที่ทำให้การดำเนินงานเกิดผลสำเร็จตามเป้าหมายวิธีการที่ทำให้การดำเนินงานเกิดผลสำเร็จตามเป้าหมาย • 13. พัฒนาครูสอนวิชาสังคมศึกษา ชั้น ป.6 เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสังคมศึกษา โดยการอบรม • เชิงปฏิบัติการเสริมสร้างความเป็นพลเมืองตามวิถีประชาธิปไตย, อบรมการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ ผ่านแหล่งเรียนรู้ทางประวัติศาสตร์,อบรมยกระดับผลสัมฤทธิ์สาระเศรษฐศาสตร์ • 14. พัฒนาครูผู้สอนวิชาวิทยาศาสตร์ด้วยโปรแกรม inspiring science • 15. มีการนิเทศติดตามระดับศูนย์อำเภอ และศูนย์เครือข่ายโดยรองผอ.สพป. และศึกษานิเทศก์ที่ได้รับมอบหมาย • 16. มอบเกียรติบัตรเป็นขวัญกำลังใจ และเป็นแรงจูงใจสำหรับผู้บริหาร และครูผู้สอนที่มีคะแนนเฉลี่ย O-NET • อยู่ในระดับดี • 17. ประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการสอบ O-NET ด้วยวิธีการติดป้ายประชาสัมพันธ์ และ ให้โรงเรียนประชาสัมพันธ์ • ให้ผู้ปกครองทราบถึงความสำคัญของการสอบ
ปัญหา/อุปสรรค • 1. มีโรงเรียนขนาดเล็ก จำนวน 75 โรงเรียน คิดเป็น ร้อยละ 59.05 ของโรงเรียนทั้งหมด • ทำให้เกิดปัญหาโรงเรียนมีครูไม่ครบชั้น ครูสอนไม่ตรงวิชาเอก และบางโรงเรียนไม่มี • ผู้บริหารโรงเรียน • 2. ความรู้ความเข้าใจรูปแบบการวัดและประเมินผลของครูผู้สอน
จุดที่ควรพัฒนา 1. ระบบบริหารจัดการเรียนการสอนโรงเรียนขนาดเล็ก 2. รูปแบบการจัดการเรียนการสอนตามธรรมชาติวิชา 3. รูปแบบการวัดและประเมินผล 4. ระบบการนิเทศติดตาม กำกับของโรงเรียน/หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 5. การสร้างขวัญกำลังใจของโรงเรียนที่ประสบความสำเร็จ แนวทางการพัฒนา 1. พัฒนาการจัดการเรียนการสอนแบบคละชั้น 2. จัดให้มีครูผู้สอนตรงสาขาวิชามากขึ้น
กลยุทธ์ที่ 2 • ปลูกฝังคุณธรรม ความสำนึกในความเป็นชาติไทย และวิถีชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ประเด็นที่ 2.2 • ร้อยละ 100 ของนักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม กตัญญู • และมีความสำนึกในความเป็นไทย
จำนวนโรงเรียนในสังกัด 126 โรงเรียน มีนักเรียนทั้งหมด จำนวน 16,260 คน นักเรียนได้รับการพัฒนาให้มีคุณธรรม จริยธรรม กตัญญู และมีความสำนึกในความเป็นไทยครบทุกคน
ผลการพัฒนานักเรียนที่ประสบความสำเร็จที่เป็นแบบอย่างได้ผลการพัฒนานักเรียนที่ประสบความสำเร็จที่เป็นแบบอย่างได้ • ด้านคุณธรรม จริยธรรม 1.โรงเรียนวัดห้วยเสือ(มงคลประชาสรรค์) 2.โรงเรียนวัดช้างแทงกระจาด • ด้านความกตัญญู โรงเรียนวัดหนองแก • ด้านความสำนึกในความเป็นไทย 1. โรงเรียนนิคมสร้างตนเองเขื่อนเพชรฯ 2. โรงเรียนบ้านหนองปืนแตก
วิธีการที่ทำให้การดำเนินงานเกิดผลสำเร็จตามเป้าหมายวิธีการที่ทำให้การดำเนินงานเกิดผลสำเร็จตามเป้าหมาย • 1.ประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง • 2.จัดทำคู่มือการดำเนินงานให้แก่สถานศึกษาในสังกัดใช้เป็นแนวทางการดำเนินงาน • 3. จัดตั้งโรงเรียนแม่ข่ายคุณธรรม ครอบคลุมทุกพื้นที่ • 4.จัดประชุมโรงเรียนลูกข่ายอย่างน้อยภาคเรียนละ 1ครั้ง • 5.จัดตลาดนัดคุณธรรมปีการศึกษาละ 1 ครั้งเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และนำเสนอวิธีการปฏิบัติ • ที่เป็นเลิศและประสบความสำเร็จ • 6. ติดตามผลการดำเนินงานของโรงเรียนเป็นระยะ และเข้าร่วมประชุมกับโรงเรียนแม่ข่าย • 7. สพป.ส่งเสริมและพัฒนาการดำเนินการปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม นักเรียนในสถานศึกษา โดยได้จัดทำ • โครงการค่ายโครงงานคุณธรรม, โครงการปกป้องลูกหลานด้วยวิถีคนเมืองเพชร, • โครงการเด็กดีเมืองเพชรหัวใจไทยแท้
ปัญหา/อุปสรรค • 1. ผู้บริหารสถานศึกษามีการโยกย้ายไปอยู่โรงเรียนอื่น ทำให้นโยบาย • ด้านการปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม มีการเปลี่ยนแปลง ไม่ต่อเนื่อง • 2. เป้าหมายผลสัมฤทธิ์ของการปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมของหน่วยเหนือ • มีการปรับเปลี่ยนบางส่วน ทำให้การเก็บข้อมูลที่ได้ไม่ตรงตามเป้าหมาย • จุดที่ควรพัฒนา ด้านความต่อเนื่องของเป้าหมายและนโยบายของการดำเนินงานด้านการปลูกฝัง คุณธรรมจริยธรรมของทุกระดับ
แนวทางการพัฒนา 1. เน้นย้ำให้ผู้บริหารโรงเรียนทุกโรงเรียนคงไว้ในด้านวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ ของแต่ละโรงเรียน และให้พัฒนาอย่างต่อเนื่องเพื่อยกระดับการปฏิบัติที่เป็นเลิศ ถึงแม้มีการเปลี่ยนผู้บริหารสถานศึกษา 2. ติดตามข้อมูลข่าวสารด้านเป้าหมาย นโยบายด้านการปลูกฝังคุณธรรมของ หน่วยเหนืออย่างใกล้ชิด และเก็บข้อมูลด้านการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม ของโรงเรียนในสังกัดให้ครอบคลุมทุกด้าน 3. มีการมอบนโยบายด้านการรายงานผลการดำเนินงานด้านการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมของนักเรียนแก่สถานศึกษาในสังกัดที่ชัดเจน และมีการติดตาม อย่างต่อเนื่อง
ประเด็นที่ 2.3 ร้อยละ 100 ของโรงเรียนจัดการศึกษา ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โรงเรียนที่นำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง บูรณาการในการจัดการเรียนการสอน ครบทุกกลุ่มสาระฯ จำนวน 91 โรงเรียน จากโรงเรียนทั้งหมด 126 โรงเรียนคิดเป็นร้อยละ 72.22 โครงการ/กิจกรรมของ สพป. ที่ส่งเสริมสนับสนุนการดำเนินงานของโรงเรียน โครงการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา ดำเนินการดังนี้ 1. พัฒนาสถานศึกษาพอเพียง ปี 2554 โดยการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระดับเขตพื้นที่การศึกษา 2. อบรมเชิงปฏิบัติการสถานศึกษาเพื่อน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ อย่างยั่งยืน จำนวน 50 โรงเรียน 3. นิเทศ ติดตามผลการดำเนินงานของโรงเรียนโดยศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบศูนย์เครือข่าย
วิธีการที่ทำให้การดำเนินงานเกิดผลสำเร็จตามเป้าหมายวิธีการที่ทำให้การดำเนินงานเกิดผลสำเร็จตามเป้าหมาย • 1. อบรมเชิงปฏิบัติการ / แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับสถานศึกษาพอเพียง ปี 2554 • 2. ประชุมเชิงปฏิบัติการโรงเรียนระยะที่ 3 ครบทุกโรงเรียน • 3. จัดนิทรรศการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และนำเสนอผลการปฏิบัติงานจากสถานศึกษาพอเพียง ปี 2554 • เมื่อวันที่ 17 - 18 ก.ค. 2555 • 4. นำเสนอแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในการประชุมประจำเดือนผู้บริหารสถานศึกษาในเดือนกุมภาพันธ์ • เดือนพฤษภาคม2556 • 5. นิเทศ ติดตามผลการดำเนินงานของโรงเรียนโดยศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบศูนย์เครือข่าย • เพื่อ • - คัดเลือกโรงเรียนที่พร้อมรับการประเมินสถานศึกษาพอเพียง ปี 2555 จำนวน 21 โรงเรียน • - นิเทศการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ การน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การเรียนการสอน • - แลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยผ่าน Website ของกลุ่มนิเทศ ฯ สพป.พบ.2
จุดที่ควรพัฒนา • การใช้แหล่งเรียนรู้ภายในเป็นฐานการเรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง แนวทางการพัฒนา • นิเทศ online การใช้แหล่งเรียนรู้ภายในเป็นฐานการเรียนรู้หลักปรัชญา • ของเศรษฐกิจพอเพียง
กลยุทธ์ที่ 3 • ขยายโอกาสทางการศึกษาให้ทั่วถึง • และลดความเหลื่อมล้ำ • ผู้เรียนได้รับโอกาสในการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ
ประเด็นที่ 3.2 • อัตราการออกกลางคันลดลง
นักเรียนปีการศึกษา 2554 จำนวน 12,443 คน ออกกลางคัน จำนวน 51 คน คิดเป็นร้อยละ 0.40 นักเรียนปีการศึกษา 2555 จำนวน 12,333 คน ออกกลางคัน จำนวน 16 คน คิดเป็นร้อยละ 0.13 อัตราการออกกลางคันปีการศึกษา 2555ลดลงจากปีการศึกษา 2554 ร้อยละ 0.27
วิธีการที่ทำให้การดำเนินงานเกิดผลสำเร็จตามเป้าหมายวิธีการที่ทำให้การดำเนินงานเกิดผลสำเร็จตามเป้าหมาย การติดตามนักเรียนออกลางคันของ สพป.เพชรบุรี เขต 2 มีวิธีการดำเนินการ ดังนี้ • 1.แจ้งสถานศึกษาต่าง ๆ ในการสำรวจรายชื่อและสาเหตุนักเรียนออกกลางคัน • 2.รวบรวมสรุปรายชื่อและสาเหตุนักเรียนออกลางคัน • 3.แต่งตั้งคณะกรรมการติดตามเด็กออกกลางคัน • 4.ออกติดตาม ประสาน โรงเรียนผู้ปกครอง ผู้นำชุมชนที่เกี่ยวข้องกับนักเรียนร่วมกัน • ปรึกษาหารือ เพื่อติดตามนักเรียนออกกลางคันให้กลับมาเข้าเรียน • 5.รวบรวมรายชื่อนักเรียนและสาเหตุการออกลางคัน รายงานผู้ดูแลระบบการช่วยเหลือนักเรียน • เพื่อให้ความช่วยเหลือในอีกขั้นหนึ่ง • 6.สพป.พบ. 2 ได้จัดทำโครงการการศึกษาทางเลือก เพื่อช่วยเหลือเด็กออกลางคัน • 7.สถานศึกษา ให้การช่วยเหลือ สนับสนุนนักเรียนที่กลับเข้ามาเรียนต่อในรูปแบบต่าง ๆ
ปัญหา/อุปสรรค • ส่วนใหญ่นักเรียนมีปัญหาครอบครัว ร้อยละ 37.03 • รองลงมา คือ ปัญหาความยากจน และปัญหาการสมรส เป็นลำดับที่ 3 • จุดที่ควรพัฒนา ควรพัฒนาในเรื่องปัญหาครอบครัว เพราะส่วนใหญ่แล้ว บิดา มารดา แยกทางกัน ไปมีครอบครัวใหม่ เด็กต้องอยู่กับ ย่า ยาย ทำให้เกิดปัญหาความยากจนตามมา แนวทางการพัฒนา เพิ่มความถี่ในการเยี่ยมบ้านเด็กและให้ครบทุกหลัง
ประเด็นที่ 3.3 • ร้อยละ 100 ของโรงเรียนที่จัดกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต • เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันปัญหาสังคมให้กับผู้เรียน
1. โรงเรียนที่จัดกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิตเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันปัญหาสารเสพติดให้กับผู้เรียน จำนวน 126 โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 100 2. ผลการดำเนินงานที่ สพป. ส่งเสริม สนับสนุนสถานศึกษา 2.1 จากการส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษาดำเนินการ ทำให้สถานศึกษา บุคลากรที่เกี่ยวข้อง ได้รับรางวัลตามโครงการสถานศึกษาป้องกันยาเสพติดดีเด่น รางวัลเสมา ปปส. กระทรวงศึกษาธิการ จำนวน 2 โรงเรียน ประเภทบุคคล จำนวน 3 ราย เมื่อวันที่ 28 มกราคม 2556 2.2 ผลการประเมินผู้เรียนตามจุดเน้นการพัฒนาผู้เรียนของ สำนักวิชาการและมาตรฐาน การศึกษาของ สพฐ. ผ่านเว็บไซต์ฐานข้อมูล http:/www.stabdb.com/chool มีผลการประเมินมิติที่ 2 รายการมีทักษะชีวิต อยู่ในระดับ 5 ร้อยละของโรงเรียนที่ผู้เรียน เรียนรู้อย่างมีความสุข มีความสามารถ ทักษะ และคุณลักษณะตามจุดเน้น ร้อยละ 92.85
วิธีการที่ทำให้การดำเนินงานเกิดผลสำเร็จตามเป้าหมายวิธีการที่ทำให้การดำเนินงานเกิดผลสำเร็จตามเป้าหมาย ระดับ สพป. 1. แจ้งนโยบายการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษาของ กระทรวงศึกษาธิการ เพื่อให้สถานศึกษานำไปปฏิบัติในสถานศึกษาเพื่อจัดทำ แผนปฏิบัติการ 2.เสริมสร้างขวัญ กำลังใจ ยกย่องเชิดชูเกียรติบุคลากรผู้ปฏิบัติงาน 3.สพป.พบ.2 จัดทำแผนงาน/โครงการ ตามแผนงานที่ 3 การสร้างภูมิคุ้มกันและ ป้องกันปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา (Potential Demand) 4.สพป.พบ.2 แต่งตั้งคณะกรรมการอำนวยการพลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติด อย่างยั่งยืนในสถานศึกษา ประจำปีงบประมาณ 2556 5.นิเทศ กำกับ ติดตามการดำเนินงาน
ระดับสถานศึกษา 1. สถานศึกษา จัดทำแผนงาน/โครงการตามแผนงานที่ 3 การสร้างภูมิคุ้มกันและ ป้องกันปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา(Potential Demand) 2. สถานศึกษา จัดกิจกรรมการสร้างภูมิคุ้มกันและป้องกันปัญหายาเสพติด ในสถานศึกษา(Potential Demand) 3. สถานศึกษามีเครือข่ายในการทำงานการสร้างภูมิคุ้มกันและป้องกันปัญหายาเสพติด ในสถานศึกษา(Potential Demand) ร่วมกับภาคีเครือข่าย 4. สรุป รายงานสถานการณ์
ปัญหา/อุปสรรค/ข้อจำกัดปัญหา/อุปสรรค/ข้อจำกัด 1. ในพื้นที่โครงการชุมชนอุ่นใจ ได้ลูกหลานกลับคืน (พื้นที่การแพร่ระบาดระดับจังหวัด) มีสถานศึกษาที่อยู่ในความรับผิดชอบของ สพป.ตั้งอยู่ในพื้นที่ดังกล่าว จำนวน 4 โรงเรียน นักเรียน 726 คน 2. การพัฒนาบุคลากรผู้มีส่วนเกี่ยวข้องให้มีทักษะการจัดกิจกรรมตาม 5 มาตรการ มีจำนวนครั้งและจำนวนคนน้อย เมื่อเปรียบเทียบกับพื้นที่รับผิดชอบ
จุดที่ควรพัฒนา ดำเนินการตามมาตรการ 5 มาตรการ กลยุทธ์ 4 ต้อง 2 ไม่ มาดำเนินการอย่างต่อเนื่อง ดำเนินการในสถานศึกษาที่ตั้งอยู่ในพื้นที่โครงการ กำหนดเป้าหมาย สถานศึกษา 2556 กระทรวงศึกษาธิการ
แนวทางการพัฒนา ระดับเขต 1.สร้างความตระหนัก ผู้บริหาร ครู บุคลากร นักเรียน และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดกิจกรรม ทักษะชีวิต มาตรการ 5 มาตรการ กลยุทธ์ 4 ต้อง 2 ไม่ ในสถานศึกษาที่ตั้งอยู่ในพื้นที่ โครงการชุมชนอุ่นใจได้ลูกหลานกลับคืน (พื้นที่การแพร่ระบาดระดับจังหวัด) 2.สร้างความต่อเนื่องในการดำเนินงานการสร้างภูมิคุ้มกันและป้องกันปัญหายาเสพติด ในสถานศึกษา(Potential Demand) โดยกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต ด้านการสร้างภูมิคุ้มกัน สารเสพติดในสถานศึกษา ซึ่งบูรณการร่วมกันในสาระสุขศึกษา เน้นทักษะชีวิต ด้วยกระบวนการ R.C.A. ระดับชั้น ป.5 3.สร้างเครือข่ายการทำงาน ขยายเครือข่ายทุกระดับ ทุกภาคส่วนเพื่อร่วมระดมทรัพยากร ในการทำงาน
กลยุทธ์ที่ 4 • พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาทั้งระบบ • ให้สามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ (Teacher Enhancement)
ประเด็นที่ 4.1 • ร้อยละ 100 ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา • ที่พัฒนาครูให้สามารถจัดการเรียนการสอน • ด้วยคอมพิวเตอร์พกพาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ครู ป.1 ที่ได้รับการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนด้วยคอมพิวเตอร์พกพา ให้มีความรู้และทักษะ จำนวน 142 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ครู ป. 1 จัดทำหรือปรับแผนการจัดการเรียนการสอนด้วยตนเอง จำนวน 142 คน คิดเป็นร้อยละ 100
วิธีการที่ทำให้การดำเนินงานเกิดผลสำเร็จตามเป้าหมายวิธีการที่ทำให้การดำเนินงานเกิดผลสำเร็จตามเป้าหมาย • 1. ตั้งคณะกรรมการดำเนินงานตรวจรับส่งมอบ Tablet ให้กับโรงเรียน โดยมีศูนย์บริการ • Advice มาร่วมดำเนินการ • 2.ดำเนินการอบรม ให้กับศึกษานิเทศก์ ครูผู้สอน ป.1 กับครู ICT ทุกโรงเรียนตามโครงการ • ประชุมอบรมปฏิบัติการการใช้ Tablet เพื่อการเรียนการสอน ปีงบประมาณ 2555
กระบวนการนิเทศ ติดตาม เขตพื้นที่ได้จัดอบรมการบริหารจัดการการใช้ Tabletให้กับศึกษานิเทศก์เพื่อให้มีความรู้ความสามารถในการออกนิเทศตามศูนย์เครือข่ายที่รับผิดชอบ • ผลการนิเทศ พบว่า โรงเรียนมีการจัดเตรียมบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถในด้านคอมพิวเตอร์ ร้อยละ 60.42 โรงเรียนมีการจัดปรับปรุงระบบไฟฟ้า ร้อยละ 56.25 โรงเรียนส่งเสริม สนับสนุนเปิดโอกาสให้ครูผู้สอนพัฒนาตนเองเพื่อใช้คอมพิวเตอร์พกพา ร้อยละ 56.25 มีการนิเทศในรูปแบบวิจัย 2 โรงเรียน ได้แก่ โรงเรียนบ้านแหลมทอง และโรงเรียนบ้านดอนเตาอิฐรวมทั้งระบบการนิเทศของกลุ่มนิเทศ
ปัญหา/อุปสรรค 1. ทัศนคติของครูที่อายุมากที่มีต่อการใช้Tablet 2. ครูผู้สอนยังไม่ได้รับเครื่อง Tabletจึงทำให้กระบวนการจัดการเรียนรู้ไม่สมบูรณ์ • จุดที่ควรพัฒนา 1. ส่งเสริมสนับสนุนให้ครูปรับแผนการเรียนรู้โดยใช้ Tabletเพิ่มมากขึ้น 2. ส่งเสริมการติดตั้งระบบ Internetไร้สายให้ถึงห้องเรียนทุกระดับชั้น โดยเฉพาะชั้น ป.1
แนวทางการพัฒนา 1. เพิ่มเติมการนิเทศการใช้Tablet เพื่อปรับทัศนคติที่ดีต่อการใช้ Tablet 2. พัฒนาระบบการสอนเพื่อให้สื่อเนื้อหาในTabletสามารถนำเสนอผ่านหน้าจอ เพื่อให้ครูได้จัดการเรียนรู้ไปพร้อมกับผู้เรียน โดยการนำบทเรียนใน Tablet ลงใน คอมพิวเตอร์พีซี และให้โรงเรียนหรือครูซื้อ Tablet ทั่วไป แล้วนำข้อมูลเนื้อหาติดตั้ง เพื่อให้ครูมี Tablet ไว้เป็นสื่อเตรียมการสอนนักเรียนได้สะดวกยิ่งขึ้น โดยได้ทดลอง นำร่องแล้ว 3 โรงเรียน ได้ผลเป็นที่น่าพอใจ
ประเด็นที่ 4.2 ร้อยละ 100 ของครูและบุคลากรทางการศึกษา ได้รับการเตรียมความพร้อมด้านภาษาที่สอง เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
จำนวนครูและบุคลากรทางการศึกษา จำนวน 1,206 คน • โรงเรียน • - จำนวนครู 1,131 คน • - บุคลากรทางการศึกษาของโรงเรียน - คน • สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา • - บุคลากรทางการศึกษาของ สพป.75 คน • จำนวนครูและบุคลากรทางการศึกษาที่ได้รับการเตรียมความพร้อมด้านภาษาที่สอง • เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน 1,112 คน คิดเป็นร้อยละ 92.21
วิธีการที่ทำให้การดำเนินงานเกิดผลสำเร็จตามเป้าหมายวิธีการที่ทำให้การดำเนินงานเกิดผลสำเร็จตามเป้าหมาย • 1. สำรวจความต้องการ ด้านเนื้อหาที่ใช้ในการฝึกปฏิบัติการจริง • 2. ประชุมคณะกรรมการดำเนินงาน จัดเตรียมเอกสารประกอบการอบรม สถานที่และอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง • 3. บุคลากรแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในเว็บไซต์ ของ สพป.พบ.2 • 4. สำรวจความต้องการ ด้านเนื้อหาที่ใช้ในการฝึกปฏิบัติการจริง โดยประชุมคณะกรรมการดำเนินงาน • 5. จัดค่ายอบรม 3 วัน ให้บุคลากรได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน • 6. จัดค่ายภาษาอังกฤษสำหรับครูผู้สอนภาษาอังกฤษและจัดการอบรมปฏิบัติการใช้สื่อการเรียนการสอน • ภาษาอังกฤษสำหรับครูระดับประถมศึกษา ( Teachers Kit ) • 7. จัดอบรมครูผู้สอนภาษาอังกฤษให้ใช้สื่อการเรียนการสอน Teachers Kit ชั้น ป.1- 3 ให้มีความรู้ • ความสามารถและทักษะทางด้านภาษาอังกฤษให้สูงขึ้น ให้มีความมั่นใจในการใช้ภาษา • 8. นิเทศติดตาม และประเมินผลการดำเนินงานตามโครงการ • 9. สรุปรายงานผล
วิธีดำเนินการพัฒนาบุคลากรวิธีดำเนินการพัฒนาบุคลากร • ได้ใช้วิธีการที่หลากหลายและสื่อสารหลายช่องทาง • 1. การฝึกอบรมและให้ความรู้โดยเจ้าของภาษา • 2. จัดทำเอกสารและแจกให้บุคลากรทุกคนศึกษาและฝึกฝน • 3. เสียงตามสาย ให้ความรู้และฝึกร่วมกัน • 4. กำหนดช่วงเวลา 09.00-10.00 น. ของวันพุธเป็น Speaking English Hour • เพื่อให้บุคลากรฝึกใช้ภาษาอังกฤษร่วมกันในชีวิตประจำวัน • 5. ประเมินผลและมอบเกียรติบัตรผู้ผ่านการพัฒนาตามหลักสูตรของโครงการ • 6. สพป.จัดจ้างวิทยากรชาวต่างประเทศจำนวน 2 คน เพื่อการใช้ภาษาอังกฤษสื่อสาร/ • จัดกิจกรรมกับคณะครู,นักเรียนทุกโรงเรียน ตามโครงการแผนปฏิบัติการ ปี 2556
จุดที่ควรพัฒนา ให้ครูได้รับประสบการณ์ตรงจากวิทยากรที่เป็นชาวต่างชาติหรือเจ้าของภาษา และควรจัดสรรงบประมาณเพื่อให้ครูได้รับการฝึกประสบการณ์บ่อย ๆ ครั้ง