1 / 42

การจัดทำแผนการเรียนรู้

การจัดทำแผนการเรียนรู้. นายสมชาย วณารักษ์ คบ., MMM . ( NIDA ), ศษม.(หลักสูตรและการสอน) ผู้อำนวยการ ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีวศึกษาภาคกลาง. การอาชีวศึกษา ( Vocational Education ).

adonis
Download Presentation

การจัดทำแผนการเรียนรู้

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การจัดทำแผนการเรียนรู้การจัดทำแผนการเรียนรู้ นายสมชาย วณารักษ์ คบ.,MMM. (NIDA), ศษม.(หลักสูตรและการสอน) ผู้อำนวยการ ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีวศึกษาภาคกลาง

  2. การอาชีวศึกษา (Vocational Education ) คือ การศึกษาเพื่อเตรียมบุคลากรเข้าสู่อาชีพ ตั้งแต่ระดับฝีมือ เทคนิค ไปจนถึงระดับปริญญา ในวิชาชีพเฉพาะทาง หลักสูตรที่จัดทำขึ้นจะจัดทำร่วมกับสถานประกอบเป็นหลัก

  3. หลักสูตร(Curriculum) หมายถึง รายวิชาที่จัดไว้ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ ประสบการณ์ทั้งหมดที่จัดให้แก่ผู้เรียน ผลปฏิกิริยาตอบสนองซึ่งกันและกัน ระหว่างแผนการศึกษาและนักเรียน การจัดการศึกษา ประกอบด้วย ครู / บทบาทหน้าที่ (Task) สอนให้ผู้เรียน คิด วิเคราะห์ ให้คำแนะนำ อบรม ชี้แนะ กำกับ ติดตาม พัฒนาผู้เรียน ปฏิบัติการสอนโดนยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ วัดประเมินผลการเรียน และวิจัยในชั้นเรียน นักเรียน/คุณลักษณะ(Character) ที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน

  4. เป้าหมายการผลิตกำลังคนการอาชีวศึกษาเป้าหมายการผลิตกำลังคนการอาชีวศึกษา • กลุ่มอุตสาหกรรม • เป้าหมาย สถานประกอบการ เพิ่มพูน ทักษะและ คุณวุฒิสูงขึ้น การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน นักเรียน นักศึกษา อาชีวศึกษา ผู้ใช้ ผู้ซ่อม การแก้ไขปัญหาความยากจน ผู้สร้าง พัฒนาคน สังคม และชุมชนที่มีคุณภาพ อาชีพอิสระ สนองความต้องการ ชุมชนท้องถิ่น (ช่างชุมชน)

  5. นักเรียนมัธยม ประชาชน ใช้ ซ่อม สร้าง VQ 2 VQ 3 VQ 4 VQ 5 ศึกษาต่อ สนองความต้องการชุมชนท้องถิ่น ( ช่างชุมชน ) VQ 6 VQ 7 กลุ่มเป้าหมายผู้เรียนอาชีวศึกษา กลุ่มเป้าหมาย พิเศษ คนด้อยโอกาส คนพิการ แรงงานในสถานประกอบการ เรียนเป็นเรื่อง เป็นชิ้นงาน เป็นโครงการ College shop Social shop Enterprise shop เทียบโอนประสบการณ์ การสอนทางไกล สถานประกอบการ อาชีพอิสระ 13 กลุ่มอุตสาหกรรมเป้าหมาย

  6. 12 มาตรการ 4 ยุทธศาสตร์ นโยบาย เร่งรัด ปฏิรูปการอาชีวะศึกษาโดย ยึดหลัก “คุณธรรมนำความรู้” สร้างความตระหนัก สำนึกในคุณค่า ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงความสมานฉันท์ สันติวิธี วิถีประชาธิปไตย พัฒนานักเรียน นักศึกษาโดยใช้คุณธรรม จริยธรรม เป็นพื้นฐานของกระบวนการเรียนรู้ สร้างวัฒนธรรมในสถานศึกษา 1.ปลูกจิตสำนึก สร้างเจตคติ ปรับพฤติกรรม ส่งเสริมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ยุทธศาสตร์และมาตรการการเสริมสร้างคุณธรรม กิจกรรมพัฒนาครู พัฒนาหลักสูตร สื่อ คู่มือ กระบวน การเรียนรู้ การวัดประเมินผล 2.ปรับกระบวนการเรียนรู้ หาต้นแบบสืบทอด ส่งเสริมสนับสนุนการศึกษา วิจัยและพัฒนานวัตกรรม จัดทำแผนที่ความดีแลกเปลี่ยน เรียนรู้เผยแพร่ความดี คุณธรรมนำความรู้ 3.เครือข่ายขยายผล สรรหาและประกาศยกย่องเชิดชู เป้าหมาย พัฒนานักเรียนนักศึกษาให้เป็นคนดี มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีน้ำใจ มีมนุษยสัมพันธ์ และมีความรู้ทักษะอย่างแตกฉานในวิชาชีพ โดยผ่านกระบวนการศึกษา พัฒนาและการ แลกเปลี่ยนการเรียนรู้ แสวงหาแกนนำ บ้าน วัด รงเรียน ชุมชน 4. กำกับ ติดตาม ประเมินผล สร้างระบบยเครือข่าย ขยายเครือข่าย ส่งเสริมให้มีการกำกับและติดตาม ประเมินอย่างต่อเนื่อง พัฒนาตัวชี้วัดด้านคุณธรรม

  7. รู้เข้าใจการใช้หลักสูตรรู้เข้าใจการใช้หลักสูตร การจัดทำแผนการสอน และการวัดประเมินผล ภาระงาน ของความเป็นครู รู้และเข้าใจระบบ IT (Information Technology) รู้และเข้าใจระบบป้องกันดูแลผู้เรียนตลอดจนการแนะแนวการเรียนและอาชีพ รู้และเข้าใจระบบการประกันคุณภาพทั้งภายในและภายนอก วิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนการสอน

  8. การสอน (Instruction) การปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูกับผู้เรียน เป็นกระบวนการก่อให้เกิดการเปลี่ยน แปลงพฤติกรรม ภายใต้การจัดการในสภาพแวดล้อมที่ เหมาะสมต่อการเรียนรู้ตามความแตกต่างระหว่างบุคคล

  9. กระบวนการเรียนรู้ สมอง ผลการเรียนรู้ สิ่งเร้า แสดงออก แผนภาพ กระบวนการเรียนรู้ตามความเชื่อในอดีต

  10. กระบวนการการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมกระบวนการการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ของผู้เรียนไปสู่เป้าหมายที่กำหนดไว้ หรือตามที่หลักสูตรได้กำหนดไว้ กระบวนการเรียนรู้ (learning process) หมายถึง การดำเนินการอย่างเป็นขั้นตอนหรือการใช้วิธีการต่างๆ ที่ช่วยให้บุคคลเกิดการเรียนรู้ การเรียนรู้ (Learning) ผลการเรียนรู้ (learning outcome) ได้แก่ความรู้ความเข้าใจในสาระต่างๆ ความสามารถในการกระทำ การใช้ทักษะกระบวนการต่างๆ รวมทั้งความรู้สึกหรือเจตคติอันเป็นผลที่เกิดขึ้นจากกระบวนการเรียนรู้

  11. การถ่ายทอด (Transfer) ค้นพบ(Discover) การเรียนรู้เกิดขึ้น ได้ 3 วิธี การปฏิบัติ (Action) ประสาทสัมผัสที่รับทำให้เกิดการเรียนรู้ฟัง = 25-30 % เห็น=30-35 %การลงมือปฏิบัติ มากกว่า =50 %

  12. หลักการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญหลักการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 1 สร้างความรู้ด้วยตนเอง (Construction) ด้วยการใช้กระบวนการเรียนรู้ (Learning process) 2 มีส่วนร่วม (Participation) อย่างตื่นตัว (Active) 3 มีปฏิสัมพันธ์ (Interaction) และร่วมมือ ร่วมใจ (Co-operation) ในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Share and Learning) 4 ทำกิจกรรมเพื่อพัฒนาองค์ความรู้(Action Knowledge of management) 5 นำความรู้ไปใช้ และประยุกต์ใช้ (application)

  13. ทฤษฏีการเรียนรู้ที่สนับสนุนการเรียนการสอนเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญทฤษฏีการเรียนรู้ที่สนับสนุนการเรียนการสอนเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 1 ทฤษฏีการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism Theory) 2 ทฤษฏีกระบวนการทางสมองในการประมวลข้อมูล (Information Processing Theory ) 3 ทฤษฏีพหุปัญญา (Theory of Multiple Intelligences) 4 ทฤษฏีการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Theory of Cooperative Learning)

  14. ความรู้เดิมหรือประสบการณ์เดิม (Experience) ทฤษฏี การสร้างองค์ความรู้ Constructivism Theory การจัดการสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมต่อการเรียนรู้(Envelopment) ประสบการณ์ใหม่ที่ได้รับ จากการแนะนำ ชี้แนะ จากครูผู้สอน รู้นำความรู้ที่ได้รับนำไปใช้แก้ปัญหา

  15. ความสามารถในการค้นหาความรู้ความสามารถในการค้นหาความรู้ (Ability knowledge) ทฤษฏีพหุปัญญา Theory of Multiple Intelligences ความสามารถในการแก้ปัญหา(Ability problem) สร้างสรรค์ผลงาน (Creative) คุณค่า (Value)

  16. “การสอนให้ได้ผลดีนั้น ควรจะต้องเริ่มที่หลักการและจัดกระบวนการสอนให้สอดคล้องกับหลักการโดยใช้รูปแบบการเรียนการสอน วิธีการสอน และเทคนิคการสอน ซึ่งมีอยู่หลากหลายเข้ามาช่วยให้กระบวนการสอนเกิดประสิทธิภาพสูงสุด” (รองศาสตราจารย์ ดร.ทิศนา แขมมณี, 2545)

  17. หลักสูตร (Curriculum) 1. รายวิชาที่จัดไว้ให้ผู้เรียนได้เรียน 2. ประสบการณ์ทั้งหมดที่จัดให้แก่ผู้เรียน 3. ผลของปฏิกิริยาตอบสนองซึ่งกันและ กันระหว่างแผนการศึกษาและนักเรียน

  18. หลักสูตรฐานสมรรถนะ ศ.ธำรง บัวศรี อธิบายการออกแบบ หลักสูตรฐาน สมรรถนะว่า คือ หลักสูตรที่ยึดความสามารถของ ผู้เรียนเป็นหลัก โดยจะมีการกำหนดเกณฑ์ จัดทำ ขึ้นเพื่อประกันว่า ผู้เรียนจบการศึกษาระดับหนึ่งจะ มีทักษะความสามารถในด้านต่างตามที่ต้องการ

  19. หลักสูตรฐานสมรรถนะ หลักสูตรฐานสมรรถนะไม่ได้มุ่งเรื่องความรู้ หรือเนื้อหาวิชาที่อาจเปลี่ยนแปลง แต่จะมุ่งพัฒนาในด้านทักษะ ความสามารถ เจตคติและค่านิยม หลักสูตรนี้จะมีโครงสร้างแสดงให้เห็นถึงเกณฑ์ความสามารถแต่ละระดับการศึกษา ในแต่ละระดับชั้น ทักษะและความสามารถจะถูกกำหนด ให้มีความต่อเนื่อง ซึ่งในแต่ละระดับจะเป็นฐานสำหรับทักษะและความสามารถในระดับต่อไป

  20. หลักสูตรปวช.2545 ปรับปรุง 2546 และปวส. 2546 ในทุกรายประเภทวิชามีวัตถุประสงค์ให้ผู้เรียนสามารถ ปฏิบัติได้จริงโดยเฉพาะวิชาชีพ หลักสูตรดังกล่าว ได้ กำหนดจุดประสงค์รายวิชา มาตรฐานรายวิชา คำอธิบาย รายวิชาเป็นกรอบกว้างๆ เพื่อ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้ เหมาะสมกับสถานการณ์ต่าง ๆ สิ่งที่ช่วยให้การเรียนเป็น ระบบ คือ แผนการเรียนรู้

  21. ศึกษาจุดมุ่งหมายคำอธิบายรายวิชาศึกษาจุดมุ่งหมายคำอธิบายรายวิชา นำมากำหนดเป็นจุดประสงค์การเรียนรู้ ศึกษาขอบข่ายเนื้อหาวิชาเลือกวิธีการสอนให้เหมาะสมกับหัวข้อย่อย ให้ครอบคลุมความรู้ ทักษะ เจตคติ กิจนิสัย ฯลฯ ขั้นตอน การจัดทำแผน การเรียนรู้ ศึกษาสภาพความพร้อมของวัสดุอุปกรณ์ สื่อ การวัดและประเมินผลต้องสอดคล้องกับการจัดการเรียนรู้

  22. สาระสำคัญ บันทึกหลังสอน จุดประสงค์การเรียนรู้ องค์ประกอบของ แผนการเรียนรู้ การวัดผล • เนื้อหาสาระ • กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อการเรียนการสอน

  23. สาระสำคัญ ความคิดรวบยอด (Concept) เกี่ยวกับเนื้อหา หลักการ วิธีการข้อเท็จจริงและแนวคิดต่าง ๆ ที่ต้องการจะให้ผู้เรียน ได้รับหลังจากเรียนเรื่องนั้น ๆ ทั้งในดานความรู้ ทักษะและ เจตคติ โดยดูจากจุดประสงค์การเรียนรู้แผนการเรียนรู้ (สิ่งที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน)

  24. จุดประสงค์ของการเรียนรู้จุดประสงค์ของการเรียนรู้ หรือผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง คือ เป้าหมายหรือสิ่งที่ต้องการ ให้เกิดขึ้นหลังการเรียนรู้นั้นซึ่งจะต้องครอบคลุมพฤติกรรม ทั้ง3ด้าน คือ 1) พุทธิพิสัย (ด้านความรู้ ความเข้าใจ) 2) ทักษะพิสัย (ทักษะ ความชำนาญ) 3) จิตพิสัย (คุณธรรม จริยธรรมฯ)

  25. สมรรถนะการเรียนรู้ Competency คือความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้ ความเข้าใจ ทักษะปฏิบัติและทักษะด้านความคิดในการปฏิบัติงานในหน่วยการเรียนรู้นั้นๆ ให้มีประสิทธิผล ลักษณะการเขียนแผนการเรียนรู้ กริยา + กรรม + เงื่อนไขที่กำหนด หรือ สถานการณ์

  26. ตัวอย่างการเขียนสมรรถนะการเรียนรู้ตัวอย่างการเขียนสมรรถนะการเรียนรู้

  27. การเขียนจุดประสงค์ของการเรียนรู้การเขียนจุดประสงค์ของการเรียนรู้ 1. จุดประสงค์ทั่วไป ซึ่งจะแสดงผลการเรียนรู้แบบรวมไม่แจกแจงพฤติกรรมย่อยที่วัดได้สังเกตได้ 2. จุดประสงค์เชิงพฤติกรรมซึ่งจะแสดงผลที่ต้องการให้ผู้เรียนเกิดการเปลี่ยนแปลงที่สามารถ วัดได้ สังเกตได้และประเมินผลได้ ทั้งด้าน พุทธิพิสัย ทักษะพิสัย จิตพิสัย ภายใต้สถานการณ์และเงื่อนไขที่กำหนด (อาจกำหนดเป็นเกณฑ์ หรือมาตรฐานขั้นต่ำไว้ก็ได้)

  28. พอประมาณ มีความเหมาะสม ความ พอดีมากน้อยเพียงใด มีความคุ้มค่า มากน้อยเพียงใด มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน ในตัวที่ดี มีการป้องกันข้อบกพร่องที่อาจเกิดขึ้นอย่างไร? คุณธรรม ความรู้ เงื่อนไข คุณธรรม 8 ประการ รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง 4มิติ คือ สังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม

  29. เนื้อหาสาระ (Content) เนื้อหาสาระหรือสาระการเรียนรู้ หมายถึง เนื้อหาที่ต้องการให้ผู้เรียน ได้เรียนรู้ เพื่อให้บรรลุผลตามจุดประสงค์ที่กำหนด โดยเขียนในรูป ของหัวข้อเรียง ตามลำดับความสำคัญและความยากง่าย รายละเอียด อาจแสดงอยู่ในใบความรู้ก็ได้จะใช้ สาระการเรียนรู้ อาจประกอบด้วย ทฤษฎี หลักการ วิธีการ และแนวปฏิบัติ เป็นต้น

  30. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นตอนการดำเนินการ การจัดประสบการณ์หรือกิจกรรม ต่างๆที่ครูผู้สอนจัดให้ผู้เรียนได้เรียนรู้หรือปฏิบัติ เพื่อให้ ผู้เรียนสามารถบรรลุผลตามจุดประสงค์การเรียนรู้ที่กำหนด ไว้

  31. กิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบ MIAP ประเภทช่างอุตสาหกรรม 1.การนำเข้าสู่บทเรียน (Motivation) 2.การให้เนื้อหา (Information) 3.การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้แก้ปัญหา (Application) 4.สรุปความก้าวหน้า (Progress)

  32. ตัวอย่างการเรียนรู้แบบ MIAP 1.การนำเข้าสู่บทเรียน วิธีการที่ใช้ - ตั้งคำถาม/ เล่าประสบการณ์/ความเกี่ยวพันกับเนื้อหา 2.การให้เนื้อหา วิธีการที่ใช้ - บอกถึงรายละเอียด เนื้อหาสาระองค์ความรู้ 3.การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้แก้ปัญหา - นำความรู้ที่ได้รับไปแก้ปัญหา/ทำแบบฝึกทักษะ 4.สรุปความก้าวหน้า - ร่วมกันอภิปรายผลการนำความรู้ไปใช้และสรุปเนื้อหา

  33. กิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบ CIPPA Construction หมายถึง การจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง Interaction หมายถึง การปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นและแหล่งความรู้ที่หลากหลาย Physical participation หมายถึง การได้ลงมือปฏิบัติกิจกรรมและการมีส่วนร่วม Process learning หมายถึงการเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เนื้อหาสาระต่างๆช่วยให้ผู้เรียนได้พัฒนาสติปัญญาอีกทางหนึ่ง Application หมายถึง การนำความรู้ที่ได้เรียนรู้ไปประยุกต์ใช้หรือแก้ปัญหาช่วยให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนาการเรียนรู้เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง

  34. ตัวอย่างการเรียนรู้รูปแบบ CIPPA ครูผู้สอนจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง (ชุดการสอน/ตัวอย่าง/การสาธิต) จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้และบอกถึงแหล่งการเรียนรู้ที่หลากหลาย (การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน) การได้ลงมือปฏิบัติจากกิจกรรมและการมีส่วนร่วม การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เนื้อหาสาระต่างๆช่วยให้ผู้เรียนได้พัฒนาสติปัญญาอีกทางหนึ่ง การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้หรือแก้ปัญหา สรุปผลการเรียนรู้และแนวทางการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง

  35. สื่อการจัดการเรียนการสอนสื่อการจัดการเรียนการสอน วัสดุ อุปกรณ์ หรือ (website) รวมทั้งวิธีการที่ ครูผู้สอนและผู้เรียนนำมาใช้ ในการเรียนการสอน เช่น - หนังสือ ตำรา วีดีทัศน์ รูปภาพ ฯลฯ - บุคคลที่มีความรู้ / ปราชญ์ชาวบ้าน

  36. การวัดผล การวัดผล (Measurement) การใช้เทคนิควิธีการ เครื่องมือวัดอย่างใดอย่างหนึ่ง เพื่อศึกษา ค้นหา หรือ ตรวจคุณลักษณะของบุคคล ผลงาน หรือสิ่งใดที่ ต้องการทราบ เพื่อให้ได้ข้อมูลที่มีความหมายเทียบ เกณฑ์หรือมาตรฐานที่กำหนดไว้

  37. การประเมินผล การประเมินผล (Evaluation) การนำเอาข้อมูล ทั้งหลายที่ได้จากการวัดมาใช้ ในการตัดสินใจ โดย การหาข้อสรุปตัดสิน ประเมินค่า หรือตีราคา โดย เปรียบเทียบกับข้อมูลอื่น ๆ หรือเกณฑ์ที่ตั้งไว้ว่า ผ่านเกณฑ์ระดับใด

  38. หลักการวัดและประเมินผลหลักการวัดและประเมินผล 1. สิ่งที่ต้องการวัดและประเมินต้องสอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้ 2. วิธีการและเครื่องมือวัดต้องสอดคล้องเนื้อหา 3. สัดส่วนคะแนนและเกณฑ์การประเมิน

  39. การวัดและประเมินผลแบบฐานสมรรถนะการวัดและประเมินผลแบบฐานสมรรถนะ องค์ประกอบหลัก คือ - เกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance Criteria) - ขอบเขต (Range Statement) - หลักฐานการปฏิบัติงานและความรู้ (Range Statement) - เงื่อนไขการปฏิบัติงาน(Performance Condition)

  40. บันทึกหลังสอน ผลสรุปการจัดกิจกรรมการสอนตามแผนการเรียนรู้ของครูผู้สอน เพื่อนำไปพัฒนาการเรียนการสอนในโอกาสต่อไป บันทึกหลังการสอนบอกถึง 1.ผลที่เกิดขึ้นภายหลังการสอนในหน่วยนั้นๆ ว่าสอนด้วยวิธีการใด? บรรลุวัตถุประสงค์? เวลาที่สอนสอดคล้องเพียงใด กิจกรรมที่ใช้? 2.ปัญหาที่พบ (ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียนเกิดจากอะไร) 3.วิธีการแก้ไข (ผู้สอนใช้ในเบื้องต้น) 4.ข้อเสนอแนะ ความคิดเห็นที่อาจมาจากครูหรือนักเรียน

  41. กิจกรรมเสริมสร้างความเข้าใจกิจกรรมเสริมสร้างความเข้าใจ ให้คุณครูรวมกลุ่มกันในแต่ละแผนกหรือกลุ่มสาขางาน - ให้นำแผนการเรียนรู้ของแต่ละคนมาทบทวนเพิ่มเติมให้สมบรูณ์ - แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่มคัดเลือกแผนการเรียนรู้นำเสนอในที่ประชุมร่วมกันวิพากษ์

  42. ส วั ส ดี ส วั ส ดี ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีวศึกษาภาคกลาง

More Related