1 / 71

สุรวุฒิ พันธุ์พิมานมาศ สำนักประเมินผล สำนักงบประมาณ 02 273 9490, 087 074 3113

สุรวุฒิ พันธุ์พิมานมาศ สำนักประเมินผล สำนักงบประมาณ 02 273 9490, 087 074 3113. เครื่องมือ วิเคราะห์ระดับความสำเร็จของการดำเนินงาน จากการใช้จ่ายงบประมาณ (Performance Assessment Rating Tool: PART).

afram
Download Presentation

สุรวุฒิ พันธุ์พิมานมาศ สำนักประเมินผล สำนักงบประมาณ 02 273 9490, 087 074 3113

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สุรวุฒิพันธุ์พิมานมาศสำนักประเมินผล สำนักงบประมาณ02 273 9490, 087 074 3113 เครื่องมือ วิเคราะห์ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานจากการใช้จ่ายงบประมาณ (Performance Assessment Rating Tool: PART)

  2. ยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 ประกอบด้วย 5 ยุทธศาสตร์ และรายการค่าดำเนินการภาครัฐ ดังนี้ • 1. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านขีดความสามารถในการแข่งขันและเสริมสร้างโอกาสทางเศรษฐกิจเพื่อลดความเหลื่อมลํ้าในสังคม • 2. ยุทธศาสตร์การสร้างสังคมสมานฉันท์และความมั่นคงของประเทศ • 3. ยุทธศาสตร์การอนุรักษ์ ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม • 4.ยุทธศาสตร์การศึกษา คุณธรรม จริยธรรม และการเข้าถึงบริการของรัฐอย่าง เท่าเทียมกันในสังคม • 5. ยุทธศาสตร์การส่งเสริมการพัฒนาภูมิภาคและท้องถิ่น • 6. รายการค่าดำเนินการภาครัฐ สำนักประเมินผล

  3. นโยบายรัฐบาล และแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ : พันธกิจที่รัฐบาลต้องทำ เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ชาติ/ รัฐบาล เป้าหมายการให้บริการสาธารณะ (ระดับกระทรวง) พันธกิจ ของกระทรวง พันธกิจของส่วนราชการระดับกรม/หน่วยงาน เป้าหมายการให้บริการระดับหน่วยงาน ผลผลิต ผลผลิต ผลผลิต กระบวนการนำส่งผลผลิต ภารกิจ กิจกรรม กิจกรรม กิจกรรม กิจกรรม (Activity) กิจกรรม กิจกรรม กิจกรรม งบประมาณ แนวทางการจัดทำโครงสร้างผลผลิต(Output Structure)

  4. โครงสร้างผลผลิต : ความหมายและการเชื่อมโยง เป้าหมายเชิง ยุทธศาสตร์ ผลสัมฤทธิ์ (ผลกระทบหรือผลลัพธ์) ที่รัฐบาลต้องการจะให้เกิดต่อประชาชนและประเทศ เป็นผลจากการดำเนินงานของรัฐบาลตามยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปี เป้าหมายการให้ บริการกระทรวง ผลลัพธ์หรือผลกระทบที่กระทรวงต้องการให้เกิดขึ้นแก่ชุมชนหรือสังคมจากการให้บริการในระดับกระทรวง ซึ่งจะต้องสอดคล้องและเชื่อมโยงกับเป้าหมายเชิง ยุทธศาสตร์ เป้าหมายการให้ บริการหน่วยงาน ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานของหน่วยงานระดับกรม หรือเมื่อดำเนินการจัดทำผลผลิต/โครงการตามที่กำหนด ซึ่งจะนำไปสู่ความสำเร็จของเป้าหมายการให้บริการกระทรวง ผลผลิต ผลของการดำเนินงานตามกิจกรรม ซึ่งอาจจะเป็นผลิตผล (Product) หรือการให้ บริการ (Service) ที่ดำเนินงานโดยหน่วยงานของรัฐ หรือการตอบคำถามว่าหน่วยงานของรัฐจัดทำบริการอะไร (What) ในฐานะผู้จัดหาบริการ (Provider) ให้กับประชาชนเป้าหมายตามความต้องการของรัฐบาลในฐานะผู้ซื้อบริการ (Service Purchaser) ให้กับประชาชน What ภารกิจ งานที่จำเป็นต้องดำเนินการตามหน้าที่ความรับผิดชอบที่เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ และข้อกำหนดต่าง ๆ ประกอบด้วย ภารกิจพื้นฐาน และ ภารกิจยุทธศาสตร์ How กิจกรรม กระบวนการนำส่งผลผลิต ประกอบด้วย กิจกรรมหลัก กิจกรรมรอง กิจกรรมสนับสนุน กิจกรรมของแผนงบประมาณในเชิงบูรณาการ กิจกรรม(โครงการจังหวัด)

  5. กระบวนการงบประมาณ 1. การจัดทำงบประมาณ 3. การติดตามประเมินผล 2. การบริหารงบประมาณ

  6. การทบทวน26ต.ค.53-ธ.ค.53 การอนุมัติ25พ.ค.54-9ก.ย.54 การวางแผนต.ค.53-25ม.ค.54 กระบวนการจัดทำงบประมาณ การจัดทำ15ธ.ค.53-10พ.ค.54 ส่งคำขอ 1ก.พ.54 ปฏิทินงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณพ.ศ. 2555

  7. การอนุมัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 • หน่วยงานส่งคำของบประมาณถึงสำนักงบประมาณ ภายในวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2554 • สภาผู้แทนราษฎรพิจารณาร่าง พรบ.งบประมาณรายจ่าย พ.ศ.2555 วาระที่ 1วันที่ 25-26 พฤษภาคม 2554 • สภาผู้แทนราษฎรพิจารณาร่าง พรบ.งบประมาณรายจ่าย พ.ศ.2555 วาระที่ 2-3วันที่ 17-18 สิงหาคม 2554 • วุฒิสภาพิจารณาร่าง พรบ.งบประมาณรายจ่าย พ.ศ.2555 • วันที่ 5 กันยายน 2554 • สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีนำร่าง พรบ.งบประมาณรายจ่าย พ.ศ.2555 ขึ้นทูลเกล้าฯ ถวายเพื่อประกาศบังคับใช้เป็นกฏหมาย • วันที่ 9 กันยายน 2554

  8. เครื่องมือที่ใช้ในการจัดทำคำของบประมาณเครื่องมือที่ใช้ในการจัดทำคำของบประมาณ • การวิเคราะห์ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานจากการใช้จ่ายงบประมาณ (Performance Assessment Rating Tool:PARTตามมติ ครม. วันที่ 4 ธันวาคม 2550) • คู่มือมาตรฐานการจัดการงบประมาณ (การวางแผนและบริหารโครงการ :ตามมติครม. วันที่ 27 มีนาคม 2550) • การวิเคราะห์ความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาลของแผนงาน/โครงการสำคัญตามนโยบาลรัฐบาล (ตามมติครม. วันที่ 29 ธันวาคม 2552)

  9. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข งบประมาณ 2553 703.5368 ล้านบาท งบประมาณ 2554 844.6521 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 141.1153 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 20.06 สำนักประเมินผล

  10. PART(Performance Assessment Rating Tool)การวิเคราะห์ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานจากการใช้จ่ายงบประมาณ PARTเป็นเครื่องมือวิเคราะห์ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานจากการใช้จ่ายงบประมาณของผลผลิตของหน่วยงานที่ขอรับงบประมาณในระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ Performance =ความสำาเร็จของการดำเนินงานของผลผลิต (จากการใช้จ่ายงบประมาณ) Assessment =ประเมิน (ก่อนให้งบประมาณ โดยดูความพร้อมเกี่ยวกับการออกแบบทิศทางและกลยุทธ์เพื่ออนาคต แผนปฏิบัติการและต้นทุนที่ของบประมาณ กิจกรรมสนับสนุนในปัจจุบัน และผลการดำเนินงานที่ผ่านมา) Rating = การจัดระดับหรืออันดับ Tool =เครื่องมือ (หรือวิธีการ หรือเทคนิค) ไม่ใช่ระบบ(System) เครื่องมือประเมินผลสำเร็จในการดำเนินงาน(Performance Assessment)ในระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์

  11. PART มติ ครม.วันที่ 4 ธันวาคม 2550 • 1.ให้หน่วยงานภาครัฐเฉพาะส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจที่ได้รับงบประมาณตามพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 ตามที่สำนักงบประมาณกำหนดดำเนินการวิเคราะห์ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานจากการใช้จ่ายงบประมาณตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 เป็นต้นไป ตามแนวทางและขั้นตอนที่สำนักงบประมาณกำหนด • 2.ให้หน่วยงานภาครัฐที่ได้รับงบประมาณตามพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ.2552 เป็นต้นไป รายงานผลการวิเคราะห์ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานจากการใช้จ่ายงบประมาณให้สำนักงบประมาณ เพื่อใช้เป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจในกระบวนการจัดการงบประมาณ และจัดทำรายงานเสนอต่อคณะรัฐมนตรี • 3. อนุมัติให้แต่งตั้งคณะกรรมการกลั่นกรองการวิเคราะห์ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานจากการใช้จ่ายงบประมาณ สำนักประเมินผล

  12. เวลาการรายงานผลการวิเคราะห์ฯเวลาการรายงานผลการวิเคราะห์ฯ • หน่วยงานภาครัฐรายงานผลการวิเคราะห์ฯ PART ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554/55 ส่งสำนักงบประมาณ วันที่ 28 มกราคม 2554 สำนักประเมินผล

  13. PARTกับโครงสร้างงบประมาณPARTกับโครงสร้างงบประมาณ ก.ยุทธศาสตร์ชาติ • Cascading - ผลผลิตนี้เชื่อมโยงกับแผนกลยุทธ์ของหน่วยงาน (ข-1) ไปยังยุทธศาสตร์กระทรวงและยุทธศาสตร์ชาติ(ก-1)อย่างไร และตอบสนองเป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์ชาติมากน้อยเพียงใด ในเชิงปริมาณ หรือ เชิงคุณภาพ (ก-2) • Stakeholders - ผลผลิตนี้มีผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในสังคม(ก-3)และกลุ่มเป้าหมายผู้รับบริการ(ก-4)เข้ามาเกี่ยวข้องในการระบุปัญหาของสังคม/ความต้องการ/ความสนใจของสังคม ในลักษณะใดบ้าง(ตามระเบียบ สนร.ว่าด้วยการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน2548) สำนักประเมินผล

  14. ข.แผนกลยุทธ์ • Strategic ผลผลิตนี้คำนึงถึงความเสี่ยงเชิงยุทธศาสตร์อย่างไร(ก-6)และมีการปรับแผนกลยุทธ์ของหน่วยงานจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายของรัฐบาลอย่างไร(ข-7)รวมทั้งการประสานกับหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนที่เกี่ยวข้อง(ข-5)จากการวิเคราะห์SWOTในลักษณะใด • Output-Outcome Indicator แผนกลยุทธ์ของหน่วยงานมีตัวชี้วัดผลลัพธ์ (2Q2T1P)ที่ท้าทายและตัวชี้วัดผลผลิต(QQCT)ที่ถูกต้องและสัมพันธ์กันอย่างไรจำแนกรายปีหรือไม่(ข-2 ข-3 ข-4) สำนักประเมินผล

  15. ค.แผนปฏิบัติการ • Action PLAN คำของบประมาณของผลผลิตนี้มีแผนปฏิบัติราชการ 4 ปีที่ชัดเจนหรือไม่(ค-1)กิจกรรมหลัก (ค-2 ค-3)มีความชัดเจนหรือไม่และมีการปรับแผนปฏิบัติการ(ค-5)โดยใช้ผลการประเมินผลในปีที่ผ่านมาหรือไม่ • Unit-cost กิจกรรมหลักมีการคำนวณต้นทุนต่อหน่วย ตามที่กรมบัญชีหรือสำนักงบประมาณหรือการคำนวณต้นทุนของกรมหรือไม่(ค-4)และนำมาใช้ในการจัดทำคำของบประมาณหรือไม่(ง-4) สำนักประเมินผล

  16. ง.การดำเนินงาน/กิจกรรมสนับสนุนง.การดำเนินงาน/กิจกรรมสนับสนุน • Monitoring ผลผลิตนี้มีการติดตามผลตามแผนการปฏิบัติงานรายเดือนที่รายงานโดยหน่วยปฏิบัตินำส่งผลผลิตตามระยะเวลาที่กำหนดใช่หรือไม่(ง-1) • Information-system ผลผลิตนี้มีระบบข้อมูลและสารสนเทศที่รายงานโดยหน่วยปฏิบัตินำส่งผลผลิตตามระยะเวลาที่กำหนดใช่หรือไม่(ง-2)และได้นำมาใช้ในการปรับแผนปฏิบัติการในปีถัดไปใช่หรือไม่(ง-3) • Auditing ผลผลิตนี้มีผลการตรวจสอบการใช้จ่ายเงินที่ไม่มีข้อทักท้วงจากผู้ตรวจสอบภายใน และ/หรือ สตง. ว่ามีบุคลากรที่มีความผิดวินัยทางการเงินใช่หรือไม่(ง-6) • Personal-Scorecard ผลผลิตนี้มีการประเมินบุคคลรายบุคคลตาม ม.47 ของพรฎ.บริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีตามแนวทางที่ สนง.กพ.กำหนดหรือไม่(ง-7) สำนักประเมินผล

  17. จ.การประเมินผล • Value-for-Money ผลผลิตนี้มีผลการประเมินความคุ้มค่าทั้งประสิทธิภาพของผลผลิต ประสิทธิผลของผลลัพธ์ และผลกระทบ (จ-1)(จ-2)(จ-3)อยู่ในระดับใด ตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด(ง-5) • Independent-Evaluation ผลผลิตนี้มีการประเมินผลโดยผู้ประเมินอิสระจากภายนอกอยู่ในระดับใด (จ-5)และเป็นไปตามที่กำหนดในแผนกลยุทธ์หรือไม่(ข-6) • External-Benchmark ผลผลิตนี้มีความซ้ำซ้อนกับภารกิจของหน่วยงานอื่นของภาครัฐและภาคเอกชนหรือไม่ จำแนกความแตกต่างได้หรือไม่(ก-5)สามารถเทียบเคียงความแตกต่างได้หรือไม่ ถ้าได้ ผลการเทียบเคียงเป็นอย่างไร(จ-4) สำนักประเมินผล

  18. การประเมินความคุ้มค่า(Value For Money - VFM) มิติที่1-ประสิทธิภาพ 1.ปริมาณผลผลิตที่ทำได้จริงเปรียบเทียบกับแผน(Quantity) 2.คุณภาพตามมาตรฐานที่กำหนดตามคู่มือการประกันคุณภาพและควบคุมคุณภาพ(Quality)และ • ความพึงพอใจของผู้รับบริการต่อกระบวนการให้บริการ(Satisfaction) 3.ต้นทุนต่อหน่วย(Unit-Cost)และ 4.สัดส่วนเวลาที่ใช้จริงในการให้บริการเปรียบเทียบกับระยะเวลาที่กำหนด(Timeliness) • สัดส่วนผลผลิตต่อทรัพยากร(Productivity per resource used) • สัดส่วนค่าใช้จ่ายจริงต่อค่าใช้จ่ายตามแผน (Economy) สำนักประเมินผล

  19. มิติที่ 2 - ประสิทธิผล • Benefit – Cost Ratio หรือ • Cost – Effectiveness หรือ • ระดับความสำเร็จในการบรรลุวัตถุประสงค์/เป้าหมาย • ระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการที่มีต่อผลประโยชน์จากการใช้บริการ มิติที่ 3 – ผลกระทบ • 1. การประเมินผลกระทบต่อประชาชน • 2. การประเมินผลกระทบต่อเศรษฐกิจ • 3. การประเมินผลกระทบต่อสังคม • 4. การประเมินผลกระทบต่อการเมือง • 5. การประเมินผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม สำนักประเมินผล

  20. องค์ประกอบที่สำคัญของแผนกลยุทธ์องค์ประกอบที่สำคัญของแผนกลยุทธ์ • การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม • การกำหนดกลยุทธ์ระดับผลลัพธ์ –ผลผลิต • การกำหนดตัวชี้วัดเป้าประสงค์ – ผลลัพธ์ – ผลผลิต • แผนการประเมินผล (Evaluation)โดยประเมินผลตนเอง และผู้ประเมินผลอิสระจากภายนอก • การรับฟังความคิดเห็นจากสาธารณะ สำนักประเมินผล

  21. การจัดกลุ่มชุดคำถามPARTในมิติเวลาการจัดกลุ่มชุดคำถามPARTในมิติเวลา ประกอบด้วย 3 มิติเวลา • อนาคต เป็นชุดคำถามที่เกี่ยวกับแนวคิดอนาคต ได้แก่ชุดคำถาม ข้อ ก.-ค. • ปัจจุบัน เป็นชุดคำถามที่เกี่ยวกับการดำเนินงานของหน่วยงานในช่วงปัจจุบันได้แก่ชุดคำถาม ข้อ ง. • อดีต เป็นชุดคำถามที่เกี่ยวกับการติดตามประเมินผลการดำเนินงานของหน่วยงานในปีที่ผ่านมาได้แก่ชุดคำถาม ข้อ ง.-จ. สำนักประเมินผล

  22. Part ต้องการเอกสารยืนยันเป็นหลักการสำคัญ • แผนกลยุทธ์ของหน่วยงาน ที่แสดงโครงสร้างยุทธศาสตร์ การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม กลยุทธ์ภายใต้ยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดจำแนกผลลัพธ์และผลผลิต(2Q2T1PและQQCT) แผนการประเมินผล หมวด ก.และหมวด ข. ที่ผ่านความรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี ของหน่วยงาน (หมวด ค.) • คำของบประมาณ รายผลผลิต (หมวด ค.) • แฟ้มรายงานเกี่ยวกับกิจกรรมการดำเนินงาน ได้แก่ แบบรายงานเสนอผลการติดตามผลรายเดือน แบบรายงานเสนอผลการจัดทำฐานข้อมูล รายงานการประชุมที่ใช้ระบบสารสนเทศสำหรับปรับปรุงงาน หลักเกณฑ์การประเมินความคุ้มค่า รายงานการตรวจสอบของ สตง.และตัวอย่างแบบฟอร์มภาระงานรายบุคคลที่กรอกแล้ว (หมวด ง.) • รายงานการประเมินผลของผลผลิตที่วัดประสิทธิภาพของผลผลิต ประสิทธิผลของผลลัพธ์ และผลกระทบ ที่ประเมินผลโดยตนเองและโดยผู้ประเมินอิสระจากภายนอก (หมวด จ.) • เอกสารสำคัญอื่นๆ สำนักประเมินผล

  23. เครียดนักก็พักบ้าง 555 พักผ่อนกายใจ

  24. ชุดคำถามของเครื่องมือ PART สำนักงบประมาณ

  25. ชุดคำถาม • ก.จุดมุ่งหมายและรูปแบบ • ข.การวางแผนกลยุทธ์ • ค.ความเชื่อมโยงงบประมาณ • ง. การบริหารจัดการ • จ. การประเมินผลผลิต/ผลลัพธ์ สำนักประเมินผล

  26. ใครเป็นผู้ที่ตอบคำถาม PART • ผู้บริหารระดับสูงของหน่วยงานตอบ หมวด ก. (ร่างโดยคณะทำงานจัดทำคำของบประมาณ) • ผู้บริหารระดับสูงที่รับผิดชอบด้านยุทธศาสตร์และด้านประเมินผล ตอบ หมวด ข. (ร่างโดยคณะทำงานจัดทำคำของบประมาณ แผนยุทธศาสตร์ และรายงานการประเมินผล) • ผู้บริหารที่รับผิดชอบด้านการจัดทำแผนปฏิบัติการตอบ หมวด ค. • (ร่างโดยคณะทำงานจัดทำคำของบประมาณ และแผนปฏิบัติการ) • หน่วยปฏิบัตินำส่งผลผลิต ตอบ หมวด ง. (ร่างโดยคณะทำงานจัดทำแผนปฏิบัติการ และหัวหน้าทีมงานในกระบวนการผลิตและให้บริการ) • ผู้บริหารระดับสูงที่รับผิดชอบด้านยุทธศาสตร์และด้านประเมินผล ตอบ หมวด จ. (ร่างโดยคณะทำงานจัดทำคำของบประมาณ แผนยุทธศาสตร์ และรายงานการประเมินผล)

  27. คำถามชุด ก: จุดมุ่งหมายและรูปแบบ • วัตถุประสงค์ของชุดคำถาม – เพื่อทราบถึงการเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างเป้าหมายยุทธศาสตร์ของชาติกับเป้าหมายยุทธศาสตร์ของกระทรวงและเป้าหมายการให้บริการของกรม (หรือเทียบเท่า) รวมทั้งการตอบสนองความต้องการต่อกลุ่มเป้าหมาย ซึ่งเป็นพื้นฐานในการวางแผนกลยุทธ์ของหน่วยงาน การเชื่อมโยงผลผลิตกับงบประมาณ การบริหารจัดการ และการกำหนดตัวชี้วัดระดับผลผลิตและผลลัพธ์เพื่อการประเมินผลของหน่วยงาน โดยอ้างอิงจากกฎหมายต่างๆที่เกี่ยวข้อง แผนยุทธศาสตร์ แผนปฏิบัติการ แผนงบประมาณ และเอกสารอื่นๆที่เกี่ยวข้อง

  28. แนวคิดและหลักการ • จุดหมายปลายทางและวิธีการ (Why? and How? หรือ End and Means) ระดับชาติ • โครงสร้างความสัมพันธ์ในแนวดิ่งและแนวนอนระดับชาติ • สภาพแวดล้อมภายในและภายนอกขององค์การ รวมทั้งผู้มีส่วนได้เสีย

  29. ก-1 ท่านมีความเข้าใจเป้าหมายยุทธศาสตร์ชาติ เป้าหมายการให้บริการของกระทรวงและยุทธศาสตร์กระทรวง ที่หน่วยงานของท่านต้องรับผิดชอบดำเนินการให้บรรลุผลสำเร็จในปีงบประมาณ พ.ศ.2554 หรือไม่ อย่างไร • เอกสารที่แสดงข้อความพันธกิจ (MissionStatement) และข้อความเป้าประสงค์หลักของหน่วยงาน (ObjectiveStatement) ของยุทธศาสตร์ที่สอดคล้องกับแนวนโยบายแห่งรัฐตามรัฐธรรมนูญและคำแถลงนโยบายของรัฐบาลที่แถลงต่อรัฐสภา • เอกสารแสดงความเชื่อมโยงกับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง (โดยเฉพาะพระราชบัญญัติและพระราชกฤษฎีกาที่เกี่ยวข้องกับเป้าหมายการให้บริการของกระทรวง กฎกระทรวง และยุทธศาสตร์กระทรวง) • เอกสารงบประมาณรายจ่ายประจำปี ระบุเป้าหมายการให้บริการของกระทรวง และยุทธศาสตร์กระทรวง ที่แสดงความสอดคล้องกับเป้าหมายยุทธศาสตร์ชาติ • อื่นๆ (ระบุเพิ่มเติม)

  30. ก-2 เป้าหมายการให้บริการของหน่วยงานที่ท่านกำหนดในปีงบประมาณ พ.ศ.2554 มีความสอดคล้องและเหมาะสมต่อการนำส่งเป้าหมายระดับกระทรวงและเป้าหมายยุทธศาสตร์ระดับชาติ หรือไม่ อย่างไร • เอกสารแสดงความเชื่อมโยงเป้าหมายของหน่วยงานกับเป้าหมายของชาติ พร้อมแผนภูมิ (เช่น Roadmap) ณ วันที่ประเมิน • รายงานผลการประชุมเชิงปฏิบัติการกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องที่หน่วยงานของท่านเป็นเจ้าภาพหรือเจ้าภาพร่วม เพื่อกำหนดเป้าหมายของหน่วยงานที่แสดงความเชื่อมโยงกับเป้าหมายระดับประเทศ • อื่นๆ (ระบุเพิ่มเติม)

  31. ก-3 หน่วยงานของท่านกำหนดความต้องการ ปัญหาหรือเรื่องที่สนใจของกลุ่มเป้าหมายในการจัดทำงบประมาณปีงบประมาณ พ.ศ.2554 หรือไม่ อย่างไร • เอกสารการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมของหน่วยงาน (SWOT) • รายงานการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดทำแผนยุทธศาสตร์ที่มีผู้มีส่วนได้เสีย (Stakeholders) เข้าร่วม • เอกสารสำรวจความต้องการของผู้รับบริการ (CustomerDemand) • อื่นๆ (ระบุเพิ่มเติม)

  32. ก-4 ผลผลิตที่กำหนดในปีงบประมาณ พ.ศ.2554 เป็นส่วนสำคัญที่ตอบสนองความต้องการ ปัญหาหรือเรื่องที่สนใจของกลุ่มเป้าหมายและเป้าหมายระดับกระทรวง/เป้าหมายยุทธศาสตร์ระดับชาติหรือไม่ อย่างไร • ข้อความในเอกสารงบประมาณรายจ่ายประจำปีที่ระบุความสัมพันธ์ของผลผลิตกับความต้องการ ปัญหาหรือเรื่องที่สนใจของกลุ่มเป้าหมาย • อื่นๆ (ระบุเพิ่มเติม)

  33. ก-5 การกำหนดผลผลิตของหน่วยงานในปีงบประมาณ พ.ศ.2554 มีการพิจารณาความซ้ำซ้อนของผลผลิตของหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนหรือไม่ กรณีที่หน่วยงานมีความซ้ำซ้อนกับผลผลิตของหน่วยงานอื่น สามารถจำแนกลักษณะผลผลิตที่แตกต่างกันได้หรือไม่อย่างไร • แผนภูมิโครงสร้างความสัมพันธ์ของผลผลิตอื่นๆ ภายใต้ยุทธศาสตร์ประเทศ หรือนโยบายรัฐบาลในเรื่องเดียวกันที่ดำเนินงาน ซึ่งสามารถจำแนกความแตกต่างหรือลักษณะของงานที่แตกต่างกันได้ (เช่น ถนน หรือแหล่งน้ำ ฯลฯ) หรือมีความจำเป็นต้องซ้ำซ้อนอย่างใด (เช่น สถานศึกษา โรงพยาบาล ฯลฯ) • แผนภูมิโครงสร้างความสัมพันธ์ของผลผลิตกับปัญหาเรื่องเดียวกันที่ภาคเอกชนกำลังทำอยู่ ซึ่งสามารถจำแนกความแตกต่างหรือลักษณะของงานที่แตกต่างกันได้ • เอกสารบรรยายลักษณะของผลผลิต (Output Specification, Output Description) • อื่นๆ (ระบุเพิ่มเติม)

  34. ก-6 หน่วยงานได้คำนึงถึงอุปสรรคและข้อจำกัด(อาทิ ด้านกฎหมาย ระเบียบ โครงสร้างส่วนราชการ และปัจจัยในกระบวนการปฏิบัติงาน)ที่มีต่อการนำส่งผลผลิตในปีงบประมาณ พ.ศ.2554 หรือไม่ อย่างไร • เอกสารแสดงมาตรฐานการปฏิบัติงาน เช่น PSO, ISO, HA, TQM พร้อมคู่มือ • แผนการแก้ไขกฎหมายหรือระเบียบที่ไม่เอื้อต่อการปฏิบัติงานที่ปรากฏในคำรับรองการปฏิบัติงาน (ตามที่ กพร.กำหนด) • แผนการปรับโครงสร้างภายในของหน่วยงานที่เอื้อต่อการเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลของหน่วยงานและลดข้อบกพร่องที่คาดการณ์ได้ เฉพาะกรณีที่ต้องดำเนินการเรื่องนี้ • อื่นๆ (ระบุเพิ่มเติม)

  35. คำถามชุด ข: การวางแผนกลยุทธ์ • วัตถุประสงค์ของชุดคำถาม – เพื่อให้หน่วยงานกำหนดแผนกลยุทธ์ให้สอดคล้อง เชื่อมโยงกับการบรรลุเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ชาติ เป้าหมายการให้บริการของกระทรวงและเป้าหมายการให้บริการของหน่วยงาน

  36. แนวคิดและหลักการ • จุดหมายปลายทางและวิธีการ (Why? and How? หรือ End and Means) ระดับองค์การ • ความสัมพันธ์ของกลยุทธ์กับผลผลิตและผลลัพธ์ • การเตรียมการประเมินผลระดับผลผลิตและผลลัพธ์ • การปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมภายนอกที่มีต่อผลผลิตและผลลัพธ์

  37. ข-1 หน่วยงานจัดทำแผนกลยุทธ์ที่แสดงความเชื่อมโยงและถ่ายทอดภารกิจจากจุดมุ่งหมายของรัฐบาล(เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ชาติ)มายังผลลัพธ์ ผลผลิตและกิจกรรมหรือในปีงบประมาณ พ.ศ.2554 ตามลำดับหรือไม่ อย่างไร • เอกสารที่แสดงความเชื่อมโยงเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ชาติ ลงมายังเป้าหมายการให้บริการระดับกระทรวง กลยุทธ์ระดับหน่วยงาน ผลผลิตระดับหน่วยงาน และกิจกรรมหลักของหน่วยงาน เช่น Strategic map • อื่นๆ (ระบุเพิ่มเติม)

  38. ข-2 แผนกลยุทธ์ของหน่วยงาน กำหนดเป้าหมาย / ตัวชี้วัดระยะยาวที่ส่งผลต่อความสำเร็จของผลลัพธ์(เป้าหมายการให้บริการของกระทรวง)ที่ท้าทาย (มีประสิทธิภาพสูงขึ้น) หรือไม่ อย่างไร • เอกสารที่ระบุข้อความ “ผลผลิต” และตัวชี้วัดเชิงรูปธรรม ที่สอดคล้องกับเป้าหมายการให้บริการระดับกระทรวง และเป้าหมายระดับกรม • เอกสารที่ระบุข้อความตัวชี้วัด “ประสิทธิภาพ” ในคำรับรองการปฏิบัติราชการ (กพร.) • เอกสารที่ระบุข้อความตัวชี้วัด “ผลผลิต” ในแบบคำของบประมาณที่แสดงผลผลิตระยะยาว • อื่นๆ (ระบุเพิ่มเติม)

  39. ข-3 แผนกลยุทธ์ของหน่วยงานในปีงบประมาณ พ.ศ.2554 กำหนดเป้าหมาย / ตัวชี้วัดระดับผลผลิต ระยะยาวหรือไม่ อย่างไร • เอกสารที่ระบุข้อความ “ผลลัพธ์” และตัวชี้วัดเชิงรูปธรรม ที่สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ระดับกระทรวง และแผนกลยุทธ์ระดับกรม • เอกสารที่ระบุข้อความตัวชี้วัด “ประสิทธิผล” ในคำรับรองการปฏิบัติราชการ (ก.พ.ร.) • เอกสารที่ระบุข้อความตัวชี้วัด “ผลลัพธ์” ในแบบคำของบประมาณที่แสดงผลลัพธ์ระยะยาว • อื่นๆ (ระบุเพิ่มเติม)

  40. ข-4 แผนกลยุทธ์ของหน่วยงานจำแนกเป้าหมาย / ตัวชี้วัดผลผลิตเป็นรายปีในปีงบประมาณ พ.ศ.2554 หรือไม่ อย่างไร • เอกสารที่ระบุข้อความ “ผลผลิต” และตัวชี้วัดเชิงรูปธรรมที่สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ระดับกระทรวง และแผนกลยุทธ์ระดับกรม จำแนกรายปี • เอกสารตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ (กพร.) จำแนกรายปี • เอกสารที่ระบุข้อความตัวชี้วัด “ผลผลิต” ในแบบคำของบประมาณที่แสดงผลผลิตระยะยาว จำแนกรายปี • อื่นๆ (ระบุเพิ่มเติม)

  41. ข-5 แผนกลยุทธ์ของหน่วยงานได้กำหนดวิธีการประสานความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและภาคเอกชนที่มีผลต่อความสำเร็จของการดำเนินงานตามผลผลิต ในแต่ละปีงบประมาณหรือไม่ อย่างไร • บันทึกข้อตกลงการประสานงานระหว่างหน่วยงาน (ภายในกระทรวงและภายนอกกระทรวง) • กรณีที่หน่วยงานหนึ่งเป็นผู้รับผิดชอบโดยตรงต่อการควบคุมให้เป็นไปตามกฎหมาย และมีหน่วยงานอื่นๆที่มีส่วนร่วมในการช่วยเหลือให้มีการบังคับใช้กฎหมายได้อย่างจริงจัง ให้แสดงแผนการประสานงานที่มีรายละเอียดชัดเจน • อื่นๆ (ระบุเพิ่มเติม)

  42. ข-6 แผนกลยุทธ์ของหน่วยงานกำหนดให้มีแผนการประเมินผลการปฏิบัติงาน ตามเป้าหมายการให้บริการของหน่วยงาน ที่มีคุณภาพด้านขอบเขตของเนื้อหาที่จำเป็นเพื่อการปรับปรุงอย่างสม่ำเสมอ โดยประเมินตนเอง และโดยผู้ประเมินอิสระ หรือไม่ อย่างไร • แผนการประเมินผลโดยหน่วยงานภายในที่ได้กำหนดไว้ในแผนกลยุทธ์ โดยเฉพาะการประเมินผลกระบวนการ (Process Evaluation) โดยประเมินตนเอง • แผนการประเมินผลโดยหน่วยงานภายนอกที่ได้กำหนดไว้ในแผนกลยุทธ์ โดยเฉพาะการประเมินผลเมื่อสิ้นสุดการดำเนินงาน (Post-Evaluation) และการประเมินผลกระทบของการดำเนินงาน (Impact Evaluation) โดยผู้ประเมินอิสระ • เอกสารแสดงหลักเกณฑ์การสรรหาผู้ประเมินผลจากหน่วยงานภายใน • เอกสารแสดงหลักเกณฑ์การสรรหาผู้ประเมินผลจากหน่วยงานภายนอก • อื่นๆ (ระบุเพิ่มเติม)

  43. ข-7 หน่วยงานกำหนดให้มีกระบวนการทบทวนกลยุทธ์ เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงสถานการณ์ที่ส่งผลกระทบต่อการดำเนินงานให้บรรลุเป้าหมายของหน่วยงานตามที่กำหนดไว้(การเปลี่ยนแปลงด้านยุทธศาสตร์ชาติยุทธศาสตร์กระทรวงและ / หรือ ข้อกฏหมายและระเบียบปฏิบัติที่เกี่ยวข้อง)ของหน่วยงาน ในปีงบประมาณ พ.ศ.2554 หรือไม่ อย่างไร • รายงานการประชุมหารือเพื่อวิเคราะห์สภาพแวดล้อมของหน่วยงาน โดยเฉพาะการเปลี่ยนแปลงด้านยุทธศาสตร์ชาติ ยุทธศาสตร์กระทรวง และ/หรือ กฎหมาย และระเบียบปฏิบัติที่เกี่ยวข้อง ซึ่งมีผลต่อการจัดลำดับความสำคัญของกลยุทธ์ การปฏิบัติงานตามกลยุทธ์ และการปรับกลยุทธ์ของหน่วยงาน • กลยุทธ์ที่ปรับใหม่ที่สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงด้านยุทธศาสตร์ชาติ และ/หรือ กฎหมาย และระเบียบปฏิบัติที่เกี่ยวข้อง • อื่นๆ (ระบุเพิ่มเติม)

  44. คำถามชุด ค: ความเชื่อมโยงงบประมาณ • วัตถุประสงค์ของชุดคำถาม – เพื่อทราบถึงการจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปี และความเชื่อมโยงระหว่างผลผลิต กิจกรรม และงบประมาณ/ทรัพยากรรวมทั้งการกำหนดตัวชี้วัดความสำเร็จ ตามระยะเวลาที่กำหนดทุกกิจกรรมหลัก

  45. แนวคิดและหลักการ • ผลผลิตที่สัมพันธ์กับทรัพยากร 3 ปี และ 1 ปี • ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต • Monitoring และ Feedback Unit-Cost Input Activity Output Monitoring Feedback

  46. ค-1 หน่วยงานกำหนดเป้าหมายผลผลิตประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554 ซึ่งแสดงให้เห็นความก้าวหน้าในการบรรลุเป้หมายผลผลิตตามแผนงบประมาณในแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี หรือไม่ อย่างไร • เกณฑ์ของตัวชี้วัดผลผลิตที่ปรากฏในเอกสารงบประมาณและแบบรายงานแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี ที่แสดงความก้าวหน้าที่เพิ่มขึ้นของผลผลิตแต่ละปีเปรียบเทียบกับผลผลิตสะสมในปีสุดท้ายของแผนกลยุทธ์ (เช่น กลุ่มเป้าหมายที่ได้รับบริการเพิ่มขึ้นร้อยละ xxเมื่อสิ้นสุดแผน) • อื่นๆ (ระบุเพิ่มเติม)

  47. ค-2 หน่วยงานกำหนดกิจกรรมหลักที่มีความเชื่อมโยงกับทรัพยากรที่ต้องการ ซึ่งสนับสนุนให้บรรลุเป้าหมายผลผลิตประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554 หรือไม่ อย่างไร • แผนภูมิแสดงองค์ประกอบของกิจกรรมหลัก ซึ่งแสดงทรัพยากรและเวลาที่ใช้ในแต่ละผลผลิต เป็นเอกสารอ้างอิง • กรณีหน่วยงานที่ทำหน้าที่ให้ทุนอุดหนุนแก่องค์กรพัฒนาเอกชน และองค์กรประชาชน ให้แสดงเอกสารเกี่ยวกับหลักเกณฑ์การคัดเลือกผู้ได้รับเงินอุดหนุนให้ดำเนินงานตามโครงการที่หน่วยงานอนุมัติกรณีหน่วยงานที่ทำหน้าที่ให้ทุนอุดหนุนการวิจัยให้แก่สถาบันทางวิชาการหรือให้แก่นักวิจัยรายกลุ่มหรือรายบุคคล ให้แสดงเอกสารเกี่ยวกับหลักเกณฑ์การคัดเลือกผู้ได้รับเงินอุดหนุนให้ดำเนินงานตามโครงการที่หน่วยงานอนุมัติ • อื่นๆ (ระบุเพิ่มเติม)

  48. ค-3 หน่วยงานกำหนดตัวชี้วัดความก้าวหน้า ตามระยะเวลาที่กำหนดทุกกิจกรรมหลักในปีงบประมาณ พ.ศ.2554 หรือไม่ อย่างไร • ตัวชี้วัดที่ปรากฏในแบบรายงาน สงป.301 เมื่อต้นปีงบประมาณ ที่แสดงตัวชี้วัดความก้าวหน้า ตามระยะเวลาที่กำหนดทุกกิจกรรมหลัก • อื่นๆ (ระบุเพิ่มเติม)

  49. ค-4 หน่วยงานกำหนดให้มีกิจกรรมเพื่อคำนวณต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต หรือไม่ อย่างไร • แผนการจัดทำกิจกรรมคำนวณต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต และรายงานความก้าวหน้า กิจกรรมเพื่อคำนวณต้นทุนต่อหน่วยหมายถึง กิจกรรมการจัดทำการคำนวณต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตหลักเบื้องต้น ตามวิธีที่ กรมบัญชีกลางกำหนด KPI ระดับของความสำเร็จในการจัดทำต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 5 ขั้นตอน ได้แก่ 1.มีการแต่งตั้งคณะทำงาน/หรือมอบหมายผู้รับผิดชอบในการจัดทำต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 2.มีฐานข้อมูลที่ใช้ในการคำนวณต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต ได้แก่ ข้อมูลเกี่ยวกับผลผลิต กิจกรรม ศูนย์ต้นทุน ค่าใช้จ่ายตามเกณฑ์คงค้าง ทั้งค่าใช้จ่ายทางตรงและทางอ้อม และเกณฑ์การปันส่วน 3.จัดทำบัญชีต้นทุนผลผลิตอย่างน้อย 6 เดือน ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กรมบัญชีกลางกำหนดได้แล้วเสร็จ 4.เปรียบเทียบผลการคำนวณต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตในขั้นตอนที่ 3 ว่ามีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร 5.มีการนำผลไปกำหนดแนวทางหรือแผนการเพิ่มประสิทธิภาพอย่างไร • รายงานการคำนวณต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตของหน่วยงาน (กรณีที่จัดทำแล้วเสร็จ) • อื่นๆ (ระบุเพิ่มเติม)

  50. ค-5 หน่วยงานมีการพิจารณาผลการปฏิบัติงานที่ผ่านมา เพื่อเป็นแนวทางในการกำหนดเป้าหมายผลผลิตประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554 หรือไม่ อย่างไร • รายงานการประชุมหารือที่มีวาระพิจารณาเกี่ยวกับผลการปฏิบัติงานที่ผ่านมา พร้อมข้อเสนอแนะ • รายงานผลการปฏิบัติงานตามข้อเสนอแนะ ที่แสดงความก้าวหน้าหรือแสดงความสำเร็จในการปฏิบัติงานตามข้อเสนอแนะ • อื่นๆ (ระบุเพิ่มเติม)

More Related