310 likes | 550 Views
งานวิจัยระบบส่งเสริมการเกษตร 2551. นำเสนอโดย นางสุกัญญา อธิปอนันต์ ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนางานวิจัยด้านส่งเสริมการเกษตร. ความสำคัญและที่มาของปัญหา. การมีส่วนร่วม ทุกภาคส่วน
E N D
งานวิจัยระบบส่งเสริมการเกษตร 2551 นำเสนอโดย นางสุกัญญา อธิปอนันต์ ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนางานวิจัยด้านส่งเสริมการเกษตร
ความสำคัญและที่มาของปัญหาความสำคัญและที่มาของปัญหา การมีส่วนร่วม • ทุกภาคส่วน • กระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน (รวมคน ร่วมคิด ร่วมตัดสินใจ ร่วมดำเนินการ และร่วมรับผลปฏิบัติการ) บทบาทของ กสก. • ส่งเสริมและพัฒนาให้เกษตรกรและสถาบันเกษตรกรเข้มแข็ง พึ่งพาตนเองได้ • กสก.ปรับปรุงระบบให้สอดคล้องกับสถานการณ์การพัฒนาข้างต้น • ประกาศใช้ระบบส่งเสริมการเกษตรใหม่ (พค. 2551) • เน้นระบบปฏิบัติงานในพื้นที่(กษอ.+ทีมงาน • กษอ.เป็นแกนหลักในการทำงานและเรียนรู้ร่วมกัน การกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น • ถ่ายโอนภารกิจสู่ อปท. • เกษตรกรได้รับบริการตรงตามความต้องการ • กวพ. ตระหนักถึงความสำคัญของระบบส่งเสริมการเกษตรที่ปรับปรุงใหม่ที่มีต่อการดำเนินงาน ของกรมส่งเสริมการเกษตร จึงทำวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมกับเจ้าหน้าที่ในระดับอำเภอ โดย เน้นกระบวนการทำงานของเจ้าหน้าที่ระดับอำเภอ เพื่อ เป็นแนวทางวางแผนพัฒนาระบบส่งเสริมการเกษตรให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
วัตถุประสงค์ • เพื่อศึกษาและพัฒนากระบวนการทำงานส่งเสริมการเกษตร • ของสำนักงานเกษตรอำเภอ • เพื่อศึกษาปัจจัยสนับสนุนและปัจจัยอุปสรรคในการดำเนินงาน • ส่งเสริมการเกษตรในระดับพื้นที่
พื้นที่ดำเนินการวิจัยพื้นที่ดำเนินการวิจัย
1.สนง.กษอ.มีฐานข้อมูลในระดับอำเภอที่สามารถใช้ในการกำหนดแนวทางการพัฒนาและสะท้อนให้เข้าใจสภาพพื้น1.สนง.กษอ.มีฐานข้อมูลในระดับอำเภอที่สามารถใช้ในการกำหนดแนวทางการพัฒนาและสะท้อนให้เข้าใจสภาพพื้น ที่ในมิติต่าง ๆ ที่ชัดเจนเป็นปัจจุบัน 2.สนง.กษอ.มีเป้าหมายร่วมในการพัฒนา พร้อมแผนหรือแนวทางพัฒนาในระดับอำเภอ ในระยะสั้นและระยะยาว 3.สนง.กษอ.มีทีมงานในการทำงานและเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม 1.สนง.กษอ.มีความพร้อมของฐานข้อมูลด้านการเกษตรระดับอำเภอ และมีทีมงานที่มีเป้าหมายการทำงานร่วมกันอย่างชัดเจน 2. มีแผนพัฒนาการเกษตรที่สามารถนำไปปฏิบัติได้เองโดยชุมชน 3. สามารถบูรณาการแผนพัฒนาการเกษตรเข้ากับแผนพัฒนาท้องถิ่นของอปท. 4. มีกระบวนการเรียนรู้ด้านการเกษตรเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องยั่งยืนในชุมชน 5. เกษตรกรได้รับข้อมูลข่าวสารและบริการทางการเกษตรอย่างรวดเร็ว ทั่วถึง ทันสมัย และเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาการเกษตร 6. มีการประเมินผลโดยชุมชน และนำผลไปปรับปรุงงาน 7. ชุมชนมีส่วนร่วมในการดำเนินงาน กลุ่มอาชีพ/เครือข่ายได้รับการพัฒนาให้เข้มแข็งและยั่งยืน อำเภอ ผลที่ต้องการให้เกิดขึ้น ตำบล ข้อมูล แผน ศบกต. การบริการ การเรียนรู้ โครงการวิจัยระบบส่งเสริมการเกษตร ปี 2551 เสริมหนุน
วิธีการดำเนินการวิจัยวิธีการดำเนินการวิจัย • ประชากร - สำนักงานเกษตรอำเภอที่ดำเนินงานตามระบบส่งเสริมการเกษตรที่ ปรับปรุงใหม่ปี 2551 • กลุ่มตัวอย่าง - คัดเลือกจังหวัดแบบเฉพาะเจาะจงจาก 6 เขต - คัดเลือกอำเภอ จังหวัดละ 1 อำเภอ • ระเบียบวิธีวิจัย - การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (PAR) - เก็บรวบรวมข้อมูล 1) โดยการจัดเวทีแลกเปลี่ยนระหว่าง กษอ.,นวส.ในอำเภอ 2) ใช้การสรุปบทเรียนระหว่างผู้เกี่ยวข้องในกระบวนการวิจัย 3) สังเกตการณ์และจดบันทึก - เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูล คำถามแบบกึ่งโครงสร้าง, mind map, กล้องถ่ายรูป, แบบบันทึกเสียง, และสมุดบันทึกภาคสนาม - การวิเคราะห์ข้อมูล เปรียบเทียบข้อมูล 6 จังหวัด วิเคราะห์ สังเคราะห์ เป็นภาพรวมของทั้งประเทศ
ขั้นตอนดำเนินการวิจัยขั้นตอนดำเนินการวิจัย ขั้นที่ 1 ขั้นเตรียมการวางแผนพัฒนาโครงการวิจัยและสร้างความเข้าใจระหว่างทีมวิจัย • 1.1 ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง • แนวคิด แนวทาง และนโยบายการพัฒนาระบบส่งเสริมการเกษตรของประเทศ • ตย.งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เช่น การวิจัยต้นแบบระบบส่งเสริมการเกษตรแบบมี ส่วนร่วม เป็นต้น • 1.2 สรรหาทีมวิจัยของจังหวัด และส่วนกลาง • 1.3 คัดเลือกจังหวัดและอำเภอเป้าหมายที่จะเข้าร่วมการทำวิจัย • 1.4 คณะทำงานวิจัยส่วนกลางร่วมกันพัฒนาโครงการวิจัย และวางแผนการ • ดำเนินงาน
ขั้นตอนดำเนินการวิจัย (ต่อ) ขั้นที่ 2 ขั้นดำเนินการ ทีมวิจัยระดับอำเภอ ทีมวิจัยส่วนกลาง • เมื่อได้รับคำชี้แจงการทำวิจัย ทีมวิจัยร่วมกัน วิเคราะห์สถานการณ์ที่เป็นจริงในพื้นที่ • วางแผนดำเนินงานเพื่อ • แบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ • กำหนดวันที่จะทำการวิจัย โดยนำเรื่องการวิจัยระบบส่งเสริมการเกษตรเข้าร่วมในการประชุมของอำเภอในทุกสัปดาห์ ๆ ละ 1 ครั้ง • กำหนดผู้ทำหน้าที่จดบันทึก และวิทยากรกระบวนการ • ชี้แจงโครงการวิจัยแก่ทีมวิจัยทั้ง 6 อำเภอ • สำรวจข้อมูลสถานการณ์เบื้องต้นในการดำเนินงานตามระบบส่งเสริมการเกษตรของทั้ง 6 อำเภอ • พัฒนาตัวชี้วัดหลังจากลงพื้นที่ และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สรุปบทเรียน เพื่อวิเคราะห์ผลการวิจัยเบื้องต้น
ชี้แจงโครงการวิจัยให้ทีมวิจัย อ.บางปลาม้า จ.สุพรรณบุรี
ชี้แจงโครงการวิจัยให้ทีมวิจัย อ.บางบาล จ.อยุธยา
ชี้แจงโครงการวิจัยให้ทีมวิจัย อ.องครักษ์ จ.นครนายก
ชี้แจงโครงการวิจัยให้ทีมวิจัย อ.เมือง จ.บุรีรัมย์
ชี้แจงโครงการวิจัยให้ทีมวิจัย อ.วังวิเศษ จ.ตรัง
ชี้แจงโครงการวิจัยให้ทีมวิจัย อ.แม่ทา จ.ลำพูน
ขั้นตอนดำเนินการวิจัย (ต่อ) ขั้นที่ 3 ขั้นติดตามงาน • ทีมวิจัยส่วนกลางโดยผู้รับผิดชอบแต่ละจังหวัดเข้าร่วมเวทีวิจัยตามแผนที่อำเภอวางไว้ • ทีมวิจัยส่วนกลางถ่ายทอดความรู้เพื่อใช้ในกระบวนการวิจัยแก่ทีมวิจัย ระดับอำเภอ เช่น การเขียนแผนที่ความคิด การเขียนรายงานการวิจัย เป็น ต้น • ทีมวิจัยส่วนกลางร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับทีมวิจัยของอำเภอ
ขั้นตอนดำเนินการวิจัย (ต่อ) ขั้นที่ 4 ขั้นสรุปผลและรายงาน ทีมวิจัยระดับอำเภอ ทีมวิจัยส่วนกลาง
ผลการวิจัย 1.กระบวนการทำงาน เจ้าหน้าที่ระดับอำเภอ วิเคราะห์ ข้อมูลร่วมกัน ฐานข้อมูล แยกเป็นตำบล แบ่งความรับผิดชอบ งานชัดเจน นำมารวมเล่มเป็น แผน ฯ ตำบล อ.เมือง จ.บุรีรัมย์ นำข้อมูลมาวิเคราะห์ร่วมกันในวันประชุมประจำสัปดาห์ ทำงานเป็นทีม วิเคราะห์ หาเป้าหมายร่วม ของ สนง.กษอ. อ.องครักษ์ จ.นครนายก จัดทีมเข้าร่วมประชุม ศบกต. อ.เมือง จ.บุรีรัมย์ ประชุมทุกวันจันทร์เพื่อวางแผนการทำงานของอำเภอ อ.บางบาล จ.อยุธยา จัดทีมถ่ายทอดเทคโนโลยี อ.วังวิเศษ จ.ตรังวิเคราะห์ว่าควรส่งเสริมเรื่องปาล์มน้ำมัน โดยใช้เป็นพืชที่ทำตามระบบส่งเสริม เพื่อใช้เป็น model ของพืชอื่น ๆ
ผลการวิจัย (ต่อ) 2. การจัดทำข้อมูล การเกษตร 1.ชนิดของข้อมูล 4. การนำไปใช้ แบบฟอร์ม 2.วิธีการจัดเก็บ จัดทำแผน ฯ อำเภอ เข้าสู่ อปท. ช่วยเหลือ ผู้ประสบภัย ธรรมชาติ • กสก. • จ./อ. • หน่วยงาน อื่น ๆ ในพื้นที่ 3.การตรวจสอบ ความถูกต้อง ของข้อมูล ในสนง. • ศบกต. • อสม.เกษตร เอกสารสิทธิ์ เวที ประชาคม • แฟ้ม • คอมพิวเตอร์ • รูปเล่ม ประสานหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง ร่วมตรวจสอบ
การจัดเก็บข้อมูลการเกษตรการจัดเก็บข้อมูลการเกษตร
2. การจัดทำข้อมูล การเกษตร ชนิดข้อมูล วิธีการจัดเก็บ การตรวจสอบ ความถูกต้องของข้อมูล การนำไปใช้
3. การจัดทำแผนพัฒนา การเกษตรระดับตำบล จัดเวทีประชาคม ระดับหมู่บ้าน วิเคราะห์ความต้องการ ประชุม ศบกต.รวบรวม ปัญหาความต้องการ จัดทำแผน ฯ เข้าสู่ อบต. วางแผนปฏิบัติการ ขอรับการสนับสนุน จาก กสก. นำเข้าเวทีประชาคม ครั้งต่อไป ได้ ไม่ได้
จัดทำแผนพัฒนาการเกษตรระดับตำบลจัดทำแผนพัฒนาการเกษตรระดับตำบล
4.การจัดการเรียนรู้/ การถ่ายทอดเทคโนโลยี ที่มีประสิทธิภาพ กรม/เขต/จ.ควร สนับสนุนบางส่วน แผนงาน/ โครงการ กสก. ความสามารถเจ้าหน้าที่ ในการจัดการเรียนรู้ แผนงาน/โครงการที่ ได้รับการสนับสนุนตามแผน พัฒนาการเกษตรระดับตำบล เครื่องมือ/ อุปกรณ์ล้าสมัย บางครั้งไม่ตรง ตามความต้องการ ของเกษตรกร มีภารกิจอื่นมาก ไม่สามารถดำเนินการ ตามแผน จนท.บางคนขาดทักษะ และความรู้ในการ จัดการการ เรียนรู้ วิเคราะห์ศักยภาพพื้นที่ ก่อนกำหนดนโยบาย ปูพรม ตรง ตามความต้องการ ของเกษตรกร ประสานงาน/ปชส. ภารกิจหลักของนวส. กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กรม/เขต/จ.กำหนด แผนพัฒนาบุคลากร ที่ชัดเจน
จัดการเรียนรู้/การถ่ายทอดเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพจัดการเรียนรู้/การถ่ายทอดเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพ
5. การให้บริการทางการเกษตร ณ ศบกต. จนท.ไม่เพียงพอ/ขาดความรู้ เรื่องงานส่งเสริมฯ แก้ปัญหาแก่เกษตรกร เพิ่มอัตรากำลัง/ จัดอบรม ตามภารกิจของเจ้าหน้าที่ พื้นที่ให้บริการไม่สะดวก และอบต.บางแห่ง ไม่ปฏิบัติตาม MOU ไม่สามารถให้บริการ เบ็ดเสร็จ ณ จุดเดียว เกษตรกร ได้รับความสะดวก บูรณาการการปฏิบัติงาน ส่วนราชการทุกระดับ อย่างจริงจัง ประสานงานระหว่าง กสก.กับ อปท. ชัดเจน เป็นรูปธรรม
ผลที่เกิดขึ้น ความสัมพันธ์ที่ดีของทีมวิจัย ได้แนวทางพัฒนางาน ในอำเภอ จากการทำ PAR ทราบสถานการณ์ การทำงานของอำเภอ สนง.กษอ. วางแผนพัฒนาระบบฯ จากข้อมูลวิจัย ทราบสถานการณ์ ระบบฯ ของจังหวัด สนง.กษจ. องค์กร เขต ทราบสถานการณ์ ระบบฯ ของเขต ได้แนวทางระบบฯ ไปใช้ในจังหวัดอื่น ๆ กรมฯ ทราบสถานการณ์ ที่แท้จริงของระบบ ฯ ได้แนวทางปรับระบบ ฯ ที่มีปสภ.
ผลที่เกิดขึ้น บุคลากร อำเภอ จนท.ที่เข้าร่วม ทีมวิจัย พัฒนาทักษะต่าง ๆ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระหว่างทีมงาน จังหวัด จับประเด็น เขต คิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ กรม เทคนิค mind map จดบันทึก วิทยากร กระบวนการ
สิ่งที่จะทำต่อไป จัดเวทีแลกเปลี่ยน เรียนรู้ระหว่าง 6 จ. สะท้อนผลคณะทำงาน ปรับปรุงระบบฯ ขยายเครือข่าย ขยายผลใน จ.อื่น ๆ ปรับปรุงระบบฯ ทำวิจัยร่วมกับ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง รับสมัครจ. ที่สนใจ เผยแพร่ผลงาน สู่สาธารณะ เอกสาร/สื่อเผยแพร่ เครือข่าย กสก. จัดประชุมวิชาการ อปท. สพก. ศสท. สพท.