350 likes | 562 Views
รายงานวิจัย. การเยี่ยมบ้านส่งเสริมสุขภาพ และพัฒนาการเด็ก จังหวัดแพร่. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดแพร่. ผู้วิจัย. กาญจณา เอกปัชฌาย์ ศรินยา พงศ์พันธุ์ โสภาวดี แสนศิริวงศ์. กิตติกรรมประกาศ. ขอขอบคุณ นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดแพร่ รศ.พญ. ศิริกุล อิศรานุรักษ์
E N D
รายงานวิจัย การเยี่ยมบ้านส่งเสริมสุขภาพ และพัฒนาการเด็ก จังหวัดแพร่
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดแพร่สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดแพร่
ผู้วิจัย กาญจณา เอกปัชฌาย์ ศรินยา พงศ์พันธุ์ โสภาวดี แสนศิริวงศ์
กิตติกรรมประกาศ ขอขอบคุณ นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดแพร่ รศ.พญ. ศิริกุล อิศรานุรักษ์ พญ.นันทวัลย์ ตันติธนวัฒน์ หัวหน้ากลุ่มงานสนับสนุนวิชาการ ประธาน คปสอ./ผอก.รพ./สสอ. ทุกอำเภอ จนท.รพ./สสอ./pcu/สอ. / ผู้เลี้ยงดูเด็กหลัก
หลักการและเหตุผล นโยบายส่งเสริมพัฒนาการเด็ก เด็กมีแนวโน้มระดับสติปัญญาลดลง ข้อมูลเด็กมีพัฒนาการสมวัยแตกต่างกัน ปี 2548 ระบบรายงานปกติ ร้อยละ 99.57 วิจัยเชิงสำรวจ ร้อยละ 76.40 4. เจ้าหน้าที่ ไม่ค่อยออกพื้นที่/เยี่ยมบ้าน
วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนารูปแบบการคัดกรอง และส่งเสริมพัฒนาการเด็ก แก้ไขปัญหาเด็กที่สงสัยพัฒนาการล่าช้า เพื่อศึกษาสถานการณ์ภาวะโภชนาการและพัฒนาการเด็กอายุ 1-3 ปี เพื่อสร้างเครือข่ายการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ และพัฒนาการเด็ก
งบประมาณ UC Community 1,208,200 บาท
วิธีดำเนินการศึกษา รูปแบบ การวิจัยและพัฒนา (Research & Development) ระยะเวลาดำเนินการ มกราคม – ธันวาคม 2549 ประชากรที่ศึกษา เด็กอายุ 1-3 ปี จำนวน 8,528 คน
วิธีดำเนินการศึกษา กลุ่มตัวอย่าง เด็กอายุ 1-3 ปี /ผู้เลี้ยงดูเด็ก หลัก จำนวน 360 คู่ วิธีการสุ่มตัวอย่าง Systematic Random Sampling สถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย SD. Chi -square test โปรแกรมSPSS For Windows
กรอบแนวคิดในการศึกษา • จัดตั้งคณะกรรมการโครงการส่งเสริมสุขภาพและ พัฒนาการเด็ก • จัดประชุมคณะกรรมการพิจารณากิจกรรมและฐานข้อมูล • จัดทำคู่มือการดำเนินงาน • จัดทำโปรแกรมฐานข้อมูลเด็ก เตรียมการ
กรอบแนวคิดในการศึกษา • จัดอบรมสัญจรเจ้าหน้าที่โรงพยาบาล/ศูนย์สุขภาพ • ชุมชน/สถานีอนามัย ให้ความรู้เรื่องพัฒนาการเด็ก และการใช้โปรแกรมฐานข้อมูล 300 คน • เยี่ยมบ้านส่งเสริมสุขภาพ และตรวจพัฒนาการเด็ก 2 ครั้ง • แก้ไขปัญหาเด็กที่สงสัยพัฒนาการล่าช้า • จัดประชุมติดตามการดำเนินงาน และเสริมความรู้แก่เจ้าหน้าที่ 80 คน ดำเนินการวิจัย
กรอบแนวคิดในการศึกษา • คปสอ.นิเทศ ศสช./สอ.ทุกแห่ง สุ่มประเมินพัฒนาการเด็กร้อยละ 10 จำนวน 842 คน • สสจ.ติดตาม สุ่มประเมินพัฒนาการเด็ก 30 แห่ง • /360 คน ติดตามงาน
กรอบแนวคิดในการศึกษา • รายงานผลการดำเนินงานโดย คปสอ. • นำเสนอรายงานการวิจัย ประเมินผล
เป้าหมาย • ประเมินการเจริญเติบโต • ประเมินพัฒนาการเด็ก • คัดกรองภาวะ Autistic • ตรวจฟัน • ติดตามการได้รับวัคซีน • ผู้ปกครองได้รับความรู้ส่งเสริมพัฒนาการเด็ก • ติดตามการใช้สมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก • บันทึกลงใน Family Folder • ติดตามรับยาเสริมธาตุเหล็ก เด็กอายุ 1-3 ปี จำนวน 8,528 คน (ร้อยละ 100) ได้รับบริการ
ตรวจคัดกรองพัฒนาการและ Autistic
พัฒนาการสมวัย 5 ด้าน ประเมินครั้งที่ 1 จำนวนเด็กที่ตรวจทั้งหมด 7,834 คน
พัฒนาการสมวัย 5 ด้าน ประเมินครั้งที่ 2 จำนวนเด็กที่ตรวจทั้งหมด 7,930 คน
ผลผลิต (ตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ) เด็กได้รับการตรวจพัฒนาการและคัดกรอง Autistic ร้อยละ 100 - ครั้งที่ 1 ร้อยละ 91.8 - ครั้งที่ 2 ร้อยละ 95.2 2. เด็กได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ครบชุด ร้อยละ 100 - รายงาน ร้อยละ 98.0 - สำรวจ ร้อยละ 97.8
ผลผลิต (ตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ) 3. เด็กได้รับบริการตรวจสุขภาพฟัน ร้อยละ 100 - รายงาน ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 93.6 - สำรวจ ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 81.1 4. การบันทึกข้อมูลใน Family Folder ร้อยละ 100 - รายงาน ร้อยละ 93.5 - สำรวจ ร้อยละ 94.7
ผลผลิต (ตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ) 5. ผู้ปกครองเด็กได้รับความรู้เรื่องการส่งเสริมสุขภาพและการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ร้อยละ 100 - สำรวจ ร้อยละ 87.6 6. การใช้สมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก ร้อยละ 100 - รายงาน ร้อยละ 96.6 - สำรวจ บันทึกครบ ร้อยละ 48.2 - สำรวจ บันทึกไม่ครบ ร้อยละ 46.2
7. เด็กสงสัยพัฒนาการล่าช้าได้รับการแก้ไขปัญหาและส่งต่อ ร้อยละ 90 - รายงาน ร้อยละ 100
การแก้ไขปัญหาเด็กที่สงสัยพัฒนาการล่าช้า ของ คปสอ. จัดประชุม/สัมมนา เจ้าหน้าที่ จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ/อบรมสัมมนาผู้ปกครองเด็ก จัดอบรมผู้ดูแลเด็กในศูนย์เด็กที่สงสัยพัฒนาการล่าช้า สนับสนุนสื่อ/อุปกรณ์/ของเล่นส่งเสริมพัฒนาการ/หนังสือนิทาน/อาหารเสริม
การแก้ไขปัญหาเด็กที่สงสัยพัฒนาการล่าช้า ของ คปสอ. ส่งต่อเด็กที่สงสัยพัฒนาการล่าช้าพบแพทย์ รพช./รพท./สถาบันส่งเสริมพัฒนาการเด็กราชนครินทร์ ติดตามเยี่ยมบ้าน ติดตามและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก จัดประกวดแบบอย่างสถานบริการ จัดประชุมคณะกรรมการสรุปผลการดำเนินงาน
ผลการวิจัย โดยสุ่มกลุ่มตัวอย่าง เด็ก /ผู้เลี้ยงดูหลัก 360 คู่
ลักษณะครอบครัว พ่อ - ประถมศึกษา ร้อยละ 36.7 - รับจ้าง ร้อยละ 51.6 แม่ - มัธยมศึกษา ร้อยละ 38.6 - รับจ้าง ร้อยละ 44.7 รายได้ครอบครัว < 10,000 บาท/เดือน ร้อยละ 65.0 เด็กอยู่กับคนอื่นที่ไม่ใช่พ่อแม่ ร้อยละ 20.6
กราฟแสดงน้ำหนักต่ออายุกราฟแสดงน้ำหนักต่ออายุ
กราฟแสดงส่วนสูงต่ออายุกราฟแสดงส่วนสูงต่ออายุ
กราฟแสดงน้ำหนักต่อส่วนสูงกราฟแสดงน้ำหนักต่อส่วนสูง
กราฟแสดงพัฒนาการเด็กอายุ 1-3 ปี ประเมินโดย สสจ.แพร่ (DSI)
พัฒนาการ 5 ด้าน จังหวัดแพร่ กรมสุขภาพจิต การช่วยเหลือตัวเองและสังคม (PS) 87.8 85.8 กล้ามเนื้อมัดเล็ก (FM) 81.9 86.1 ความเข้าใจภาษา (RL) 88.3 88.3 การใช้ภาษา (EL) 88.6 93.1 การเคลื่อนไหว (GM) 93.6 97.5 รวม 5 ด้าน 66.7 73.1 ตารางเปรียบเทียบการประเมินพัฒนาการเด็ก อายุ 1-3 ปี โดยใช้แบบฟอร์ม
กราฟเปรียบเทียบการประเมินพัฒนาการเด็ก ระหว่าง สสจ.กับพื้นที่
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพัฒนาการสมวัยของเด็กปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพัฒนาการสมวัยของเด็ก ปัจจัยด้านครอบครัว - สถานภาพสมรส - รายได้ครอบครัว - ความเพียงพอของรายได้ - ความสัมพันธ์ในครอบครัว ปัจจัยด้านการเลี้ยงดูเด็ก - ของเล่นส่งเสริมพัฒนาการเด็ก
ข้อเสนอแนะ ควรจัดอบรมเจ้าหน้าที่ เรื่อง การแก้ไขปัญหาเด็กที่สงสัยพัฒนาการล่าช้า คปสอ.ควรนิเทศการตรวจคัดกรองพัฒนาการเด็ก สร้างเครือข่ายการส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาการเด็กให้เข้มแข็ง โดยบูรณาการกับคณะกรรมการ MCH Board