320 likes | 615 Views
ผลการตรวจสอบข้อมูล 43 แฟ้ม หน่วยบริการสุขภาพ จ.ขอนแก่น. งานข้อมูลข่าวสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข. Person. Person. person. จำนวนร้อยละที่ error เทียบกับจำนวน person ทั้งหมด แยกราย CUP. ตรวจสอบตามเงื่อนไข ของแต่ละฟิลด์ ตามโครงสร้าง 43 แฟ้มเช่น
E N D
ผลการตรวจสอบข้อมูล 43 แฟ้ม หน่วยบริการสุขภาพ จ.ขอนแก่น งานข้อมูลข่าวสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข
จำนวนร้อยละที่ error เทียบกับจำนวน person ทั้งหมด แยกราย CUP ตรวจสอบตามเงื่อนไข ของแต่ละฟิลด์ ตามโครงสร้าง 43 แฟ้มเช่น cid 13 หลัก ข้อมูลไม่เป็นค่าว่าง หรือ null วันเดือนปีเกิด ที่มีอายุมากว่า 100 ปี
Person ที่ error ตรวจสอบโดยส่วนกลาง(สนย.) • เชื่อมข้อมูลไม่ได้ เนื่องจาก map ข้อมูลผิด (pid) * รพ.ภูเวียง • เชื่อมข้อมูลได้น้อย * รพ.มัญจาคีรี * รพ.กระนวน * รพ.น้ำพอง * รพ.สีชมพู • เชื่อมข้อมูลไม่ได้ ไม่มี person * รพ.หนองเรือ รพ.บ้านฝาง
ข้อมูลPerson เป็นข้อมูลสำคัญในการทำรายงานตัวชี้วัด ประชากรเป้าหมายจะไม่นับประชากรในทะเบียนทั้งหมด แฟ้ม person ที่คอลัมน์ type area Type area type area0,2,ว่าง type area1,3 type area4 นับเป็นในเขตรับผิดชอบ(ตัดซ้ำpcucode,pid) ไม่นับเป็นกลุ่มเป้าหมายจะหมายถึงผู้รับบริการทั้งหมด(ตัดซ้ำCID) ไม่นับเป็นกลุ่มเป้าหมาย(นับรวมเป็นประชากรทั้งหมดที่มีชื่อในทะเบียนบ้าน)
ประชากรกลุ่มเป้าหมาย • ประชากรกลุ่มเป้าหมายนับที่ typeareaเท่านั้น • เป้าหมายจะเป็นจริงเมื่อบันทึก typeareaตรงตามเป็นจริง • ย้ายออก ไม่อยู่จริง ต้องเปลี่ยนtypeareaเป็น2 • ข้ามเขต ขาจร มารับบริการต้องลงtypearea4 • อยู่จริงๆ (ทั้งมีทะเบียน=1ไม่มีทะเบียน=3) • คือที่มาของคำถามที่ว่า เป้าหมายทำไมสูง แล้วได้ร้อยละผลงานน้อย • เมื่อเทียบร้อยละจึงทำให้ไม่ผ่านเกณฑ์ ประชากรเป้าหมายจะไม่นับประชากรในทะเบียนทั้งหมด ปัญหา-อุปสรรค บันทึกtype area‘คนเดียวกัน’ ไม่สอดคล้องกัน เมื่อรับบริการที่นี่ typeareaต้องลง=4 รพสต.B แฟ้ม person ที่คอลัมน์ type area มีชื่อในทะเบียนบ้านอาศัยอยู่จริงหรือย้ายเข้าเกิน6เดือน typeareaต้องลง=1 รพสต.A ปัญหาคือtype area=1หรือ3 Type area ปัญหาคือtype area=1หรือ3ทั้งหมด ย้ายออก ไม่อยู่จริง ไม่ได้เปลี่ยนเป็น2 type area0,2,ว่าง type area1,3 type area4 โรงพยาบาลK, ปัญหาคือtype area=1หรือ3 เมื่อรับบริการที่โรงพยาบาลtypeareaต้องลง=4 (มีศูนย์สุขภาพในโรงพยาบาล) นับเป็นในเขตรับผิดชอบ(ตัดซ้ำpcucode,pid) ไม่นับเป็นกลุ่มเป้าหมายจะหมายถึงผู้รับบริการทั้งหมด(ตัดซ้ำCID) ไม่นับเป็นกลุ่มเป้าหมาย(นับรวมเป็นประชากรทั้งหมดที่มีชื่อในทะเบียนบ้าน)
นับผลงานจะไม่นับประชากรในทะเบียนทั้งหมดนับผลงานจะไม่นับประชากรในทะเบียนทั้งหมด แฟ้ม person ที่คอลัมน์ type area เงื่อนไขการอาศัย type area0,2,4 type area1,3 เสียชีวิต ย้าย หายdischar<>9 เงื่อนไขการมีชีวิต ยังมีชีวิตอยู่dischar=9 เงื่อนไขเวลา วันที่รับ/ให้บริการไม่อยู่ในช่วงปีงบประมาณ วันที่รับ/ให้บริการอยู่ในช่วงปีงบประมาณ เงื่อนไขเฉพาะที่กำหนดมาในแต่ละKPI ไม่สามารถนับเป็นผลงานได้ มีรูปแบบข้อมูลตามแฟ้มมาตรฐาน21-43แฟ้ม นับเป็นผลงาน
นับผลงานจะไม่นับประชากรในทะเบียนทั้งหมดนับผลงานจะไม่นับประชากรในทะเบียนทั้งหมด • สาเหตุที่พบ • มีผู้รับบริการที่เสียชีวิตมาเป็นผลงานสาเหตุลงทะเบียนตายแต่ไม่อัพเดทแฟ้ม personวันที่รับบริการไม่อยู่ในช่วงเวลาที่กำหนดหรือในปีงบประมาณไม่ลงบันทึกเงื่อนไขที่KPIกำหนดมา หรือบันทึกแต่ส่งออกไม่ได้ หรือ ส่งออกแล้วไม่มีข้อมูล • สรุป • เงื่อนไขเฉพาะของแต่ละ KPI ไม่มีข้อมูลให้นับ • แนวทางแก้ไข • บันทึกข้อมูลให้ตรงตามเงื่อนไข KPI • บันทึกความครอบคลุมkpiนั้นๆให้ครบ(ศึกษา template kpi เพิ่มเติม) แฟ้ม person ที่คอลัมน์ type area เงื่อนไขการอาศัย type area0,2,4 type area1,3 เสียชีวิต ย้าย หายdischar<>9 เงื่อนไขการมีชีวิต ยังมีชีวิตอยู่dischar=9 เงื่อนไขเวลา วันที่รับ/ให้บริการไม่อยู่ในช่วงปีงบประมาณ วันที่รับ/ให้บริการอยู่ในช่วงปีงบประมาณ เงื่อนไขเฉพาะที่กำหนดมาในแต่ละKPI ไม่สามารถนับเป็นผลงานได้ มีรูปแบบข้อมูลตามแฟ้มมาตรฐาน21-43แฟ้ม นับเป็นผลงาน
ตัวอย่าง ร้อยละผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตได้ดี (ไม่น้อยกว่า 50) สูตรคำนวณ A= จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตได้ดีตามเกณฑ์กำหนด X 100 B = จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนและอยู่ในพื้นที่รับผิดชอบมารับการตรวจติดตามในคลินิกบริการทั้งหมด
การเชื่อมโยงข้อมูลเพื่อประมวลผล KPI • Type Area = 1,3 • 1 = ที่อยู่ตามทะเบียนบ้านในเขตรับผิดชอบและอยู่จริง • 3 = มาอาศัยอยู่ในเขตรับผิดชอบแต่ทะเบียนบ้านนอกเขต แฟ้ม Person B = • ICD 10 (I10 – I159) • Typedis = 03 (ยังรักษาอยู่) • DateDx(ก่อนวันที่ตรวจติดตาม Bp) แฟ้ม Chonic • Date_Serv(ตามช่วงปีงบประมาณ) • SBP < 140 (ความดันช่วงบน) • DBP < 80 (ความดันช่วงล่าง) แฟ้ม Chronic Fu A = ผลงาน KPI
ตัวอย่าง เมื่อได้เงื่อนไขดังกล่าวแล้วจึงจะนับเป็นยอด1คนหรือ 1 reccord ดังคำสั่งต่อไปนี้select –เลือก count(DISTINCT--นับแบบไม่ซ้ำกันของchronic.pcucode,--รหัสสถานบริการและchronic.pid),--เลขทะเบียนfrom--จาก chronic -- แฟ้ม chronicleft joint person ON ..—เชื่อมกับแฟ้มpersonwhere – เข้าเงื่อนไขperson.typearea in (1,3)—สถานะการอาศัยperson.dischar=9 --สถานะการมีชีวิตอยู่chronic.datedx <20131001 -- ปีงบประมาณchronic.chronic between ‘I10’ and ‘E159’,--โรคความดันchronic.typedis = 03,--ยังรักษาอยู่
ตัวอย่าง ประเด็นที่จะต้องตรวจสอบ กรณีผลงานต่ำ 1 ได้มีการตรวจวัดความดันและลงบันทึกไม่สมบูรณ์/ไม่ส่งออกมาในรูปแบบ 21- 43 แฟ้ม จึงไม่มีข้อมูล 2 ได้ตรวจวัดแต่ไม่ได้มีการลงบันทึก จึงไม่มีข้อมูล 3 ไม่มีการตรวจวัด ไม่ได้ลงข้อมูล จึงไม่มีข้อมูล
ตัวอย่าง KPI จากฐานข้อมูล 21/43แฟ้ม
ร้อยละของหญิงฝากครรภ์ครั้งแรกก่อนหรือเท่ากับ 12 สัปดาห์ ไม่น้อยกว่า 60 แฟ้ม : Anc, Person ผลงาน A: หญิงตั้งครรภ์รายใหม่ที่ฝากครรภ์ก่อนหรือเท่ากับ 12 สัปดาห์ - ancno = 1 (ช่วงอายุครรภ์ที่ 1 ) - date_serv (วันที่บริการ) ระหว่าง ‘2013-10-01’ and ‘2014-09-10’ - ga (อายุครรภ์) <= 12 เป้าหมาย B : หญิงตั้งครรภ์รายใหม่ทั้งหมด (คน) - ancno = 1 (ช่วงอายุครรภ์ที่ 1 ) - date_serv (วันที่บริการ) ระหว่าง ‘2013-10-01’ and ‘2014-09-10’
ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ ไม่น้อยกว่า 60 แฟ้ม : Labor, Anc, Person ผลงาน A: จำนวนหญิงคลอดที่ได้รับการดูแลก่อนคลอดครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ของการดูแลผู้ฝาก ครรภ์แนวโน้มใหม่ในช่วงเวลาที่กำหนด - bdate (วันที่คลอด) ระหว่าง ‘2013-10-01’ and ‘2014-09-10’ - ga (อายุครรภ์) ครั้งที่ 1 <= 12 สัปดาห์ ครั้งที่ 2 ระหว่าง 16 ถึง 20 สัปดาห์ ครั้งที่ 3 ระหว่าง 24 ถึง 28 สัปดาห์ ครั้งที่ 4 ระหว่าง 30 ถึง 34 สัปดาห์ ครั้งที่ 5 ระหว่าง 36 ถึง 40 สัปดาห์ เป้าหมาย B: จำนวนหญิงคลอด - bdate (วันที่คลอด) ระหว่าง ‘2013-10-01’ and ‘2014-09-10’
ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ ไม่น้อยกว่า 60 แฟ้ม : Labor, Anc, Person ผลงาน A: จำนวนหญิงคลอดที่ได้รับการดูแลก่อนคลอดครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ของการดูแลผู้ฝาก ครรภ์แนวโน้มใหม่ในช่วงเวลาที่กำหนด - bdate (วันที่คลอด) ระหว่าง ‘2013-10-01’ and ‘2014-09-10’ - ga (อายุครรภ์) ครั้งที่ 1 <= 12 สัปดาห์ ครั้งที่ 2 ระหว่าง 16 ถึง 20 สัปดาห์ ครั้งที่ 3 ระหว่าง 24 ถึง 28 สัปดาห์ ครั้งที่ 4 ระหว่าง 30 ถึง 34 สัปดาห์ ครั้งที่ 5 ระหว่าง 36 ถึง 40 สัปดาห์ เป้าหมาย B: จำนวนหญิงคลอด - bdate (วันที่คลอด) ระหว่าง ‘2013-10-01’ and ‘2014-09-10’
ผลการตรวจสอบการบันทึกและส่งออกข้อมูลวัคซีนผลการตรวจสอบการบันทึกและส่งออกข้อมูลวัคซีน
ร้อยละของเด็ก 0-5 ปีที่ได้รับวัคซีน ระหว่าง ตุลาคม 56 – มีนาคม 57
การตรวจสอบการบันทึกข้อมูล EPI:กรณีศึกษาการบันทึกข้อมูลBCG วัตถุประสงค์ - เพื่อตรวจสอบการบันทึกข้อมูล การนำเข้าและส่งออกข้อมูล 43 แฟ้ม ของ CUP (รพ./PCU/รพ.สต.) - เพื่อรับทราบปัญหาอุปสรรคและหาแนวทางแก้ไขปัญหา
ผลการตรวจสอบ ดำเนินการตรวจสอบในพื้นที่ 4 CUP -รพ.บ้านไผ่ รพ.พล รพ.พระยืนและรพ.สีชมพู
ผลการตรวจสอบ ด้านการบันทึกและส่งออกข้อมูล -มีการบันทึกข้อมูล BCG ในโปรแกรมบริการ รพ./PCU/รพ.สต. แต่ไม่ส่งออกและ/หรือส่งออกไม่ครบถ้วน -มี รพ.1 แห่งที่ไม่มีการบันทึกและส่งออกข้อมูล BCG ในรพ.สต./PCU -ไม่ได้ตรวจสอบ/ระบบการตรวจสอบการส่งออกว่าส่งออกได้ครบถ้วนหรือไม่ -การบันทึกขาดความครบถ้วน ไม่ได้การเก็บข้อมูลความครอบคลุมมาลง บันทึกเฉพาะวัคซีนที่มารับบริการ -กลุ่มเป้าหมายไม่ครบถ้วน ถูกต้อง
ผลการตรวจสอบ ด้านเทคนิคการส่งออก พบว่าหน่วยบริการเลือกช่องการส่งออกการส่งออกไม่ถูกต้อง ส่งผลให้ข้อมูลไม่ถูกส่งออกมา ส่งออกทั้งหมด ครั้งเดียว ตอนปรับปรุงเวอร์ชัน ส่งออกตามวันที่ส่ง แก้ไข/ปรับปรุง ในช่วงวัน
ข้อเสนอแนะ • ตรวจสอบเวอร์ชั่นของโปรแกรมให้เป็นปัจจุบัน (jhcis v 19 พ.ย. 56) • ตรวจสอบและปรับปรุงกลุ่มเป้าหมาย (แฟ้ม PERSON)ให้ถูกต้อง เป็นปัจจุบัน • จัดระบบการตรวจสอบการบันทึก การส่งออก และการนำเข้าข้อมูลอย่างต่อเนื่อง • เก็บรวบรวมข้อมูลให้ครบถ้วน ถูกต้อง ทั้งความครอบคลุมและ • ที่ให้บริการ • ศึกษาทำความเข้าใจปุ่มที่ใส่งออกข้อมูลให้ถูกต้องและตรวจสอบ • การนำเข้าข้อมูลที่ DATA CENTER ของจังหวัดทุกครั้ง • จัดระบบการแลกเปลี่ยนข้อมูลการให้บริการวัคซีน ระหว่าง • รพ.และ รพ.สต. ในเครือข่าย
ร้อยละของเด็ก 0-1 ปี ได้รับวัคซีนทุกประเภทตามเกณฑ์ BCG ของ CUP เปรียบเทียบก่อนและหลังการตรวจสอบ
‘‘ not 4 NO ’’ 1. No key ไม่คีย์ความครอบคลุมในหัวข้อตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้อง ไม่มีข้อมูลให้นับ 2. No tick ไม่ติ๊กหัวข้อ รูปแบบการส่งออกให้ถูกต้อง แบบทั้งหมด หรือส่งเฉพาะปรับปรุง 3. No check ส่งออกแล้วไม่ตรวจสอบข้อมูลก่อน upload เข้าprovis , hdc 4. No copy ไม่เก็บไฟล์ที่ส่งเข้าprovis , hdcไว้ตรวจสอบกับจังหวัด