1 / 47

ความรู้ทั่วไป การตรวจคัดกรองและการวินิจฉัยโรคธาลัสซีเมีย

ความรู้ทั่วไป การตรวจคัดกรองและการวินิจฉัยโรคธาลัสซีเมีย. Thalassemia. Thalassemia. common genetic disease variable severity difficult to diagnosis and councelling decrease prevalence by PND. Thalassemia.

ahava
Download Presentation

ความรู้ทั่วไป การตรวจคัดกรองและการวินิจฉัยโรคธาลัสซีเมีย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ความรู้ทั่วไป การตรวจคัดกรองและการวินิจฉัยโรคธาลัสซีเมีย

  2. Thalassemia

  3. Thalassemia • common genetic disease • variable severity • difficult to diagnosis and councelling • decrease prevalence by PND

  4. Thalassemia • เกิดจากความผิดปกติที่ยีน ทำให้เกิดโรคโลหิตจางที่เกิดจากการสร้างสายโกลบินได้น้อยลง ผิดปกติ หรือ ไม่ได้เลย หรือสายโกลบินมีโครงสร้างผิดปกติ ทำให้เม็ดเลือดแดงถูกทำลายเร็ว เกิดภาวะซีดเรื้อรังและเกิดภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ • แบ่งตามระดับความรุนแรงเป็น • thalassemia minor • thalassemia intermedia • thalassemia major

  5. เม็ดเลือดแดง • ประกอบด้วย ฮีม และ สายโกลบิน รวมเป็น ฮีโมโกลบิน • ฮีม มีเหล็กเป็นส่วนประกอบ • สายโกลบินเป็นโปรตีนที่สำคัญ • ฮีโมโกลบิน ๑ หน่วย ประกอบด้วย ๑ ฮีม และ ๔ สายโกลบิน • ทำหน้าที่ขนถ่ายออกซิเจนไปสู่ส่วนต่างๆ ของร่างกาย

  6. Heterozygote มียีนธาลัสซีเมียอยู่บนแขนข้างเดียวของโครโมโซม เรียกอีกอย่างว่า trait • Homozygote มียีนธาลัสซีเมียชนิดเดียวกัน อยู่บนแขนทั้งสองข้างของโครโมโซม • Double heterozygote มียีนธาลัสซีเมียทั้ง α และ βอยู่บนแขนของโครโมโซม

  7. β0-thal คือยีนที่ผิดปกติทำให้ไม่สามารถสร้าง βglobin chain ได้ • β+-thal คือยีนที่ผิดปกติ แต่ยังสร้าง βglobin chain ได้บ้าง • HbE เป็น Hb ที่ผิดปกติ มีคุณสมบัติเหมือน β+-thal • α-thal1 คือ alpha globin gene ทั้ง2อันที่อยู่บนแขนของโครโมโซมข้างหนึ่งขาดหายไป • α-thal2 คือ alpha globin gene1อันที่อยู่บนแขนของโครโมโซมข้างหนึ่งขาดหายไป • HbCS เป็น Hb ที่ผิดปกติ มีคุณสมบัติเหมือน α-thal2

  8. a-thalassemia aa/aa normal -a/aaa thal-2 trait --/aaa thal-1 trait -a/-a homozygous a thal-2 --/-a Hb H disease --/-- Hb Bart’s disease

  9. Hb Constant Spring • การเปลี่ยนแปลงของลำดับเบสบริเวณท้ายสุดของยีน a thal • ทำให้สร้างกรดอะมิโนเพิ่มอีก ๓๑ ตัว • มีผลเหมือน a thal 2 • --/aCSa Hb H disease with constant spring

  10. b-thalassemia b/b normal b0/bb thal trait b0/b, b0/b+, b+/b+b thal major b0/bE, b+/bEb thal/E disease

  11. a and b thalassemia • AE Bart’s disease • --/-a, Hb E trait • EF Bart’s disease • --/-a, homozygous Hb E

  12. Thalassemia minor • Heterozygote • Homozygous α-thal2 • Homozygous HbE • α/β thal double hetrozygote • จะมีสุขภาพปกติ

  13. Thalassemia intermedia • อาการปานกลาง ไม่จำเป็นต้องรับเลือดประจำ ซีดปานกลาง Hb 8-10g/dl อาจมีตาเหลือง นิ่วในถุงน้ำดี กระดูกพรุน และภาวะเหล็กเกินเมื่ออายุมากขึ้น • β-thal/HbE บางส่วน • EA Bart’s • homozygous Hb CS • HbH

  14. Thalassemia major • Hb Bart’s hydrops fetalis • Homo. β-thalassemia • β-thal/HbE บางส่วน

  15. Hb Bart’s hydrops fetalis • ตายหมดก่อนคลอดหรือหลังคลอดไม่กี่นาที จากการที่ไม่สามารถสร้าง Hb ได้ • มารดาเกิดภาวะแทรกซ้อนรุนแรงได้บ่อย เช่น ภาวะครรภ์เป็นพิษ คลอดไม่ได้เนื่องจากเด็กตัวใหญ่ และตกเลือดหลังคลอด

  16. Homo. β-thalassemiaและ β-thal/HbE • ซีดมาก Hb 3-4 g/dl ต้องได้รับเลือดประจำ อาจเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการให้เลือด ร่างกายเติบโตช้า บวม อาจเกิดภาวะหัวใจล้มเหลว • 6-10 ปีอาจต้องตัดม้าม • 30-40 ปี จะมีภาวะเหล็กเกิน ทำให้ผิวคล้ำ เบาหวาน ตับแข็ง • ต้องรักษาตัวตลอดโดยการให้เลือด ให้ยาขับธาตุเหล็ก สามารถหายขาดได้จากการปลูกถ่าย Stem cell เช่นปลูกถ่ายไขกระดูก ปลูกถ่ายเลือดจากสายสะดือ แต่เลือดที่ให้ต้องเข้ากันได้และค่าใช้จ่ายแพงมาก

  17. Hemoglobinopathy • β-chain (β0, β+) • β-trait • E trait • β/E disease • β-thal homo. • HbE homo. • α-chain (α-thal1, α-thal2) • α-trait • HbH(α-thal1/α-thal2 or α-thal1/HbCS) • Hb Bart’shydrops fetalis • แบบผสม • EA Bart’s disease (HbH+HbE heterozygote) • EF Bart’s disease (HbH+HbE homo.or β0 thal/HbE)

  18. important diseases for PND • β-thal/E disease • β-thal. homozygote • Hb Bart’s hydrops fetalis ยีนที่ต้องหาในคู่สามี-ภรรยา • β-thal Hb • HbE • α-thal1 Hb

  19. การตรวจคัดกรอง • OF หรือ MCV เน้นดูβ-thal และ α-thal1 • DCIP เน้นดู HbE

  20. female male ¼ ¼ ¼ ¼

  21. female(β tr.) male(E tr.) ¼ normal ¼ β tr. ¼ E tr. ¼ β/E Dz

  22. male (β/E Dz) female (E tr.) ¼ β tr. ¼ β/E Dz. ¼ E tr. ¼ EE homo.

  23. Punnett Square F M

  24. PND √ √ X X X √ X √ ± ?

  25. การแปลผล Hb typing จากเครื่อง HPLC

  26. ชนิดของฮีโมโกลบิน • เด็กมากกว่า ๑ ปี และผู้ใหญ่ • Hb A a2b2 97% • Hb A2 a2d2 <3.5% • Hb F a2g2 <1% • เด็กแรกเกิด • Hb F เป็นส่วนใหญ่

  27. red cell indices and Hb typing normocyte microcyte Thal.Dz. β-thal Homo β-thal/HbE HbH EA Bart’s EF Bart’s HbA2+A HbA2+A Dx:Normal α-thal2 tr. Hb A+CS Dx:Hb CS HbE+A Hb EE Dx:HbE Homo HbA2 Determination HbE Determination HbA2>3.5% Dx: β-thal tr. HbA2<3.5% HbE=25-30% Dx:HbE α-thal2/HbE HbE<21% Hb>10g/dl Dx: α-thal1/HbE Hb<10g/dl Dx: iron def. iron def. on top of thal tr. Hb>10g/dl Dx: α-thal1 tr. Hb<10g/dl Dx:HbE tr. with iron def. α-thal1/HbE with iron def.

  28. OF pos. neg. DCIP DCIP pos. Dx: HbE tr. neg. Dx: α-thal1 tr β-thal tr. β-thal homo iron def. pos. Dx: HbE tr. HbE homo β-thal/HbE HbH Others neg. Dx: normal α-thal2 tr. HbCS tr. Clinical RBC morphology β-thal homo HbA2 Determination -Clinical -Rbc morphology -Hb typing -Inclusion body (HbH) -F cell stain (β-thal/HbE) HbA2>3.5% Dx: β-thal tr. HbA2<3.5% Dx: α-thal1 tr. iron def. Repeated study after iron supplementation X 3 mo.

  29. α-thal1trait แยกกับ iron def. ได้ยาก α-thal1trait จะมี MCV ต่ำ แต่มักจะไม่ซีด (Hb 12-13 g/dl)

  30. ผู้ที่มียีน α-thal1 • HbH • EA Bart’s • EF Bart’s

  31. ผู้ที่อาจจะมียีน α-thal1 • case OF +ve or MCV<80% โดย Hb typing ปกติ • E homo และ β/E disease อาจมี ยีน α-thal1 แฝงอยู่ • β-thal trait อาจมี ยีน α-thal1 แฝงอยู่ • E trait ที่มี HbE 20-25% อาจมี ยีน α-thal1 แฝงอยู่ • E trait ที่มี HbE <20% อาจเป็น AE Bart’s หรือ EF Bart’s ซึ่งมียีน α-thal1

  32. ข้อควรระวัง • HomoE จะต้องมี HbE > 80% และ MCV > 60% • HomoE ที่มี HbE <80% และ MCV <60% อาจจะเป็น β/HbE disease

  33. ถ้า OF-ve หรือ MCV>80สามารถตัด α-thal1trait ได้เลย ?

  34. การวินิจฉัย α-thal1traitใช้วิธี DNA mapping

  35. Prenatal diagnosis (PND) • ประกอบด้วยขั้นตอน • คัดกรองหญิงตั้งครรภ์และสามีที่เป็นกลุ่มเสี่ยง และให้คำปรึกษา • สูติศาสตร์หัตถการ เพื่อวินิจฉัยทารกในครรภ์ • ห้องปฏิบัติการ เพื่อตรวจหาความผิดปกติ

  36. สูติศาสตร์หัตถการ • Ultrasound • Amniocentesis • Fetal blood sampling • Chrorionic villus sampling

  37. Ultrasound • ทำทุกรายเพื่ออายุครรภ์ที่แน่นอน เพื่อกำหนดวันทำการตรวจต่อไป • ตรวจหาความผิดปกติทางกายภาพ เช่นพบลักษณะของ Hydrops fetalis ได้ตั้งแต่ 20-24 สัปดาห์ • จะได้ทราบตำแหน่งของเด็ก รก จุดเกาะของสายสะดือ จุดที่จะเจาะตัวอย่างชิ้นเนื้อหรือเลือด

  38. Amniocentesis • นิยมเจาะตอนอายุครรภ์ 16-18 สัปดาห์ เจาะผ่านหน้าท้องโดยใช้ Ultrasound guide และดูดน้ำคร่ำออกมาตรวจ • ความเสี่ยงต่ำ พบ fetal loss 0.5% • ข้อดีคือความเสี่ยงต่ำ แต่ไม่สามารถทำได้ทุกราย และต้องทำในไตรมาสที่สอง และต้องเสียเวลากับการเพาะเซลล์

  39. Fetal blood sampling • เจาะผ่านหน้าท้องโดยใช้ Ultrasound guide สามารถทำได้ตั้งแต่อายุครรภ์ 17 สัปดาห์ • พบ fetal loss 1% • ข้อดีคือสามารถทำได้แม้ไม่ทราบชนิดของมิวเตชั่นในพ่อและแม่ ไม่ต้องเสียเวลาเพาะเซลล์

  40. Chrorionic villus sampling (CVS) • เจาะผ่านหน้าท้องหรือผ่านทางช่องคลอด สามารถทำได้ตั้งแต่ไตรมาสที่หนึ่ง • พบ fetal loss 1-2%

  41. ถ้าสามารถหาชนิดของมิวเตชั่นได้ทั้งในพ่อและแม่ และครรภ์ยังอยู่ในไตรมาสแรก จะใช้ Chrorionic villus sampling หรือถ้าอยู่ในไตรมาสที่สอง อาจเก็บตัวอย่างจาก Amniocentesis หรือ Fetal blood sampling • ถ้าไม่ทราบชนิดของมิวเตชั่นต้องทำ Fetal blood sampling ในไตรมาสที่สอง เพื่อทำ typing หรือ DNA mapping

  42. Hb Bart’s hydrops fetalis 18-22 wks Fetal blood sampling 9-14 wks CVS DNA analysis Hb typing

  43. β-thalassemic disease 18-22 wks Fetal blood sampling 8-14 wks CVS DNA analysis Hb typing or Globin chain synthesis (β/γ ratio) DNA analysis If β-thalassemic is uncharacterised

  44. หลังจาก PND • หากตรวจพบว่าเด็กในครรภ์เป็นโรค Thalassemia ชนิดรุนแรง ควรจะต้องมีการยุติการตั้งครรภ์เป็นทางเลือกให้สามีและภรรยาได้พิจารณา โดยอายุครรภ์ต้องไม่เกิน 24 สัปดาห์ (ยกเว้น Hb Bart’s สามารถยุติการตั้งครรภ์ได้โดยไม่จำกัดอายุครรภ์)

  45. การรักษาผู้ป่วย Thalassemia • การให้เลือด • การให้ยาขับธาตุเหล็ก • การตัดม้าม • การปลูกถ่ายไขกระดูก

  46. สรุป • โรค Thalassemia เป็นโรคพันธุกรรมและเรื้อรัง หลายชนิดมีอาการรุนแรง การดูแลรักษาทำให้เกิดภาระต่อครอบครัวและประเทศชาติอย่างมาก วิธีที่ดีที่สุดในการควบคุมโรค คือการป้องกันไม่ให้เกิดโรคชนิดรุนแรงขึ้น ซึ่งประกอบด้วย • คัดกรองหญิงตั้งครรภ์และสามีที่เป็นกลุ่มเสี่ยง และให้คำปรึกษา • สูติศาสตร์หัตถการ ห้องปฏิบัติการ เพื่อตรวจหาความผิดปกติ เพื่อวินิจฉัยทารกในครรภ์ • พิจารณายุติการตั้งครรภ์ ตามการตัดสินใจของคู่สมรส หลังจากได้รับการ counseling แล้ว

More Related