200 likes | 303 Views
กลุ่มภารกิจเศรษฐกิจ. การติดตามความก้าวหน้า การดำเนินงานตามตัวชี้วัด. ตัวชี้วัดที่ 1 จำนวนฟาร์มโคนมที่ผ่านการรับรองมาตรฐาน(น้ำหนัก 3 %) : หน่วยงานหลัก : ปศุสัตว์จังหวัด หน่วยงานร่วม สหกรณ์จังหวัด. โครงการ : ส่งเสริมการเลี้ยงโคนมให้ได้รับการรับรองมาตรฐาน.
E N D
การติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานตามตัวชี้วัดการติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานตามตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดที่ 1 จำนวนฟาร์มโคนมที่ผ่านการรับรองมาตรฐาน(น้ำหนัก 3 %) : หน่วยงานหลัก : ปศุสัตว์จังหวัด หน่วยงานร่วม สหกรณ์จังหวัด โครงการ : ส่งเสริมการเลี้ยงโคนมให้ได้รับการรับรองมาตรฐาน ลพบุรี 520 ฟาร์ม สิงห์บุรี - ฟาร์มสระบุรี 265 ฟาร์ม ชัยนาท - ฟาร์ม ฟาร์ม 785 5 600 466 เป้า ผล ฐาน ฟาร์มโคนมที่ผ่านการรับรองมาตรฐาน ปี งปม. 2548 กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน กลุ่ม 2 สระบุรี ลพบุรี สิงห์บุรี ชัยนาท เป้าหมาย จำนวน 600 ฟาร์ม ผลการดำเนินงาน 785 ฟาร์ม
ตัวชี้วัดที่ 2 ร้อยละที่ลดลงของต้นทุนการผลิตข้าวคุณภาพ ( น้ำหนัก 4 %) เจ้าภาพ : เกษตรจังหวัด ร่วม : ศูนย์วิจัย บาท/ไร่ 100 % 90% 1 3 , 000 2 , 650 2 , 800 2 , 385 2 , 600 2 , 400 2 , 200 2 , 000 1 , 800 1 , 600 1 , 400 1 , 200 1 , 000 800 600 n/a 400 200 0 เป้า ผล ฐาน ร้อยละการเปลี่ยนแปลงที่เพิ่มขึ้นของพื้นที่การผลิต อาหารเกษตรประเภทพืชผักที่ปลอดภัยจากสารพิษ ในปี งปม.2548 กับงปม.2547
ตัวชี้วัดที่ 3 ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของรายได้จากปรับเปลี่ยนอาชีพ (น้ำหนัก 4%) : หน่วยงานหลัก : ปศุสัตว์ โครงการ : พัฒนาปรับเปลี่ยนกระบวนการผลิตภาคเกษตรกรรม เพื่อผลตอบแทนที่มีค่าสูงกว่า (ส่งเสริมการเลี้ยงโคขุน) กลุ่มจังหวัด ลพบุรี - สิงห์บุรี - สระบุรี - ชัยนาท - บาท/ราย 5 ผลสามารถคำนวณได้เมื่อตอนสิ้นปี ร้อยละการเปลี่ยนแปลงที่เพิ่มขึ้นของรายได้สุทธิต่อไร่ของเกษตรกรที่เปลี่ยนอาชีพ มาทำอาชีพการเกษตรใหม่ในปี 2548 เปรียบเทียบอาชีพเกษตรเดิมในปี 2547 ภายใต้ห้วงเวลาเก็บเกี่ยวผลผลิตเท่ากัน (ปัจจัยภายนอกคงที่) อาชีพการเกษตรใหม่ : นาหญ้า โคเนื้อ อาชีพการเกษตรเดิม : ข้าว มันสำปะหลัง อ้อย ข้าวโพด ฝ้าย
ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของรายได้จากสินค้าอุตสาหกรรม (น้ำหนัก 4) หน่วยงานหลัก : อุตสาหกรรมจังหวัด สระบุรี 13.18 % สิงห์บุรี 11.45 % ลพบุรี -2.91 % ชัยนาท 18.34 % ร้อยละ 5 ฐาน เป้า ผล ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของมูลค่าการจำหน่ายสินค้าอุตสาหกรรมในปี งปม.2548 เปรียบเทียบปี 2547 ข้อมูลการใช้พลังงานของภาคอุตสาหกรรม ข้อมูลของ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคเป็นตัวแทนของมูลค่ารายได้
หน่วยงานหลัก : สำนักงานท้องถิ่นจังหวัด หน่วยงานร่วม : ททท. ภาคกลางเขต 7 ตัวชี้วัดที่ 5 ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของรายได้จากการท่องเที่ยวในกลุ่มจังหวัด (น้ำหนัก 3 %): สระบุรี 420 สิงห์บุรี 58 ลพบุรี 1,251 ชัยนาท 56 ล้านบาท 1 ฐาน ผล เป้า การเปลี่ยนแปลงของรายได้จากการท่องเที่ยวของกลุ่มจังหวัด ในรอบปี งปม. 2548 เทียบกับปี งปม. 2547
ตัวชี้วัดที่ 6 ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของมูลค่าการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ OTOP สระบุรี 224.64 ล้านบาท ชัยนาท 140.51 ล้านบาท ลพบุรี 394.05 ล้านบาท สิงห์บุรี 84.94 ล้านบาท หน่วยงานหลัก : พัฒนาชุมชนหน่วยงานร่วม : สหกรณ์ , อุตสาหกรรม 1 การเปลี่ยนแปลงของมูลค่าการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ OTOP ของกลุ่มจังหวัด ในปี งปม. 2548 เทียบกับปี งปม. 2547
ตัวชี้วัดที่ 9 ร้อยละของครัวเรือนยากจนที่มีรายได้ต่ำกว่าเกณฑ์ จปฐ. น้ำหนัก 3% (ตัวชี้วัดภาคบังคับ) เจ้าภาพ : พัฒนาชุมชน ร่วม : ที่ทำการปกครอง ค.พัฒนาศักยภาพด้านอาชีพครัวเรือนยากจนเป้าหมาย 4.34 (18,155 ครัวเรือน) ผล ฐาน เป้า การเปลี่ยนแปลงของจำนวนครัวเรือนยากจนเป้าหมาย รายได้เฉลี่ยต่ำกว่า 20,000/คน/ปี ในปี 2548 เทียบกับจำนวนครัวเรือน ยากจนเป้าหมายรายได้เฉลี่ยต่ำกว่า 20,000/คน/ปี ในปี 2547 โดยใช้ข้อมูล จปฐ.
ตัวชี้วัดที่ 11 จำนวนกลุ่มเกษตรกรที่ผลิตอาหารเกษตรปลอดภัยจากสารพิษ น้ำหนัก 2 % เจ้าภาพ : เกษตรจังหวัด ร่วม : ศูนย์วิจัยฯ , สาธารณสุข 4 จำนวนกลุ่มเกษตรกร 20 16 15 15 8 10 5 0 เป้า ฐาน ผล จำนวนกลุ่มที่ผลิตอาหารเกษตรที่ได้รับรองว่า ปลอดภัยจากสารพิษในปี งปม.2548
ตัวชี้วัดที่ 12 ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของพื้นที่การผลิตเกษตรปลอดภัยจากสารพิษ น้ำหนัก 2 % เจ้าภาพ : เกษตรจังหวัด ร่วม : ศูนย์วิจัย , สาธารณสุข ไร่ 180% 180.78% 5 100 % เป้า ผล ฐาน ร้อยละการเปลี่ยนแปลงที่เพิ่มขึ้นของพื้นที่การผลิต อาหารเกษตรประเภทพืชผักที่ปลอดภัยจากสารพิษ ในปี งปม.2548 กับงปม.2547
ตัวชี้วัดที่ 13 เกษตรกรผู้เลี้ยงโคเนื้อมีรายได้ที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 6 ต่อปี น้ำหนัก 2% กลุ่มจังหวัด ลพบุรี - สิงห์บุรี - สระบุรี - ชัยนาท - เจ้าภาพ : ปศุสัตว์จังหวัด โครงการ : ส่งเสริมการเลี้ยงโคเนื้อเพื่อเพิ่มผลผลิต 4.94 บาท/ตัว/ปี เป้า ผล ฐาน รายได้ของเกษตรกรผู้เลี้ยงโคเนื้อในปี งปม.2548 มีรายได้สูงขึ้นมากกว่าปี งปม.2547 เฉลี่ยร้อยละ 6/ราย/ปีรายได้เพิ่มจาก 3,365.78 บาท/ตัว/ปี เป็น 3,443.03 บาท/ตัว/ปี กลุ่มตัวอย่าง 150 ราย เลี้ยงโคเนื้อรายละ 10 ตัว อยู่ระหว่างการวัดผล
ตัวชี้วัดที่ 14 มูลค่าการลงทุนที่เพิ่มขึ้นของอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับการเกษตร น้ำหนัก2% เจ้าภาพ : อุตสาหกรรมจังหวัด ร่วม : สนง.เกษตรจังหวัด ล้านบาท 988.55 5 63 65 ฐาน เป้า ผล มูลค่าการลงทุนของอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับการเกษตรในปี งปม. 2548 มีหน่วยนับเป็นล้านบาท เช่น โรงงานที่สนับสนุนการผลิตภาคเกษตร โรงงานที่ใช้วัตถุดิบจากการเกษตร
เจ้าภาพ : สหกรณ์จังหวัด ร่วม : สนง.พัฒนาชุมชนจังหวัด ตัวชี้วัด 15 จำนวนที่เพิ่มขึ้นของผู้ประกอบการวิสาหกิจชุมชน เป็น SMEs จำนวน 10ราย น้ำหนัก 2%: 5 จำนวน 10 วิสาหกิจชุมชน มีการบริหารจัดการ ที่เข้มแข็ง ทั้งด้านการผลิต การตลาด การบริหารจัดการองค์กร การจัดทำบัญชี การจัดทำแผนธุรกิจ การมีส่วนร่วมของชุมชน ส่งผล คนในชุมชนมีงานทำ มีรายได้เพิ่มขึ้น คุณภาพชีวิตที่ดี อย่างยั่งยืน 8 0 ฐาน เป้า ผล จำนวนที่เปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นของผู้ประกอบการวิสาหกิจชุมชนเป็น SME ในปี งปม. 2548 โดยเปรียบเทียบกับจำนวนของผู้ประกอบการ วิสาหกิจชุมชนเป็น SME ในปี งปม. 2547
ตัวชี้วัดที่ 18 ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของนักท่องเที่ยวในจังหวัดลพบุรี น้ำหนัก 1 % เจ้าภาพ : สำนักงานท้องถิ่นจังหวัด ร้อยละ 1 ร้อยละการเปลี่ยนแปลงที่เพิ่มขึ้นของนักท่องเที่ยว ที่มาเที่ยวในจังหวัดลพบุรีปี งปม. 2548 กับ ปี งปม. 2547
ตัวชี้วัดที่ 19 จำนวนผลิตภัณฑ์ OTOP ที่ได้มาตรฐาน 4-5 ดาว น้ำหนัก 2 % : เจ้าภาพ : พัฒนาชุมชน 4 จำนวนผลิตภัณฑ์ OTOP ที่ได้รับมาตรฐาน 4-5 ดาวในปี งปม. 2548
95 98.34 99.84 ฐาน เป้า ผล มาตรฐานความปลอดภัย ตัวชี้วัด 23.1 ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของอาหารสดที่ผ่านมาตรฐานด้านสาธารณสุข น้ำหนัก 0.50 % เจ้าภาพ : สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ร้อยละของตัวอย่างอาหารสดปราศจากสารปนเปื้อน 5 ชนิด (สารเร่งเนื้อแดง สารฟอกขาว สารกันรา บอแรกซ์ ฟอร์มาลีน)และยาฆ่าแมลง ที่ผ่านเกณฑ์ความปลอดภัย เทียบกับ จำนวนตัวอย่างที่ตรวจสอบทั้งหมดในจังหวัด ปี งปม.2548 5
ตัวชี้วัด 23.2 ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของตลาดสดที่ผ่านมาตรฐานด้านสาธารณสุข น้ำหนัก 0.50 % 5 เจ้าภาพ : สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ร้อยละ 75 75 ร้อยละของตลาดสดประเภท 1 (มีโครงสร้างถาวร และจำหน่ายประจำ) ที่ได้รับการรับรองความสะอาด และ ผ่านเกณฑ์ตลาดน่าซื้อระดับดี มาก ( 5 ดาว) เทียบกับจำนวนตลาดสดประเภท 1 ทั้งหมด ในจังหวัด ปี งปม.2548 50 ฐาน เป้า ผล
ตัวชี้วัด 23.3ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของร้านอาหารและแผงลอยที่ผ่านมาตรฐานด้านสาธารณสุข ร้อยละ 79.12 เจ้าภาพ : สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 5 69.94 ร้อยละของร้านอาหารและแผงลอย ที่ผ่านเกณฑ์อาหารสะอาด รสชาติอร่อย (Clean Food Good Taste) เทียบกับ จำนวนร้านอาหารและแผงลอย ทั้งหมดในจังหวัด ปี งปม.2548 50 ฐาน เป้า ผล น้ำหนัก 0.50 %
ตัวชี้วัด 23.4ร้อยละของสถานที่ผลิตอาหารแปรรูปที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ตามหลักเกณฑ์วิธีการผลิตที่ดี (GMP : Good Manufacturing Practices) - 12 เจ้าภาพ : สำนักงาน สาธารณสุขจังหวัด ร้อยละ น้ำหนัก 0.50 % 5 100 100 ร้อยละของสถานที่ผลิตอาหารแปรรูป54 ประเภท ที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานวิธีการผลิตที่ดี (GMP Good Manufacturing Practice) เทียบกับ จำนวนสถานที่ผลิตอาหารแปรรูป54 ประเภท ทั้งหมดในจังหวัด ปี งปม.2548 95 ฐาน เป้า ผล