330 likes | 636 Views
การบริหารโครงการ. การวางแผนโครงการ การจัดองค์การ การชี้แนะและควบคุมการใช้ทรัพยากรขององค์กรอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้เป็นไปตามเป้าหมายและวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้. ความหมายของคำว่า โครงการ.
E N D
การบริหารโครงการ การวางแผนโครงการ การจัดองค์การ การชี้แนะและควบคุมการใช้ทรัพยากรขององค์กรอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้เป็นไปตามเป้าหมายและวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้
ความหมายของคำว่า โครงการ โครงการ (Project) งานย่อยที่ถูกจับมาไว้ด้วยกันหรือนำมาทำร่วมกัน โดยไม่ต้องมีผล (Output) เกิดขึ้น และมีเวลาสิ้นสุดที่แน่นอนของโครงการ
ความหมายของคำว่า โครงการ กิจกรรม หรืองานที่เกี่ยวกับการใช้ทรัพยาการเพื่อหวังผลประโยชน์ตอบแทน กิจกรรมหรืองานดังกล่าวจะต้องเป็นหน่วยอิสระหน่วยหนึ่งที่สามารถทำการวิเคราะห์ การวางแผน และนำไปปฏิบัติพร้อมทั้งมีลักษณะแจ้งชัดถึงจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุด
ความหมายของคำว่า โครงการ กิจกรรม หรืองานที่เกี่ยวกับการใช้ทรัพยาการเพื่อหวังผลประโยชน์ตอบแทน
ความหมายของคำว่า โครงการ สามารถทำการวิเคราะห์ การวางแผน และนำไปปฏิบัติพร้อมทั้งมีลักษณะแจ้งชัดถึงจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุด
ความหมายของคำว่า โครงการ เป็นขบวนการจัดการอย่างหนึ่งที่นำเอาความรู้ เครื่องมือ และเทคโนโลยีมาบริหารโครงการนั้น ๆ เพื่อตอบสนองความต้องการของเจ้าของโครงการที่จะได้ผลจากโครงการนั้น ๆ
การบริหารโครงการเพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้การบริหารโครงการเพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้ • ปูพื้นฐานตั้งแต่การคิด • วิเคราะห์ถึงรูปแบบของโครงการ • การคัดเลือกโครงการเพื่อการดำเนินการ • แก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในรูปแบบต่างๆ • สำหรับโครงการที่ตั้งเป้าไว้นั้น อาจจะประสบความสำเร็จตามเป้าหมายหรือล้มเหลวขึ้นอยู่กับการบริหารและการจัดการ
โครงการ มีการเริ่มต้นและสิ้นสุด อันหมายถึง การเริ่มต้นดำเนินการตามโครงการที่ตั้งไว้ ซึ่งจากการเริ่มต้นนั้นก็จะต้องมีการสิ้นสุดของโครงการด้วย วงจรการดำเนินการ อาจจะไม่มีสิ้นสุดของระยะเวลา หมายถึงแผนงานประจำปีที่กำหนดให้ทำซ้ำตลอดปี เช่น การตรวจซ่อมบำรุงรักษาต้องทำทุกๆ 3 เดือน การใช้ทรัพยากรในการทำงาน ทรัพยากรทางด้านวัตถุดิบทรัพยากรทางด้านเครื่องมือ ทรัพยากรทางด้านบุคลากร
การกำหนดหน้าที่ การกำหนดหน้าที่ซึ่งปรากฏในรูปแบบของการบริหารและจัดการกับโครงการเพื่อให้เกิดความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายในแต่ละโครงการ การกำหนดทีมทำงาน ทีมทำงานถือเป็นสิ่งที่ทำให้เกิดการพัฒนาและการเปลี่ยนแปลงต่อต้านโครงการดำเนินการ
ความสำคัญของการบริหารโครงการความสำคัญของการบริหารโครงการ • การฝึกอบรม • กระบวนการที่เป็นมาตรฐาน • ที่ปรึกษาภายในองค์กร • การปรับปรุงแก้ไขอย่างรอบคอบ • มีแนวทางปฏิบัติที่ดีที่สุด • การจัดลำดับก่อนหลังของงานในโครงการ • กำหนดการใช้อุปกรณ์เครื่องช่วยที่เป็นมาตรฐาน • การจัดทำรายงานต่าง ๆ ในองค์กร • จัดให้มีการบริหารโครงการ • การกำหนดตัวชี้วัดที่ทันสมัย
ผลดีและข้อจำกัดของการบริหารโครงการผลดีและข้อจำกัดของการบริหารโครงการ 1. ทำให้โครงสร้างขององค์การมีความคล่องตัวสูง โดยการจัดตั้งทีมงานซึ่งประกอบด้วยบุคลากรจากหน่วยงานต่าง ๆ ที่มีความรู้ ความสามารถเข้ามาทำงานร่วมกันโดยอยู่ภายใต้การสั่งการของผู้จัดการโครงการ
ผลดีและข้อจำกัดของการบริหารโครงการผลดีและข้อจำกัดของการบริหารโครงการ 2. ทำให้เกิดความรับผิดชอบในงาน การที่บุคคลจากหน่วยงานต่าง ๆ ได้รับการคัดเลือกมาอยู่ในทีมงานของโครงการ ทำให้เกิดความไว้วางใจ และความรับผิดชอบที่จะทำงานร่วมกัน ให้บรรลุวัตถุประสงค์ขององค์การ
ผลดีและข้อจำกัดของการบริหารโครงการผลดีและข้อจำกัดของการบริหารโครงการ 3. ทำให้เกิดการประสานงานกัน ความร่วมมือระหว่างกัน เพื่อขจัดปัญหาและข้อขัดแย้งในการติดต่อสื่อสารระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ ได้
ข้อจำกัดของการบริหารโครงการข้อจำกัดของการบริหารโครงการ 1. ทำให้เกิดความยากลำดับในการจัดหาผู้จัดการโครงการ เนื่องจากผู้จัดการโครงการที่มีบทบาทสำคัญต่อความสำเร็จของการบริหารโครงการ นอกจากนั้นจะต้องเป็นผู้ที่มีความรู้ ความสามารถสูง และสามารถประสานงานกับหน่วยงานต่าง ๆ 2. ทำให้เกิดปัญหาในการวางแผนระยะยาว 3. ทำให้เกิดปัญหาในการพัฒนาบุคลากร การเคลื่อนย้ายบุคลากรเพื่อไปช่วยงานโครงการ
การวางแผนโครงการ เป็นขั้นตอนแรกของการวางโครงการหรือของโครงการ (Project cycle or phase of project planning) ที่มีความสำเร็จตอนหนึ่งที่จะทำให้การบริหารโครงการประสบความสำเร็จตามเป้าหมายที่กำหนดไว้
ขั้นตอนของการวางแผนโครงการขั้นตอนของการวางแผนโครงการ 1. การกำหนดโครงการ เป็นขั้นตอนที่เกี่ยวกับการเลือกว่าจะทำอะไรจากบรรดาทางเลือกต่าง ๆพิจารณาต่อไปอีกว่าจะทำได้อย่างไร เมื่อไหร่ ที่ไหน และมีขอบเขตของการดำเนินงานอย่างไร
ขั้นตอนของการวางแผนโครงการขั้นตอนของการวางแผนโครงการ 2. การวิเคราะห์และประเมินโครงการ วิเคราะห์และประเมินโครงการว่าโครงการที่กำลังพิจารณาอยู่นั้นเป็นโครงการที่ดีหรือไม่ได้รับผลตอบแทนที่คุ้มค่าต่อการลงทุนและสามารถปฏิบัติได้จริง
ขั้นตอนของการวางแผนโครงการขั้นตอนของการวางแผนโครงการ 3. การดำเนินการตามโครงการ เป็นเรื่องของการนำโครงการที่ได้ผ่านการพิจารณาเห็นชอบแล้ว ไปปฏิบัติตามแผน ที่วางไว้
ขั้นตอนการวางแผนโครงการดังกล่าว ปฏิบัติเป็น 5 ขั้นตอนดังนี้ 1. การกำหนดโครงการและการศึกษาก่อนการลงทุน 2. การตระเตรียมและพัฒนาโครงการ 3. การประเมินและอนุมัติโครงการ 4. การบริหารโครงการ 5. การปิดโครงการ
การกำหนดโครงการและการศึกษาก่อน การลงทุน การปิดโครงการ การตระเตรียมและพัฒนาโครงการ การบริหารโครงการ การประเมินและอนุมัติโครงการ
การกำหนดโครงการและการศึกษาก่อนการลงทุนการกำหนดโครงการและการศึกษาก่อนการลงทุน 1. เกิดจากการที่มีทรัพยากรจำนวนหนึ่งและต้องการใช้ทรัพยากรนั้นให้เกิดประโยชน์สูงสุด 2. เกิดจากการมองเห็นลู่ทางการตลาดที่จะขายสินค้าหรือบริการ 3. เกิดขึ้นจากความต้องการที่จะเสริมหรือใช้ประโยชน์จากโครงการอื่น ๆ
การกำหนดโครงการและการศึกษาก่อนการลงทุนการกำหนดโครงการและการศึกษาก่อนการลงทุน 4. เกิดขึ้นจากภัยพิบัติทางธรรมชาติที่รัฐบาลต้องเข้าไปดำเนินการช่วยเหลือ 5. เกิดขึ้นจากความต้องการทางด้านการเมืองหรือเสียงเรียกร้องจากกลุ่มที่มีพลังในสังคม 6. เกิดขึ้นจากความต้องการที่จะตอบสนองต่อนโยบายส่วนรวมของชาติ
การตระเตรียมและพัฒนาโครงการการตระเตรียมและพัฒนาโครงการ จะต้องตระเตรียมโครงการในรายละเอียดในการวิเคราะห์โครงการแก่ การศึกษาด้านการตลาด เทคนิค สภาพแวดล้อมของโครงการ เศรษฐกิจ การเงิน การบริหาร
การบริหารโครงการ ควรมีการกำหนดขั้นตอนการปฏิบัติงานของโครงการหรือกำหนดอย่างละเอียด จะต้องมีการประสานงานและจัดสรรทรัพยากรต่าง ๆ ของโครงการ มีการแต่งตั้งผู้จัดการโครงการและทีมงานการบริหารงาน มีการติดตามและควบคุมงาน
การปิดโครงการ ทุกโครงการจะต้องมีการกำหนดวันสิ้นสุดของโครงการ
ส่วนประกอบของแผนโครงการส่วนประกอบของแผนโครงการ • ได้รับความเห็นชอบจากผู้บริหารระดับสูงขององค์การ • อนุมัติให้ผู้จัดการโครงการดำเนินการได้
แผนโครงการที่จะสร้างขึ้นจะต้องประกอบด้วยเรื่องต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ • ภาพรวม ซึ่งเป็นการสรุปวัตถุประสงค์และขอบเขตของโครงการ • วัตถุประสงค์ ส่วนนี้จะให้รายละเอียดของเป้าหมายทั่วไปที่กล่าวถึงในส่วนแรก วัตถุประสงค์ควรจะครอบคลุมถึงกำไรและเป้าหมายทางด้านการแข่งขัน รวมทั้งเป้าหมายทางด้านเทคนิคของโครงการด้วย • วิธีการดำเนินงาน • ลักษณะของสัญญา
แผนโครงการที่จะสร้างขึ้นจะต้องประกอบด้วยเรื่องต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ กำหนดการ ระบุถึงเหตุการณ์ที่เป็นตัววัดความก้าวหน้าของโครงการทั้งหมด ทรัพยากร บุคลากร วิธีการประเมิน ปัญหาที่อาจะจะเกิดขึ้น
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการวางแผนโครงการปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการวางแผนโครงการ • อาจจะเป็นทั้งโอกาสหรืออุปสรรคที่จะทำให้โครงการประสบความสำเร็จหรือความล้มเหลวได้ ซึ่งเราสามารถจำแนกปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการวางแผนโครงการแบ่งออกเป็นประการใหญ่ ๆ คือ • โครงสร้างขององค์การ (Corporate structure) • วัฒนธรรมขององค์การ (Corporate culture) • ทรัพยากรขององค์การ (Corporate resoures)