1 / 31

นโยบายการรับประกันภัยของฝ่ายฯ

นโยบายการรับประกันภัยของฝ่ายฯ. นโยบาย 3 ให้ 1 ให้ ความรู้ - การจัดอบรมให้ความรู้ด้านประกันภัยกับลูกค้าของท่าน 2 ให้ บริการเหนือความความหมาย - ท่านสามารถติดต่อ หรือสั่งทำประกันภัยได้ตลอด 24 ชั่วโมง ไม่เว้นวันหยุดราชการ 081 917-7630 prawitm@dhipaya.co.th.

Download Presentation

นโยบายการรับประกันภัยของฝ่ายฯ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. นโยบายการรับประกันภัยของฝ่ายฯนโยบายการรับประกันภัยของฝ่ายฯ นโยบาย 3 ให้ 1ให้ความรู้ - การจัดอบรมให้ความรู้ด้านประกันภัยกับลูกค้าของท่าน 2ให้บริการเหนือความความหมาย - ท่านสามารถติดต่อ หรือสั่งทำประกันภัยได้ตลอด 24 ชั่วโมง ไม่เว้นวันหยุดราชการ 081 917-7630 prawitm@dhipaya.co.th

  2. นโยบายการรับประกันภัยของฝ่ายฯนโยบายการรับประกันภัยของฝ่ายฯ - ท่านชี้ช่อง ฝ่ายฯ จะดำเนินการบริการให้ท่านแบบครบวงจร โทรไปอธิบายเงื่อนไขแทนท่าน + นัดพบลูกค้า + ทำใบเสนอราคา นำเสนอการประกันภัยโดยตรง + เจรจาต่อรอง + จบการขาย + รายงานสรุป + ประสานงานกับลูกค้าเพื่อออกกรมธรรม์ต่อเที่ยว + ส่งกรมธรรม์โดยตรงให้ลูกค้า + หรือส่งเช็คค่าสินไหมโดยตรงให้ ลูกค้า (ถ้ามี) +++++ 3. ให้ความเป็นกันเอง ดุจญาติมิตร เป็นคู่ค้า โดยให้การสนับสนุน ตัวแทนทุกรูปแบบเพื่อให้ได้งานนั้น

  3. นโยบายการรับประกันภัยของฝ่ายฯนโยบายการรับประกันภัยของฝ่ายฯ *************************************************** ฝ่ายประกันภัยทางทะเลและขนส่งจะไม่พิจารณาประกันภัย ในกรณีต่อไปนี้ เป็นงานเดิมของบริษัทฯ ยกเว้นมีหลักฐานได้รับการแต่งตั้งจาก ผู้เอาประกันภัย ดังนั้น ท่านต้องสอบถามหรือตรวจสอบกับเจ้าหน้าที่ ของฝ่ายฯ (คุณประวิทย์, คุณพันธ์ทอง, คุณพิสิษฐ์) ก่อนทุกครั้งที่จะ ส่งงานให้ฝ่ายฯ ดำเนินการให้ในทุกเรื่อง

  4. ศักยภาพในการรับประกันภัยศักยภาพในการรับประกันภัย 1. เป็นบริษัทฯ ที่มีสัญญารองรับการรับประกันภัยสินค้า ขนส่งและการประกันภัยความรับผิดของผู้ขนส่ง มากที่สุด ในประเทศไทย มากกว่า 500 ล้านบาทต่อหนึ่งลำเรือหรือ ต่อการขนส่งในแต่ละเที่ยว 2. มีเจ้าหน้าที่ส่งเอกสารเฉพาะของฝ่ายฯ 3 คน

  5. ศักยภาพในการรับประกันภัยศักยภาพในการรับประกันภัย 3. ฝ่ายฯ สามารถรับประกันภัยสินค้าที่นำเข้า หรือส่งออกไป ประเทศที่ถูกคว่ำบาตโดย สหประชาชาติ ยุโรป อเมริกา 4. ฝ่ายฯ สามารถรับประกันภัยประกันภัยความรับผิดของผู้ ขนส่งไปยังประเทศเพื่อนบ้านได้ 5. ท่านสามารถได้แจ้งอุบัติเหตุได้ทั่วไทยและทั่วโลก

  6. กรมธรรม์ของฝ่ายประกันภัยทางทะเลและขนส่งกรมธรรม์ของฝ่ายประกันภัยทางทะเลและขนส่ง • การประกันภัยความรับผิดของผู้ขนส่ง (CARRIER’S LIABILITY INSURANCE) • การประกันภัยสินค้าที่ขนส่งภายในประเทศ (INLAND CARGO INSURANCE) • การประกันภัยสินค้าที่ขนส่งระหว่างประเทศ (MARINE CARGO INSURANCE) • การประกันภัยตัวเรือและเครื่องจักร (Marine Hull Insc.)

  7. การประกันภัยความรับผิดของผู้ขนส่งCARRIER’S LIABILITY INSURANCE เป็นกรมธรรม์ที่ให้ความคุ้มครองผู้เอาประกันภัย (ผู้ประกอบการรับจ้างขนส่งสินค้า หรือบริษัท โลจีสติกส์) ที่ต้องรับผิดชอบตามกฎหมายของของที่รับจ้างขน ความคุ้มครองความสูญหาย หรือความเสียหาย หรือส่งมอบชักช้า ของของที่ผู้เอาประกันภัยรับจ้างขน ซึ่งเกิดขึ้นในระหว่างขนส่งและใน ระยะเวลาประกันภัยตั้งแต่ของขึ้นยานพาหนะที่ระบุไว้ในกรมธรรม์ จนกระทั่งส่งมอบของ ซึ่งต้องกระทำโดย จนท./ตัวแทนของผู้เอาประกัน

  8. ข้อจำกัดในการทำประกันภัยกรมธรรม์ต้องระบุชื่อเรือและหมายเลขทะเบียนของเรือลากจูง และเรือลำเลียง เฉพาะ 4 ลำแรกหรือหมายเลขทะเบียนรถ • ข้อมูลที่ใช้ในการพิจารณารับประกันภัย • 1. ผู้เอาประกันภัย 2. สัญญารับจ้างขนส่ง3. เส้นทางขนส่ง • 4. จำนวนเงินจำกัดความรับผิด ต่อครั้ง หรือยานพาหนะ • 5. สินค้าที่รับจ้างขน

  9. เอกสารที่ใช้ในทำประกันภัยเอกสารที่ใช้ในทำประกันภัย • ใบคำขอเอาประกันภัยความรับผิดของผู้ขนส่ง

  10. ข้อควรระวัง(การประกันภัยความผิดของผู้ขนส่ง)ข้อควรระวัง(การประกันภัยความผิดของผู้ขนส่ง) 1. บริษัทฯ จะไม่รับผิดชอบความสูญหาย หรือความเสียหายของของที่รับขน ในกรณีมีสัญญาจ้างใหม่ โดยไม่แจ้งให้บริษัทฯ ทราบ และให้คุ้มครอง 2. บริษัทฯ จะไม่รับผิดชอบความสูญหาย หรือความเสียหายของของที่ รับขนในกรณีขนส่งไปนอกอาณาเขตประเทศ เว้นแต่ว่าได้มีการตกลงกัน ไว้ก่อนการขนส่งจริง 3. ผู้เอาประกันภัยต้องไม่ไปประนีประนอมยอมความหรือสมยอมกับบุคคลอื่นใดไม่ได้ เว้นแต่จะได้รับความเห็นชอบจากบริษัทฯ เป็นลายลักษณ์อักษรก่อน

  11. ข้อควรระวัง (การประกันภัยความผิดของผู้ขนส่ง) 4. ผู้เอาประกันภัยไม่ควรตกลงจ่ายเงินก่อน โดยไม่ได้ปรึกษาบริษัทฯ ก่อน 5. ผู้เอาประกันภัยควรทราบถึงจำนวนเงินจำกัดความรับผิดตาม สัญญาจ้างขน ต่อคันต่อลำต่อพวง

  12. การประกันภัยสินค้าที่ขนส่งMARINE INSURANCE เป็นกรมธรรม์ประกันภัยที่ให้ความคุ้มครองผู้เอาประกันภัย (เจ้าของ สินค้า หรือผู้ซื้อสินค้าหรือผู้ขายสินค้า หรือธนาคาร ในฐานะเจ้าหนี้) ที่ได้รับผลกระทบจากสินค้าที่ซื้อหรือขายสินค้า ซึ่งได้รับความ เสียหายบางส่วนหรือเสียหายโดยสิ้นเชิงในระหว่างเส้นทางขนส่ง (จากต้นทาง ถึงปลายทาง) ระยะเวลาประกันภัย - เที่ยวต่อเที่ยว

  13. การประกันภัยสินค้าที่ขนส่ง แบ่งออกเป็น2 แบบ • สินค้าที่ขนส่งระหว่างประเทศ (MARINE CARGO INSC.) 1. ขนส่งทางบก 2. ขนส่งทางน้ำ 3. ขนส่งอากาศ • สินค้าที่ขนส่งในประเทศ (INLAND CARGO INSURANCE) • 1. ขนส่งทางบก 2. ขนส่งทางน้ำ • 3. ขนส่งอากาศ

  14. การประกันภัยสินค้าที่ขนส่งระหว่างประเทศ(MARINE CARGO INSURANCE) เป็นกรมธรรม์ที่ให้ความคุ้มครองสินค้าของผู้เอาประกันภัย (เจ้าของสินค้า หรือผู้ซื้อหรือผู้ขายสินค้า หรือธนาคาร (เจ้าหนี้) ในฐานะผู้รับผลประโยชน์) ซึ่งได้รับความเสียหายบางส่วนหรือเสียหายโดยสิ้นเชิง ในระหว่างเส้นทาง ขนส่งระหว่างประเทศ และอยู่ในระยะเวลาประกันภัย ภายใต้ความคุ้มครอง ของกรมธรรม์ และขยายความคุ้มครองภัยสงคราม ภัยก่อการร้าย จลาจลทาง การเมือง การก่อวินาศกรรม

  15. Institute Cargo Clauses A- ICC (A) • Institute Cargo Clauses B - ICC (B) • Institute Cargo Clauses C - ICC (C ) • ความคุ้มครอง มีทั้งหมด3 แบบ

  16. ตารางเปรียบเทียบความคุ้มครองการประกันภัยสินค้าระหว่างประเทศตารางเปรียบเทียบความคุ้มครองการประกันภัยสินค้าระหว่างประเทศ

  17. ตารางเปรียบเทียบความคุ้มครองการประกันภัยสินค้าระหว่างประเทศตารางเปรียบเทียบความคุ้มครองการประกันภัยสินค้าระหว่างประเทศ

  18. ตารางเปรียบเทียบความคุ้มครองการประกันภัยสินค้าระหว่างประเทศตารางเปรียบเทียบความคุ้มครองการประกันภัยสินค้าระหว่างประเทศ

  19. ข้อมูลที่ใช้ในการพิจารณารับประกันภัยข้อมูลที่ใช้ในการพิจารณารับประกันภัย • ผู้เอาประกันภัย (ผู้ซื้อ หรือผู้ขาย) • สินค้าที่นำเข้า หรือส่งออก • INCO TERMS ข้อกำหนดในการส่งมอบสินค้า • ยานพาหนะที่ใช้ในการขนส่ง • เส้นทางขนส่ง • มูลค่าสูงสุดที่จะนำเข้า หรือส่งออก ต่อเที่ยว

  20. สินค้าที่บริษัทฯ ไม่รับประกันภัย 1. สัตว์ที่มีชีวิต 2. ทองคำแท่ง เพชร พลอย อัญมณี 3 วัตถุโบราณ 4. สินค้าที่นำพาไปด้วยตนเอง 5. สินค้าอาหารสด • เอกสารที่ใช้ในการทำประกันภัย • 1. Marine Application Form 2. Invoice • 3. Bill of Lading, Air Waybill 4. Letter of Credit

  21. การประกันภัยสินค้าที่ขนส่งภายในประเทศINLAND CARGO INSURANCE เป็นกรมธรรม์ที่ให้ความคุ้มครองสินค้าของผู้เอาประกันภัย (เจ้าของสินค้า หรือผู้ซื้อหรือผู้ขายสินค้า หรือธนาคาร (เจ้าหนี้) ในฐานะผู้รับผลประโยชน์) ซึ่งได้รับความเสียหายบางส่วนหรือเสียหายโดยสิ้นเชิง ในระหว่างเส้นทาง ขนส่งภายในประเทศ และอยู่ในระยะเวลาประกันภัย ภายใต้ความคุ้มครอง ของกรมธรรม์แต่ละประเภท

  22. ความคุ้มครอง แบ่งออกเป็น 2 ประเภท • ความคุ้มครองแบบระบุภัย (Named Perils) • ความคุ้มครองแบบเสี่ยงภัยทุกชนิด (All Risks)

  23. ตารางเปรียบเทียบความคุ้มครองการประกันภัยสินค้ภายในประเทศตารางเปรียบเทียบความคุ้มครองการประกันภัยสินค้ภายในประเทศ

  24. ข้อมูลที่ใช้ในการพิจารณารับประกันภัย • ผู้เอาประกันภัย(เป็นเจ้าของสินค้า) • สินค้าที่ขนส่งภายในประเทศ • ยานพาหนะที่ใช้ในการขนส่ง • เส้นทางขนส่ง 5. มูลค่าสินค้าสูงสุดที่ขนส่ง ต่อเที่ยว • ข้อมูลที่ใช้ในการพิจารณารับประกันภัย • ใบคำขอเอาประกันภัยสินค้าที่ขนส่งในประเทศ

  25. การประกันภัยตัวเรือ(MARINE HULL & MACHINERY INSURANCE) เป็นกรมธรรม์ที่ให้ความคุ้มครองตัวเรือ เครื่องจักร และอุปกรณ์ต่างๆ ที่ติดตั้ง ในเรือที่เอาประกันภัยของผู้เอาประกันภัย (เจ้าของเรือ หรือธนาคาร (เจ้าหนี้) ในฐานะผู้รับผลประโยชน์) ซึ่งได้รับความเสียหายบางส่วนหรือเสียหายโดย สิ้นเชิง อันเนื่อง มาจาก ไฟไหม้ เรือชนกัน ระเบิด ภัยธรรมชาติ และอยู่ใน ระยะเวลาประกันภัย ายใต้ความคุ้มครองของกรมธรรม์แต่ละประเภท

  26. การประกันภัยตัวเรือ • เรือที่บริษัทฯ ไม่รับประกันภัย 1. เรือประมง2. เรือหางยาว • เอกสารที่ใช้ในการพิจารณารับประกันภัย 1. ทะเบียนเรือ 2.ใบซื้อขายเรือ 3. ใบประเมินราคาของธนาคาร (ถ้ามี) 4. รูปภาพเรือ • เอกสารที่ใช้ในการทำประกันภัย ใบคำขอเอาประกันภัย

  27. แหล่งที่มาของลูกค้า • ธุรกิจรถบรรทุกรับจ้างขนส่งสินค้า หรือ บริษัทโลจีสติกส์ • ธุรกิจนำเข้าสินค้า หรือส่งออกสินค้า • โรงงานผลิตสินค้า • ธุรกิจนายหน้าขายสินค้า (ซื้อมาขายไป) • เจ้าของเรือ อย่าลืม !!! สอบถามจนท.เรื่องลูกค้าเดิมของฝ่ายฯ ก่อนทุกครั้ง

  28. รายชื่อเจ้าหน้าที่รับผิดชอบFax 02 248-7856, 02 239-2206 1. นายประวิทย์ มานะพงศ์ไพศาล 02 239-2201, 081 9177630 prawitm@dhipaya.co.th 2. น.ส.พันธ์ทอง ธารารัตนวงศ์02 239-2205, 089 920-6575 punthongt@dhipaya.co.th 3. นายพิสิษฐ์ เพชร์ศรีสม (ประกันตัวเรือ) 02 239-2215 pisitp@dhipaya.co.th

  29. ช่วงคำถาม-คำตอบ

More Related