320 likes | 525 Views
โครงการส่งเสริม การใช้น้ำร้อนพลังงานแสงอาทิตย์ ด้วยระบบผสมผสานปีที่ 2. บริษัท ปัญญา คอนซัลแตนท์ จำกัด ร่วมกับ บริษัท เอ็นโซล จำกัด. Out line. ความเป็นมาของโครงการ คุณสมบัติผู้ขอรับการสนับสนุนฯ หลักเกณฑ์การสนับสนุนฯ เงื่อนไขการดำเนินงาน ขั้นตอนการสนับสนุน ร่างแบบขอรับการสนับสนุน.
E N D
โครงการส่งเสริมการใช้น้ำร้อนพลังงานแสงอาทิตย์ด้วยระบบผสมผสานปีที่ 2 บริษัท ปัญญา คอนซัลแตนท์ จำกัด ร่วมกับ บริษัท เอ็นโซล จำกัด www.themegallery.com
Out line • ความเป็นมาของโครงการ • คุณสมบัติผู้ขอรับการสนับสนุนฯ • หลักเกณฑ์การสนับสนุนฯ • เงื่อนไขการดำเนินงาน • ขั้นตอนการสนับสนุน • ร่างแบบขอรับการสนับสนุน
วัตถุประสงค์ของโครงการฯวัตถุประสงค์ของโครงการฯ สถานการณ์ปัจจุบัน • กิจการต่างๆ ที่มีความจำเป็นในการใช้น้ำร้อนในกระบวนการผลิตหรือการบริการ • การใช้พลังงานอย่างไม่เหมาะสมและต้นทุนการผลิตน้ำร้อนสูง โดยเฉพาะอย่างยิ่งส่วนใหญ่มีการต้มโดยใช้พลังงานสิ้นเปลือง วัตถุประสงค์ • เพื่อให้มีการใช้พลังงานแสงอาทิตย์ผลิตน้ำร้อนในกิจการธุรกิจภาคต่างๆ • เพื่อเป็นการกระตุ้นให้เกิดการลงทุนใช้ระบบผลิตน้ำร้อนด้วยพลังงานแสงอาทิตย์อย่างแพร่หลาย
ระยะเวลาโครงการ 15 เดือน(มกราคม 2551 ถึง เมษายน 2552) • ผู้สนใจสามารถยื่นใบสมัครได้ จนถึงวันที่ 30 กันยายน 2551 หรือจนกว่าเงินสนับสนุนจะหมด (ผู้สนใจที่ยื่นใบสมัครไม่ทันกำหนด สามารถยื่นใบสมัครต่อได้ โดยจะนำใบสมัครมาพิจารณาในโครงการในปีต่อไป)
รูปแบบโครงการฯ การสนับสนุนการศึกษาความเป็นไปได้ และการออกแบบเบื้องต้น สนับสนุนการศึกษา และออกแบบสำรวจเบื้องต้น สำหรับผู้ประกอบการที่เข้าหลักเกณฑ์ การสนับสนุนเพื่อการลงทุน สนับสนุนเงินลงทุนแบบให้เปล่า สำหรับ สถานประกอบการ และโครงการที่มี คุณสมบัติผ่านเกณฑ์
ผลที่จะได้รับ (พ.ศ.2551-2554) • สนับสนุนการลงทุนติดตั้งระบบทำน้ำร้อนพลังงานแสงอาทิตย์ • เป็นพื้นที่ Solar Collecterไม่น้อยกว่า 5,000 ตร.ม. • สามารถทดแทนการใช้น้ำมันไม่น้อยกว่า 5 ktoe/ปีในปี 2554 เป้าหมาย • ให้การสนับสนุนและส่งเสริมสำหรับกิจการที่ใช้น้ำร้อนเป็นวัตถุดิบ เช่น โรงแรม โรงพยาบาล • โรงงาน อาคารธุรกิจ เป็นต้น • สนับสนุนศึกษา Pre Feasibility Study และ Preliminary Design • สนับสนุนค่าลงทุนระบบผลิตน้ำร้อนพลังงานแสงอาทิตย์ไม่เกิน30 %
การสัมมนาเพื่อรับฟังความคิดเห็นการสัมมนาเพื่อรับฟังความคิดเห็น • วันสัมมนา: วันพุธที่ 2 เมษายน 2551 • สถานที่: โรงแรมเดอะทวิน ทาวเวอร์
การประชาสัมพันธ์โครงการครั้งที่ 1 • วันที่ 23 เมษายน 2551 • สถานที่: โรงแรมเดอะทวิน ทาวเวอร์
การประชาสัมพันธ์โครงการครั้งที่ 2 • วันที่ 25 เมษายน 2551 • สถานที่: โรงแรมเมอร์ริออตหัวหิน จ.ประจวบคีรีขันธ์
คุณสมบัติผู้ขอรับการสนับสนุนฯคุณสมบัติผู้ขอรับการสนับสนุนฯ
คุณสมบัติผู้ขอรับการสนับสนุนคุณสมบัติผู้ขอรับการสนับสนุน • เป็นกิจการ โรงแรม โรงพยาบาลหรืออาคารธุรกิจหรือโรงงานที่ใช้น้ำร้อนในการผลิตหรือการให้บริการและมีความประสงค์จะใช้ระบบผลิตน้ำร้อนพลังงานแสงอาทิตย์ด้วยระบบผสมผสาน • มีความพร้อมในการลงทุนในเทคโนโลยีพลังงานทดแทนหรือพลังงานสะอาดเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพพลังงานโดยรวม และต้องได้รับการสนับสนุนจากผู้บริหารระดับสูงซึ่งเป็นผู้มีอำนาจลงนาม ในการยืนยันเข้าร่วมโครงการ • เป็นนิติบุคคลที่จัดตั้งตามกฎหมายไทย
หลักเกณฑ์การสนับสนุนฯหลักเกณฑ์การสนับสนุนฯ
หลักเกณฑ์การสนับสนุนลงทุนหลักเกณฑ์การสนับสนุนลงทุน • ต้องเป็นระบบทำน้ำร้อนพลังงานแสงอาทิตย์แบบผสมผสานกับความร้อนเหลือทิ้ง เช่น • ความร้อนเหลือทิ้งจากชุดระบายความร้อนของเครื่องปรับอากาศแบบอัดไอ (condensing unit) • ความร้อนเหลือทิ้งจากชุดระบายความร้อนของตู้แช่ • ความร้อนเหลือทิ้งจากปล่องไอเสียของหม้อไอน้ำ (boiler) • ความร้อนเหลือทิ้งจากท่อไอเสียเครื่องกำเนิดไฟฟ้าดีเซล • ความร้อนเหลือทิ้งจากเครื่องอัดอากาศ • หรือความร้อนเหลือทิ้งอื่นๆ ที่สามารถใช้ในการผลิตน้ำร้อนได้
หลักเกณฑ์การให้การสนับสนุนหลักเกณฑ์การให้การสนับสนุน 2. ให้เงินสนับสนุนการลงทุนเฉพาะระบบผลิตน้ำร้อนพลังงานแสงอาทิตย์ ประกอบด้วย • ตัวรับรังสีแสงอาทิตย์ • ถังเก็บน้ำร้อน • ระบบท่อ • ระบบควบคุมการทำงาน
หลักเกณฑ์การให้การสนับสนุนหลักเกณฑ์การให้การสนับสนุน 3. วงเงินสนับสนุนการลงทุนระบบผลิตน้ำร้อนแสงอาทิตย์ • 4,500 บาทต่อตารางเมตรของตัวรับรังสีแสงอาทิตย์ • สำหรับตัวรับรังสีแบบแผ่นเรียบคิดที่ พื้นที่ช่องรับแสง (Aperture Area) • สำหรับตัวรับรังสีแบบสูญญากาศ คิดที่พื้นที่รวมสุทธิ(Gross Area) • สำหรับอุปกรณ์ที่มีค่าพลังงานแสงอาทิตย์เฉลี่ยที่ตัวรับรังสีผลิตได้ในรอบปีมีค่าตั้งแต่ 800 kWh/m2.ปี ขึ้นไป • ค่าพลังงานแสงอาทิตย์เฉลี่ยของตัวรับรังสีที่ผลิตได้ในรอบปี อ้างอิงภายใต้สภาวะเงื่อนไข ในหมายเหตุ
หลักเกณฑ์การให้การสนับสนุนหลักเกณฑ์การให้การสนับสนุน 3. วงเงินสนับสนุนการลงทุนระบบผลิตน้ำร้อนแสงอาทิตย์ • 3,000 บาทต่อตารางเมตรของตัวรับรังสีแสงอาทิตย์ • สำหรับตัวรับรังสีแบบแผ่นเรียบคิดที่ พื้นที่ช่องรับแสง (Aperture Area) • สำหรับตัวรับรังสีแบบสูญญากาศ คิดที่พื้นที่รวมสุทธิ(Gross Area) • สำหรับอุปกรณ์ที่มีค่าพลังงานแสงอาทิตย์เฉลี่ยที่ตัวรับรังสีผลิตได้ในรอบปีมีค่าต่ำกว่า 800 แต่ไม่ต่ำกว่า 500 kWh/m2.ปี • ค่าพลังงานแสงอาทิตย์เฉลี่ยของตัวรับรังสีที่ผลิตได้ในรอบปี อ้างอิงภายใต้สภาวะเงื่อนไข ในหมายเหตุ
หลักเกณฑ์การให้การสนับสนุนหลักเกณฑ์การให้การสนับสนุน 4. ให้การสนับสนุนการลงทุนระบบผลิตน้ำร้อนแสงอาทิตย์ขั้นต่ำไม่น้อยกว่า 40 ตารางเมตรของพื้นที่รับแสง และขั้นสูงไม่เกิน 500 ตารางเมตรหรือวงเงินไม่เกิน 2,250,000 ล้านบาทหรือตามแต่ดุลยพินิจของคณะกรรมการ
หลักเกณฑ์การให้การสนับสนุนหลักเกณฑ์การให้การสนับสนุน 5. ระบบทำน้ำร้อนพลังงานแสงอาทิตย์ด้วยระบบผสมผสานที่ได้ติดตั้งอุปกรณ์ไปแล้ว ไม่สามารถขอรับเงินสนับสนุนจากโครงการนี้ได้ ซึ่งโครงการที่ให้การสนับสนุนเป็นได้ทั้งโครงการใหม่และโครงการปรับปรุงเปลี่ยนตัวรับรังสีแสงอาทิตย์ใหม่ หรือการเพิ่มขนาดหรือกำลังผลิต โดยมีระยะเวลาคืนทุนไม่เกิน 5 ปี
หลักเกณฑ์การให้การสนับสนุนหลักเกณฑ์การให้การสนับสนุน • สภาวะเงื่อนไข เพื่อการประเมินค่าพลังงานแสงอาทิตย์เฉลี่ยของตัวรับรังสีที่ผลิตได้ในรอบปี • อุณหภูมิอากาศแวดล้อม (Ta) 35°C • อุณหภูมิของไหลที่ไหลเข้าตัวรับรังสีแสงอาทิตย์ (Ti) 30 °C • อุณหภูมิของไหลที่ไหลออกจากตัวรับรังสีแสงอาทิตย์ (To) 60 °C • ค่าความเข้มแสงอาทิตย์ที่ 800 W/m2 • ค่าพลังงานแสงอาทิตย์เฉลี่ยรายปีของประเทศไทย 1,800 kWh/m2
หลักเกณฑ์การให้การสนับสนุนหลักเกณฑ์การให้การสนับสนุน ผลการทดสอบตัวรับรังสีแสงอาทิตย์ เฉลี่ย 45% ที่มา : มหาวิทยาลัยนเรศวร
Y Y X X หลักเกณฑ์การให้การสนับสนุน • แผ่นรับแสงแบบแผ่นเรียบ • (Flat plate collector) 2. หลอดแก้วสุญญากาศ (Evacuated tube collector)
เงื่อนไขในการดำเนินงานเงื่อนไขในการดำเนินงาน • ต้องดำเนินการติดตั้งอุปกรณ์ให้แล้วเสร็จภายใน 6 เดือน นับตั้งแต่วันที่ พพ. แจ้งอนุมัติการสนับสนุน มิฉะนั้น พพ. มีสิทธิ์บอกเลิกการให้การสนับสนุน • พพ. จะพิจารณาใบสมัครของผู้ที่ยื่นใบสมัครตามลำดับก่อนหลัง ซึ่งจะดูจากความถูกต้องสมบูรณ์ของใบสมัคร และเอกสารประกอบ • การพิจารณาให้การสนับสนุนของคณะกรรมการถือเป็นที่สิ้นสุด ผู้ขอรับการสนับสนุนไม่อาจเรียกร้องใดๆ ได้ • ผู้ขอรับการสนับสนุนในโครงการนี้ จะขอรับการสนับสนุนซ้ำซ้อนกับโครงการสนับสนุนอื่นๆ ของ พพ. ไม่ได้
เงื่อนไขในการดำเนินงานเงื่อนไขในการดำเนินงาน 5. เอกสารประกอบการขอรับการสนับสนุน ประกอบด้วย • แบบขอรับการสนับสนุนฯ • ผลการศึกษาความเป็นไปได้เบื้องต้นและแบบเบื้องต้น • เอกสารด้านเทคนิคประกอบการพิจารณา เช่น คุณสมบัติเฉพาะ (Specifications) อายุการใช้งาน ใบรับรองมาตรฐาน ผลทดสอบสมรรถนะ จากสถาบันทดสอบที่เชื่อถือได้ ตามมาตรฐาน ASHRAE 93 หรือมาตรฐานอื่นๆ ที่เทียบเท่า การหุ้มฉนวนในระบบท่อส่งน้ำร้อน และรายการคำนวณการประหยัดพลังงานระยะเวลาคืนทุนและแบบแสดงการติดตั้ง • ภาพถ่ายจุดอ้างอิงที่ถาวรแสดงอยู่บนรูปเพื่อเปรียบเทียบกับรูปถ่ายหลังจากการติดตั้งแล้ว
เงื่อนไขในการดำเนินงานเงื่อนไขในการดำเนินงาน 5. เอกสารประกอบการขอรับการสนับสนุน ประกอบด้วย (ต่อ) • แผนการดำเนินการติดตั้งและแผนการบำรุงรักษา • เอกสารการรับประกันการใช้งานระบบ อย่างน้อย 1 ปี และตัวรับรังสีแสงอาทิตย์ อย่างน้อย 5 ปี • หนังสือรับรองความปลอดภัยในการออกแบบและติดตั้ง • หนังสือรับรองความปลอดภัยในการออกแบบและติดตั้ง • รายละเอียดแสดงการติดตั้ง อุปกรณ์วัดพลังงานที่ผลิตได้ของระบบ เช่น อุปกรณ์วัดการไหลของน้ำเข้าระบบผลิต และการติดตั้งอุปกรณ์วัดอุณหภูมิน้ำร้อนของระบบฯเป็นต้น พร้อมทั้งจัดส่งรายงานสรุปผลการดำเนินการติดตั้งและทดสอบ
ขั้นตอนการขอรับการสนับสนุนขั้นตอนการขอรับการสนับสนุน
แผนผังการขอรับการสนับสนุนลงทุนติดตั้งระบบผลิตน้ำร้อนพลังงานแสงอาทิตย์(1/2)แผนผังการขอรับการสนับสนุนลงทุนติดตั้งระบบผลิตน้ำร้อนพลังงานแสงอาทิตย์(1/2) 1 2 ขอรับแบบการขอรับการสนับสนุน จัดทำและแก้ไขแบบการรับการสนับสนุนตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด ประสานงานการขอรับการสนับสนุน 3 รับแบบการขอรับการสนับสนุน 4 ตรวจสอบแบบตามหลักเกณฑ์เงื่อนไขแผนดำเนินงาน ไม่ถูกต้อง (ภายใน 7 วันทำการนับจากรับแบบฯ) ถูกต้อง 5 (รวบรวมให้ครบ 5 รายหรือภายใน 10 วันทำการนับจากตรวจสอบเอกสารถูกต้อง) สรุปและแก้ไขเอกสาร รายงานเตรียมประชุม ไม่ผ่าน 6 ประชุมคณะกรรมการพิจารณาเห็นชอบขอรับการสนับสนุน ผ่าน
แผนผังการขอรับการสนับสนุนลงทุนติดตั้งระบบผลิตน้ำร้อนพลังงานแสงอาทิตย์(2/2)แผนผังการขอรับการสนับสนุนลงทุนติดตั้งระบบผลิตน้ำร้อนพลังงานแสงอาทิตย์(2/2) 6 ประชุมคณะกรรมการพิจารณาเห็นชอบขอรับการสนับสนุน ผ่าน แจ้งผล / สัญญา 7 8 ดำเนินการติดตั้งให้แล้วเสร็จใน 6 เดือน แจ้งผลการพิจารณา แจ้งยืนยัน (ภายใน 7 วันทำการ นับจากคณะกรรมการฯเห็นชอบ) 9 แจ้งผล ตรวจสอบการติดตั้ง (ภายใน 7 วันทำการ นับจากได้รับแจ้งผล) 10 11 ดำเนินการเบิกจ่ายเงิน รับเงินสนับสนุนและแจ้งตอบ
ข้อเสนอแนะในการดำเนินการข้อเสนอแนะในการดำเนินการ • การออกแบบติดตั้งระบบควรพอดีกับปริมาณการใช้งานจริง • การเลือกใช้ระบบและอุปกรณ์ ควรมีมาตรฐานและมีโครงการอ้างอิงเป็นที่ประจักษ์ • การรับประกันผลงานในด้านต่างๆ ของผู้ขาย อาจพิจารณาข้อเสนอที่น่าสนใจ เช่นการรับประกันพลังงานที่ผลิตได้ หรือการรับประกันผลประหยัดเป็นต้น • การติดตั้งต้องคำนึงถึงความปลอดภัยและการบำรุงรักษาที่สะดวก
ร่างแบบขอรับการสนับสนุนร่างแบบขอรับการสนับสนุน
โครงการศึกษาเทคโนโลยีการผลิตน้ำร้อนด้วยระบบผสมผสานโครงการศึกษาเทคโนโลยีการผลิตน้ำร้อนด้วยระบบผสมผสาน พลังงานแสงอาทิตย์ในโรงพยาบาลและโรงแรม พพ. ได้ติดตั้งต้นแบบระบบผลิตน้ำร้อนแบบผสมผสานระหว่างพลังงานแสงอาทิตย์กับพลังงานความร้อนเหลือทิ้งจากเครื่องปรับอากาศ ผลการติดตั้งทดสอบระบบฯ 1. โรงพยาบาลแกลง จ.ระยอง - จำนวนแผงรับรังสีแสงอาทิตย์ 12 แผง - ขนาดเครื่องปรับอากาศ 48,000 Btu/hr 1 ชุด - ต้นทุนการผลิตน้ำร้อน 0.0496 บาท/ลิตร - ระยะเวลาคืนทุนประมาณ 2 ปี 2. โรงแรมดุสิตไอส์แลนด์รีสอร์ท จ.เชียงราย -จำนวนแผงรับรังสีแสงอาทิตย์ 32 แผง -ขนาดเครื่องปรับอากาศ 19,000 Btu/hr 1 ชุด 22,000 Btu/hr 1 ชุด -ต้นทุนการผลิตน้ำร้อน 0.0459 บาท/ลิตร -ระยะเวลาคืนทุนประมาณ 2 ปี โรงแรมฯ ได้ดำเนินการติดตั้งระบบเพิ่มจนได้รับ รางวัล Thailand Energy Award 2007 และ ASEANEnergy Award2007 www.themegallery.com
Thank You ! www.themegallery.com